ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามแดนไทย
Download
Report
Transcript ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามแดนไทย
โครงการสั มมนาเรื่องปัญหาและอุปสรรคในการเปิ ด
เสรีทางการค้ าของไทยกับประเทศเพือ่ นบ้ าน
หัวข้ อ : มาตรการทางกฎหมายในการส่ งเสริมการค้ า
และการขนส่ งข้ ามแดน
จัดโดย
สานักงานส่ งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม (สสว.)
วันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้ องประชุ มเทศบาลนครแม่ สอด
บรรยายโดย
นางกฤติกา ปั้นประเสริฐ
ผู้อานวยการสานักกฎหมาย กรมศุลกากร
1
TRUST
กลุ่มประเทศอาเซียน
มีเป้าหมายในการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจเพือ่ เป็ น
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community:
AEC) ในปี พ.ศ. 2558
สิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับศุลกากร
1.
2.
3.
4.
ภาษีศุลกากร
วิธีการเคลือ่ นย้ายสินค้า
พิธีการศุลกากร
ข้อห้าม ข้อกากัดต่างๆ
ภาษีศุลกากร
1. สินค้าของอาเซียนด้วยกัน จะลด/ยกเว้นภาษีตาม AFTA
(ปั จจุบนั
เรียก ATIGA) โดยสินค้าต้องได้ถนิ่ กาเนิด
อาเซียนภายใต้ Rules of
Origin ทีก่ าหนดคือ CTSH
หรือ Local content/Value Added
40%
ของราคา F.O.B.
2. สินค้านอกกลุ่ม ยังคงเก็บภาษีตามปกติ เว้นแต่ สินค้าภายใต้
FTA
แต่ละฉบับ จะเป็ นไปตามนั้น
3. ถ้าเป็ นสินค้าผ่านแดนจะไม่เก็บภาษี
Japan
India
ASEAN-Korea
AFTA
Peru
Australia
New Zealand
วิธีการเคลือ่ นย้ายสินค้า
1. การรวมตัวกันเป็ น AEC ไม่ทาให้ดินแดนและอานาจอธิปไตยของแต่
ละประเทศเปลีย่ นแปลงไปแต่อย่างใด
2. ดังนั้น จะให้สินค้าผ่านอธิปไตยตามหลักดินแดนแต่ละประเทศได้
อย่างไร ก็ตอ้ งทาความตกลง (Agreement) กันก่อน เช่น
• ASEAN Framework Agreement on the
Facilitation of Goods in Transit (AFAFGT)
ประกอบด้วย ประเทศอาเซียน 10 ประเทศ
• The Cross-Border Transport Agreement
(CBTA)
(ไทย-ลาว-พม่า-กัมพูชา-เวียดนาม-และจี นตอนใต้)
• ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามแดนไทย - ลาว
การนาของที่นาเข้ าไปจากอารักขาของศุลกากร
ต้ องทาอย่ างไรบ้ าง
ต้ องปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัตศิ ุลกากร
ต้ องปฏิบัตติ ามกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้ อง(ประมาณ 99
ฉบับ)
ต้ องจัดทา (ยืน่ ) ใบขนสิ นค้ า
ต้ องชาระภาษี (หากมี)
10
พิธีการศุลกากร
1. เอกสารทีใ่ ช้ในการผ่านพิธีการศุลกากร
2. เอกสารทีใ่ ช้ในการค้ าประกันค่าภาษี
3. พิธีการผ่านแดน
เอกสารทีใ่ ช้ในการผ่านพิธีการศุลกากร
→ จะเป็ นไปตามทีก่ าหนดในความตกลงฉบับต่างๆ เช่น
ไทย – ลาว ใช้ใบแนบ 9
GMS (CBTA) ใช้เอกสารทีก่ าหนดขึ้ นโดยเฉพาะ
เป็ น
เอกสารชุด ประกอบด้วย เอกสารผ่านพิธีการ
ศุลกากร
และเอกสารค้ าประกัน โดยสภาหอการค้า
แห่งประเทศไทย
จะเป็ นผูค้ ้ าประกันและเป็ นผูอ้ อกเอกสาร
ต่างๆ
๏
AFAFGT จะใช้การผ่านพิธีการด้วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์โดย
มีรูปแบบเอกสารตามทีจ่ ะตกลงกัน
๏
๏
เอกสารทีใ่ ช้ในการค้ าประกันค่าภาษี
๏
