กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Download Report

Transcript กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ประกาศกรมการขนส่ งทางบก เรื่อง ป้ายอักษร ภาพ
และเครื่องหมายของรถบรรทุกวัตถุอันตราย พ.ศ.
2555
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 26 พฤศจิกายน 2555
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1
สรุ ปสาระสาคัญ
 1. ให้ ยกเลิกประกาศกรมการขนส่ งทางบก เรื่ อง การติดป้ายอักษร ภาพ
และเครื่ องหมายของรถบรรทุกวัตถุอันตราย ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.
2543
 2. ในประกาศนี ้
“วัตถุอันตราย” หมายความว่ า วัตถุอันตรายตามประเภทที่กาหนดไว้ ใน
ประกาศกรมการขนส่ งทางบก เรื่ อง กาหนดประเภทหรื อชนิดและลักษณะ
การบรรทุกวัตถุอันตรายที่ผ้ ูขับรถต้ องได้ รับใบอนุญาตเป็ นผู้ขับรถ
ชนิดที่ 4
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2
สรุ ปสาระสาคัญ
• “หน่ วยขนส่ ง” หมายความว่ า รถบรรทุกหนึ่งคัน หรื อรถลากจูงและรถพ่ วง
หรื อรถกึ่งพ่ วงที่ต่อพ่ วงกัน
• “รถแบตเตอรี่ ” หมายความว่ า รถที่มีภาชนะบรรจุก๊าซหลายใบติดตัง้ อยู่กับ
ตัวรถอย่ างถาวรและมีท่อก๊ าซต่ อร่ วมถึงกัน
 3. ป้ายและเครื่ องหมายของรถบรรทุกวัตถุอันตรายมีดังนี ้
• (1) ป้ายแสดงความเป็ นอันตรายของวัตถุอันตรายที่บรรทุก
• (2) ป้ายสีส้ม ได้ แก่
(ก) ป้ายสีส้มที่ไม่ มีข้อความ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
3
สรุ ปสาระสาคัญ
(ข) ป้ายสีส้มที่มีหมายเลขแสดงความเป็ นอันตราย (Hazard identification
number หรื อKemler code) และหมายเลขสหประชาชาติของวัตถุอันตราย
(UN number)
• (3) เครื่ องหมายสาหรั บสารที่มีอุณหภูมสิ ูง ในกรณีบรรทุกวัตถุอันตราย
ประเภทที่ 9 (วัตถุอันตรายเบ็ดเตล็ด) ที่เป็ นของเหลวมีอุณหภูมติ งั ้ แต่ 100
องศาเซลเซียส ขึน้ ไป หรื อที่เป็ นของแข็งมีอุณหภูมติ งั ้ แต่ 240 องศา
เซลเซียส ขึน้ ไป
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
4
สรุ ปสาระสาคัญ
• (4) เครื่ องหมายสาหรั บสารที่เป็ นอันตรายต่ อสิ่งแวดล้ อม ตัวอักษร ตัวเลข
ภาพ เครื่ องหมาย หรื อสัญลักษณ์ บนป้ายแสดงความเป็ นอันตราย
เครื่ องหมายสาหรั บสารที่มีอุณหภูมสิ ูง หรื อเครื่ องหมายสาหรั บสารที่เป็ น
อันตรายต่ อสิ่งแวดล้ อมหมายเลขแสดงความเป็ นอันตรายและหมายเลข
สหประชาชาติของวัตถุอันตรายของป้ายสีส้ม ให้ เป็ นไปตาม
ตาราง A ของบทที่ 3.2 ของข้ อกาหนดว่ าด้ วยการขนส่ งสินค้ าอันตรายทาง
ถนนของประเทศไทยหรื อความตกลงว่ าด้ วยการขนส่ งสินค้ าอันตราย
ระหว่ างประเทศทางถนนของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจของยุโรปแห่ ง
สหประชาชาติ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
5
สรุ ปสาระสาคัญ
 4. ป้ายแสดงความเป็ นอันตรายตามข้ อ 3 (1) ต้ องมีลักษณะและขนาด
ดังนี ้
• (1) เป็ นป้ายสี่เหลี่ยมจัตุรัสวางทามุม 45 องศา กับแนวระนาบ มีความยาว
ด้ านละไม่ น้อยกว่ า 250 มิลลิเมตร และมีเส้ นขอบห่ างจากขอบฉลาก 12.5
มิลลิเมตร ขนานกับขอบป้ายทัง้ สี่ด้านโดยเส้ นขอบครึ่งบนต้ องมีสีเดียวกับ
สัญลักษณ์ แสดงความเป็ นอันตราย และเส้ นขอบครึ่งล่ างต้ องมีสเี ดียวกับ
ข้ อความและตัวเลขแสดงประเภทความเป็ นอันตราย ทัง้ นี ้ เว้ นแต่ ป้าย
แสดงความเป็ นอันตรายของวัตถุอันตรายประเภทที่ 7 (วัสดุกัมมันตรั งสี)
ให้ มีเส้ นขอบสีดาห่ างจากขอบป้าย 5 มิลลิเมตร ขนานไปกับขอบป้ายทัง้ สี่
ด้ าน
• (2) สัญลักษณ์ แสดงความเป็ นอันตราย มีขนาดเหมาะสมกับขนาดของป้าย
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
6
สรุ ปสาระสาคัญ
• (3) ตัวเลขแสดงประเภทความเป็ นอันตราย ที่มุมด้ านล่ างของแผ่ นป้าย มี
ความสูงไม่ น้อยกว่ า 25 มิลลิเมตร โดยในกรณีของวัตถุอันตรายประเภท 1
ให้ แสดงพร้ อมด้ วยกลุ่มความเข้ ากันได้ ด้วย
ป้ายแสดงความเป็ นอันตรายสาหรั บวัตถุอันตรายประเภทที่ 1 และ
ประเภทที่ 7 หากขนาดหรื อโครงสร้ างรถไม่ มีพนื ้ ที่เพียงพอสาหรั บติดป้าย
แสดงความเป็ นอันตรายของวัตถุอันตรายตามขนาดที่กาหนดในวรรคหนึ่ง
อาจลดขนาดป้ายลงเหลือความยาวด้ านละ 100 มิลลิเมตร ก็ได้
สาหรั บการบรรทุกวัตถุอันตรายด้ วยถังบรรทุกที่มีความจุไม่ เกิน 3
ลูกบาศก์ เมตร หรื อภาชนะบรรจุขนาดเล็ก อาจลดขนาดป้ายลงได้ แต่ ต้อง
มีความยาวไม่ น้อยกว่ าด้ านละ 100 มิลลิเมตรป้ายแสดงความเป็ นอันตราย
ให้ เป็ นไปตามตัวอย่ างในภาคผนวก ข ท้ ายประกาศนี ้
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
7
สรุ ปสาระสาคัญ
 5. ป้ายสีส้มตามข้ อ 3 (2) ต้ องมีลักษณะและขนาด ดังนี ้
• (1) ป้ายสีส้มที่ไม่ มีข้อความ เป็ นป้ายสี่เหลี่ยมพืน้ สีส้มสะท้ อนแสง มีความ
สูง 300 มิลลิเมตรความกว้ าง 400 มิลลิเมตร มีเส้ นขอบสีดาหนา 15
มิลลิเมตร อาจมีเส้ นแนวนอนสีดาหนา 15 มิลลิเมตรคั่นที่ก่ งึ กลางของป้าย
ก็ได้
• (2) ป้ายสีส้มที่มีหมายเลขแสดงความเป็ นอันตราย และหมายเลข
สหประชาชาติของวัตถุอันตรายต้ องมีลักษณะและขนาดตาม (1) และให้ มี
เส้ นแนวนอนสีดาหนา 15 มิลลิเมตร คั่นที่ก่ งึ กลางของป้ายโดยส่ วนบนของ
ป้ายกาหนดเป็ นหมายเลขแสดงความเป็ นอันตราย และส่ วนล่ างของป้าย
กาหนดเป็ นหมายเลขสหประชาชาติของวัตถุอันตราย ซึ่งหมายเลขที่แสดง
ต้ องเป็ นตัวเลขอารบิกสีดา มีความสูง 100 มิลลิเมตรและมีความหนา 15
มิลลิเมตร
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
8
สรุ ปสาระสาคัญ
หมายเลขแสดงความเป็ นอันตรายและหมายเลขสหประชาชาติของวัตถุ
อันตราย บนป้ายสีส้มต้ องไม่ ลบเลือนและต้ องสามารถอ่ านได้ แม้ ถกู ไฟเผา
ไหม้ นาน 15 นาที
ในกรณีขนาดหรื อโครงสร้ างรถทาให้ ไม่ สามารถติดป้ายสีส้มตามขนาดที่
กาหนดใน (1) หรื อ (2)อาจลดขนาดป้ายลงได้ แต่ ต้องมีความสูง 120
มิลลิเมตร ความกว้ าง 300 มิลลิเมตร และมีเส้ นขอบสีดาหนา 10
มิลลิเมตรขนาดของป้ายสีส้มตามวรรคหนึ่งให้ มีความคลาดเคลื่อนได้ ไม่