ไทย – ลาว ให้ผูป้ ระกอบการวางประกันลอย รายละ 1 ล้านบาท
๏
CBTA ให้สภาหอการค้าเป็ นผูค้ ้ าประกัน (เป็ นรายเทีย่ ว)
๏
AFAFGT ให้สถาบันการเงินทีม่ ีความพร้อม เป็ นผูค้ ้ าประกัน ทั้งนี้
ผูค้ ้ าประกันต้องมีสาขาอยู่ในประเทศทีข่ องถูกขนส่งผ่านแดน
(เป็ นรายเทีย่ ว)
พิธีการผ่านแดน
๏
ไทย – ลาว สามารถพักสินค้าไว้ในคลังสินค้าทัณฑ์บน
(คลังสินค้าผ่านแดน) ได้
๏
CBTA และ AFAFGT ไม่สามารถพักสินค้าไว้ได้ จะต้องขนส่ง
ของออกไป เว้นแต่จะมีเหตุอนั มิอาจหลีกเลีย่ งได้
การอานวยความสะดวก
๏
ให้ใช้เส้นทางทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด
๏
ให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่างๆ (ในประเทศไทย)
ทีเ่ กีย่ วข้องผ่านระบบ National Single Window และจะพัฒนาไปสู่
การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่างๆ ของประเทศอาเซียน
ในอนาคต ผ่านระบบ ASEAN Single Window
๏
กรอบอาเซียนระบุไว้ชดั เจนว่าจะไม่มีขอ้ ห้าม ข้อจากัดในการ
ผ่านแดน เว้นแต่จะเป็ นข้อห้ามข้อจากัดทีจ่ าเป็ น
ตัวอย่ างของต้ องห้ าม (Prohibited Goods)
(1) วัตถุลามก อนาจาร ตามมาตรา 287 แหง่
ประมวลกฎหมาย
อาญา
(2) สิ นค้าทีม
่ ต
ี ราหรือลวดลายธงชาติ ตาม
พ.ร.บ. ธง พ.ศ. 2522
(3) เงินตรา พันธบัตรอันเป็ นของปลอม
(4) สิ นค้าทีล
่ ะเมิดลิขสิ ทธิ ์ สิ ทธิบต
ั ร เครือ
่ งหมาย
การค้า
(5) ยาเสพยติ
์ ดให้โทษทุกชนิด
(6) สิ นค้าทีแ
่ สดงเมืองกาเนิดเป็ นเท็จ ตาม พ.ร.บ.
ห้ามนาของทีม
่ ี
การแสดงกาเนิดเป็ นเท็จเขา้
มา พ.ศ.2481
16
(7) ของตองหามอืน
่ ๆตามประกาศของกระทรวง
* ของต้ องห้ าม – ต้ องจากัดภายใต้ AFAFGT
Contracting Parties สามารถกาหนดข้ อห้ าม ข้ อจากัดในการ
ขนส่ งสิ นค้ าผ่ านแดนได้ โดยระบุไว้ ใน Annex แนบท้ าย Protocol ๗
ข้ อห้ าม ข้ อจากัด จะต้ องเป็ นไปเพือ่
- Public morality
- Public policy
- Public security
- The Protection of health or life of humans,
animals or plants
- The Protection of national treasures posing artistic,
historical or archaeological value
- The Protection of industrial or commercial property
Legal Support กรอบอาเซียน
1. AEC Blue Print
2. The ASEAN Agreement to Establish and
Implement the
ASEAN Single Window
3. (ร่าง) พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที.่ .) พ.ศ. ....
4. (ร่าง) ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเชื่อมโยงข้อมูล
แบบบูรณาการสาหรับการนาเข้า การส่งออก การนาผ่านและ
โลจิ สติกส์ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ....
5. นโยบายของ ก.พ.ร. เมือ่ วันที่ 1 พ.ย. 2556 ซึ่งมอบหมายให้หน่วยงาน
ทีเ่ กีย่ วข้องกับกรมศุลกากร ต้องกาหนดให้ National Single
Window
เป็ น KEY Performance Indicator
(KPI) ของทุกหน่วยงาน
1.
2.
3.
Legal Support กรอบ GMS
The Cross-Border Transport Agreement (CBTA)
MOU ระหว่าง ไทย – ลาว และ ไทย – กัมพูชา
(ร่าง) ประมวลระเบียบปฏิบตั ิในการขนส่งผ่านแดน/ข้าม
แดน ภายใต้กรอบ Greater Mekong Sub-region หรือ CBTA
Legal Support กรอบ ไทย-ลาว
1.
2.