เกินร้ อยละ 10 ป้ายสีส้มให้ เป็ นไปตามตัวอย่ างในภาคผนวก ข ท้ าย
ประกาศนี ้
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
9
สรุ ปสาระสาคัญ
 6. เครื่ องหมายสาหรั บสารที่มีอุณหภูมสิ ูงตามข้ อ 3 (3) เป็ นป้ายรู ป
สามเหลี่ยมด้ านเท่ ามีความยาวด้ านละไม่ น้อยกว่ า 250 มิลลิเมตร มีสีและ
ลักษณะตามตัวอย่ างในภาคผนวก ข ท้ ายประกาศนี ้
 7 . เครื่ องหมายสาหรั บสารที่เป็ นอันตรายต่ อสิ่งแวดล้ อมตามข้ อ 4 (4) เป็ น
ป้ายรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัสวางทามุม 45 องศา กับแนวระนาบ มีความยาวด้ าน
ละไม่ น้อยกว่ า 250 มิลลิเมตรมีสีและลักษณะตามตัวอย่ างในภาคผนวก ข
ท้ ายประกาศนี ้
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
10
สรุ ปสาระสาคัญ
 8. การติดป้ายแสดงความเป็ นอันตราย ต้ องเป็ นป้ายที่แสดงความเป็ น
อันตรายตรงกับวัตถุอันตรายที่ทาการบรรทุกและต้ องติดบนตัวรถที่มีสีท่ ี
ตัดกันกับป้าย แต่ ในกรณีตัวรถมีสีกลมกลืนกับสีป้ายให้ ใช้ เส้ นประหรื อ
เส้ นทึบสีดารอบขอบป้ายแทนก็ได้ โดยให้ ตดิ ที่ด้านข้ างทัง้ สองข้ างและด้ าน
ท้ ายของรถเว้ นแต่ ในกรณีดังต่ อไปนี ้ ให้ การติดป้ายแสดงความเป็ น
อันตรายเป็ นไปตามที่กาหนด
• (1) กรณีรถมีส่วนบรรทุกหลายส่ วนและมีการขนส่ งวัตถุอันตรายมากกว่ า
หนึ่งประเภท ให้ ตดิ ป้ายแสดงความเป็ นอันตรายแต่ ละประเภทที่ด้านข้ าง
ของรถให้ ตรงกับตาแหน่ งการบรรทุกและที่ด้านท้ ายรถ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
11
สรุ ปสาระสาคัญ
• (2) กรณีส่วนบรรทุกของรถสามารถยกขึน้ ลงจากรถได้ เช่ น ตู้สนิ ค้ า แท็งก์
คอนเทนเนอร์ ภาชนะบรรจุก๊าซแบบกลุ่ม (MEGC) ให้ ตดิ ป้ายแสดงความ
เป็ นอันตรายไว้ ท่ ีด้านหน้ า ด้ านข้ างทัง้ สองข้ างและด้ านท้ ายของส่ วน
บรรทุก
• (3) กรณีการบรรทุกวัตถุอันตรายแบบหีบห่ อ (Package) หรื อในบรรจุ
ภัณฑ์ (Packaging)ไม่ ต้องติดป้ายแสดงความเป็ นอันตราย เว้ นแต่ การ
บรรทุกดังกล่ าวเป็ นวัตถุอันตรายประเภทที่ 1 หรื อประเภทที่ 7 ให้ ตดิ ป้าย
แสดงความเป็ นอันตรายไว้ ท่ ีด้านข้ างทัง้ สองข้ าง และด้ านท้ ายของส่ วน
บรรทุก
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
12
สรุ ปสาระสาคัญ
 9. การติดป้ายสีส้ม ให้ ดาเนินการดังนี ้
• (1) ป้ายสีส้มที่ไม่ มีข้อความ ให้ ตดิ ที่ด้านหน้ าและด้ านท้ ายของหน่ วยขนส่ ง
• (2) ป้ายสีส้มที่มีหมายเลขแสดงความเป็ นอันตรายและหมายเลข
สหประชาชาติของวัตถุอันตรายให้ ตดิ กรณีการบรรทุกวัตถุอันตรายที่มี
หมายเลขแสดงความเป็ นอันตรายตามที่กาหนดไว้ ในตาราง A
ของบทที่ 3.2 ของข้ อกาหนดว่ าด้ วยการขนส่ งสินค้ าอันตรายทางถนนของ
ประเทศไทย หรื อความตกลงว่ าด้ วยการขนส่ งสินค้ าอันตรายระหว่ าง
ประเทศทางถนนของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแห่ งยุโรปภายใต้
สหประชาชาติ ดังนี ้
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
13
สรุ ปสาระสาคัญ
(ก) กรณีการบรรทุกวัตถุอันตรายแบบเทกอง หรื อสิ่งของหรื อของแข็งที่
ไม่ ได้ บรรจุหีบห่ อหรื อวัสดุกัมมันตรั งสีในบรรจุภัณฑ์ ท่ ีมหี มายเลข
สหประชาชาติหมายเลขเดียว ให้ ตดิ ป้ายที่ด้านข้ างทัง้ สองข้ างของส่ วน
บรรทุก
(ข) กรณีการบรรทุกวัตถุอันตรายในแท็งก์ หรื อในรถแบตเตอรี่ ให้ ตดิ ป้าย
ที่ด้านข้ างทัง้ สองข้ างตรงกับวัตถุอันตรายที่ทาการบรรทุกบนแท็งก์ หรื อแต่
ละช่ องบรรทุกของแท็งก์ หรื อแต่ ละกลุ่มถังบรรทุกของรถแบตเตอรี่
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
14
สรุ ปสาระสาคัญ
(ค) กรณีการบรรทุกวัตถุอันตรายประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ ที่มี
หมายเลขสหประชาชาติ1202, 1203, 1223, 1268 หรื อ 1863 ร่ วมกัน โดย
ไม่ มีวัตถุอันตรายชนิดอื่นในแท็งก์ อาจไม่ ตดิ ป้ายตาม (1) หรื อ (2) (ข) ก็ได้
หากมีการติดป้ายที่มีหมายเลขแสดงความเป็ นอันตรายและหมายเลข
สหประชาชาติของวัตถุอันตรายชนิดที่มีความอันตรายสูงที่สุด เช่ น มีจุด
วาบไฟต่าสุด ที่ด้านหน้ าและด้ านท้ ายของหน่ วยขนส่ ง
(ง) กรณีส่วนบรรทุกของรถสามารถยกขึน้ ลงจากรถได้ ให้ การติดป้าย
เป็ นไปตาม (ก) หรื อ (ข)แล้ วแต่ กรณี เว้ นแต่ เมื่อส่ วนบรรทุกนัน้ ถูกนาไป
วางบนรถทาให้ ไม่ สามารถมองเห็นป้ายได้ อย่ างชัดเจนให้ ตดิ ป้ายตาม
ตาแหน่ งการบรรทุกบนตัวรถเพิ่มเติมด้ วย
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
15
สรุ ปสาระสาคัญ
 10. ให้ นา ความในข้ อ 9 มาใช้ กับการติดเครื่ องหมายสา หรั บสารที่มี
อุณหภูมสิ ูงและเครื่ องหมายสาหรั บสารที่เป็ นอันตรายต่ อสิ่งแวดล้ อม โดย
อนุโลม
 11. การติดป้ายและเครื่ องหมายตามข้ อ 10 ข้ อ 11 และข้ อ 12 ให้ เป็ นไป
ตามตัวอย่ างในภาคผนวก ค ท้ ายประกาศนี ้
 12. เมื่อทาการขนถ่ ายวัตถุอันตรายออกจากรถและได้ ล้างหรื อทาความ
สะอาดส่ วนบรรทุกหรื อถังบรรทุกแล้ ว ให้ ทาการปลดป้ายหรื อเครื่องหมาย
สาหรั บรถบรรทุกวัตถุอันตรายออก หรื อปิ ดคลุมป้ายหรื อเครื่ องหมาย
ดังกล่ าวด้ วยวัสดุท่ ีมีความคงทน
 13. ประกาศนีใ้ ห้ ใช้ บังคับเมื่อพ้ นกาหนดหกสิบวัน นับแต่ วันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
16
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ

รถบรรทุกวัตถุอันตรายที่มีปริมาตรหรื อนา้ หนักของวัตถุอันตราย
ตามที่กาหนดในภาคผนวก ก ท้ ายประกาศ ต้ องติดป้ายอักษร ภาพและ
เครื่ องหมายให้ เป็ นไปตามที่กาหนดไว้ ในประกาศนี ้
โดยติดในตาแหน่ งที่ถูกต้ องและสามารถมองเห็นได้ อย่ างชัดเจน และ
ผู้ประกอบการขนส่ งอาจติดป้ายเครื่ องหมาย หรื อข้ อความแสดง
รายละเอียดอื่นเกี่ยวกับการบรรทุกวัตถุอันตรายเป็ นการเพิ่มเติมด้ วยก็ได้
เช่ น ชื่อที่ถูกต้ องในการขนส่ ง หมายเลขโทรศัพท์ กรณีฉุกเฉิน ป้ายเตือน
การรมยา
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
17
จบการนาเสนอ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
18