ความตกลงว่าด้วยการผ่านแดนไทย – ลาว และ Subsidiary
Agreement
ประมวลระเบียบปฏิบตั ิศุลกากรที่เกีย่ วข้อง เช่น ประกาศกรมฯ
ที่ 91/2547 เป็ นต้น
Legal Support เพือ่ การอานวยความสะดวกอื่นๆ
1. อายุความในการ Post Audit
2. เงินสินบนและเงินรางวัล
3. การแก้ไขโทษตามมาตรา 27 กรณี หลีกเลีย่ งข้อห้าม ข้อจากัด
4. Returnable box ได้รบั ยกเว้นภาษี
5. Advanced Binding Ruling หรือการสอบถามพิกดั ศุลกากร
ราคา
ศุลกากรและถิน่ กาเนิดสินค้าล่วงหน้า
6. การกาหนดมูลค่าขั้นตา่ ของสินค้าทีไ่ ม่ตอ้ งเก็บภาษี
ความตกลงไทย - ลาว
1. เดิม ทาขึ้ นโดยอยู่บนพื้ นฐานของอนุ สญ
ั ญาบาร์เซโลน่า เพือ่ ให้
ทางผ่านแก่ลาวในการออกสู่ทะเลได้ (จึ งให้ขนส่งผ่านแดนมาออกที่ท่า
กรุงเทพ/แหลมฉบัง)
2. ปั จจุบนั อยู่บนพื้ นฐานของหลักต่างตอบแทน เห็นได้จากการมีการ
จัดทาความตกลงเพิม่ เติม (ว่าด้วยการขนส่งทางถนนเพือ่ การท่องเทีย่ ว
และการพาณิชย์)
3. “ของผ่านแดน” โดยปกติจึงไม่ควรเปิ ดตรวจ เพราะมิใช่ของทีจ่ ะ
บริโภคในประเทศ แต่ก็สามารถเปิ ดตรวจได้ โดยปฏิบตั ิตามความตกลงฯ
คือเชิญฝ่ ายลาวมาตรวจพร้อมๆกัน และสามารถ “ตกค้าง” ได้ตาม
เงือ่ นไขของความตกลงและกฎหมายภายใน
ความตกลงไทย – ลาว (ต่อ)
4. “ของผ่านแดน” ภายใต้อนุ สญ
ั ญาบาร์เซโลน่า ก็สามารถตกอยู่
ภายใต้ขอ้ ห้ามข้อจากัด ตามกฎหมายของประเทศทีถ่ ูกผ่านแดนได้
(12 ฉบับ)
5. ถ้ายังไม่ตกลงกันก็จะไม่เขียนไว้ = ยังทาไม่ได้ (ไม่ใช่หมายความ
ว่าไม่มีกฎหมายห้ามย่อมทาได้)
6. ในความตกลงฯ จะระบุเรือ่ งการยกเว้นภาษีไว้ ดังนั้น จึ งสามารถ
ยกเว้นภาษีขาเข้าได้ ทั้งนี้ ตามพระราชกาหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ.
2530 ภาค 4 ประเภท 10
การขนสิ นค้ าต่ างประเทศผ่ านดินแดนประเทศไทย
จะทาได้ อย่ างไรบ้ าง แม้ อนุสัญญาบาเซโลน่ า จะให้ ประเทศเพือ่ นบ้ าน
ต้ องอนุญาตให้ ประเทศทีไ่ ม่ มีทางออกทะเลผ่ านดินแดนตน แต่ จะต้ องมี
การทาความตกลงเสี ยก่ อนจึงจะผ่ านแดนกันได้ มิใช่ จะทาได้ โดย
อัตโนมัติ
การผ่ านแดนจึงต้ องมีการทาความตกลงระหว่ างประเทศก่ อน
เสมอ เห็นได้ จาก ความตกลงไทย-ลาว หรือความตกลงว่ าด้ วยการขนส่ ง
ของเน่ าเสี ยง่ ายผ่ านประเทศมาเลเซียเพือ่ ไปยังประเทศสิ งคโปร์ หรือ
ความตกลงอาเซียนว่ าด้ วยการอานวยความสะดวกในการขนส่ งสิ นค้ า
ผ่ านแดน (AFAFGT) หรือความตกลงว่ าด้ วยการอานวยความสะดวก
ในการขนส่ งข้ ามแดนภายในภูมิภาคลุ่มแม่ นา้ โขง (CBTA) เป็ นต้ น
24
(AFAFGT)
ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit,๑๙๙๘
ลงนามครบทั้ง ๑๐ ประเทศ เมื่อ ๑๖ ธันวาคม ๑๙๙๘
ยืน่ สั ตยาบันสารครบทั้ง ๑๐ ประเทศ เมื่อ ตุลาคม ๒๐๐๐
Entered into Force October ๒๐๐๐
* ทาไมต้ องมีการขนส่ งผ่ านแดนภายใน ASEAN
an ASEAN Economic Community (AEC)
a Single Market and Production Base
By ๒๐๑๕
“Freedom of Movement for
Goods/People/Service/Investment across the
region ”
* To make AEC happen
Administrations must work “As One”
The requirements are:
๑. A Common legal and organizational framework
๒. A Harmonized Tariff Nomenclature
๓. Harmonized Documents
๔. A regional transit management system
* First priority is freedom of movement of goods
- Efficient Customs Transit Arrangement
- Efficient Transport Transit Arrangement
๕. Mutual Assistance and Enforcement system
๖. A Wide area network and region IT support and
data centre เป็ นต้ น
AFAFGT
๑. : กรอบความตกลงอาเซียนว่ าด้ วยการอานวยความสะดวกใน
การขนส่ งสิ นค้ าผ่ านแดน
๒. : กาหนดกรอบกว้ างๆ ของการผ่ านแดน
๓. : รายละเอียดแต่ ละเรื่องจะอยู่ในพิธีสาร (Protocol)