ดาวโหลดเอกสารประกอบการบรรยาย - สมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่ง

Download Report

Transcript ดาวโหลดเอกสารประกอบการบรรยาย - สมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่ง

ประชาคมอาเซียนกับความเชื่อมโยงด้ าน
เศรษฐกิจ การเมือง และสั งคมวัฒนธรรม
โดย ออท. ประดาป พิบลู สงคราม
ผูแ้ ทนไทยในคณะกรรมการประสานงานของอาเซียน
ว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในภูมิภาค
(ASEAN Connectivity Coordinating Committee)
22 ก.ย. 2556 09.00-12.00 น.
สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
อาเซียน
นอกอาเซียน
ภายนอกประเทศ ภายในประเทศ
- ชายแดน
- จุดผ่ านแดน
- เส้ นทางคมนาคมอาเซียน
- ปฏิสัมพันธ์
- ความเชื่อมโยง
ความเชื่อมโยงอาเซียน
- ฐานการผลิต
- สถานะ
- ความสาคัญต่อประเทศ
จังหวัด
- ระดับการพัฒนา
- ความสาคัญต่อจังหวัด
ชุมชน
ภาระกิจของการปกครองท้ องถิ่น
ความสาคัญของแผนแม่บทการเชื่อมโยง
ระหว่างกันในอาเซียน
• 46 ปี แห่ งการเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
• กระบวนการจัดทาแผนแม่ บทฯ
• ทิศทางและจุดเชื่อมโยงเป้ าหมาย
• ความฝันหรือเป็ นจริง
ความเจริญก้าวหน้ าของอาเซียน
ช่ วงก่ อตั้ง
เศรษฐกิจ
ขยายตัว
สมาชิก
เพิม่ ขึน้
จุดอิม่ ตัว
ช่ วงสร้ าง
ประชาคม
?
?
Bali Concord II
2003
1967
1977
1987
1997
2007
2017
2027
2037
ASEAN Community
2015
Sectoral Cooperation
Political
Blueprint
2009
ASEAN
Charter
2007
Cebu (2015)
2005
Bali
Concord
(2020)
Economic
Blueprint
Socio-Cultural
Blueprint
พัฒนาการการรวมตัวของอาเซียน (ASEAN Big Bang)
อนาคต
ปั จจุบนั
อดีต
: พัฒนาการในรอบ 46 ปี
: สร้ างประชาคมอาเซียน
: ประชาคมอาเซียนถือกาเนิด
เหตุการณ์ สาคัญช่ วงก่ อนการจัดตัง้ อาเซียน
สถานการณ์ โลก
• ยุคสงครามเย็น
สถานการณ์ ในไทย
• 1957: ก้ าวเข้ าสูย่ คุ เผด็จการ 16 ปี
• 1962: แพ้ คดีการตัดสินเขาพระ
วิหาร
สถานการณ์ ในภูมิภาค
• 1945/46: อินโดนีเซีย/ฟิ ลิปปิ นส์ได้
เอกราช
• 1950: สงครามเกาหลี
• 1954: ก่อตัง้ SEATO
• 1961-63: ก่อตัง้ ASA, ASPAC
• 1955: ปฏิญญาบันดุง
• 1957: มาเลเซียได้ เอกราช
• 1960: สงครามเวียดนาม
• 1965: สิงคโปร์ ได้ เอกราช
ช่ วงที่หนึ่ง: การก่ อตัง้ อาเซียน (1967-1977)
ไทย
ฟิ ลิปปิ นส์
มาเลเซีย
สิงคโปร์
อินโดนีเซีย
เหตุการณ์ สาคัญในช่ วงการก่ อตัง้ อาเซียน
สถานการณ์ ในอาเซียน
• 1971: Zone of Peace, Freedom,
Neutrality
• 1976: สนธิสญ
ั ญามิตรภาพและ
ความร่วมมือในเอเชียตะวันออก
• 1977: ASEAN Preferential Trade
Arrangement
สถานการณ์ ในไทย
• 1973: สิ ้นสุดยุคเผด็จการ
สถานการณ์ โลกและภูมิภาค
•
•
•
•
1967-70: สงครามเวียดนามรุนแรงขึ ้น
1972: ความสัมพันธ์สหรัฐฯ /จีน
1973: วิกฤตการณ์น ้ามัน
1975: สงครามเวียดนามยุติ
ความสัมพันธ์ไทย/เวียดนาม
ความสัมพันธ์ไทย/จีน
ช่ วงที่สอง: การขยายตัวด้ านเศรษฐกิจ (1977-1987)
ไทย
ฟิ ลิปปิ นส์
มาเลเซีย
บรูไน
สิงคโปร์
อินโดนีเซีย
เหตุการณ์ สาคัญในช่ วงการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
สถานการณ์ ในอาเซียน
• 1984:
- บรูไนเป็ นสมาชิกหลังได้ รับเอกราช
- เศรษฐกิจประเทศสมาชิกขยายตัว
สถานการณ์ ในไทย
• เศรษฐกิจขยายตัว
• รัฐบาลเริ่มมีเสถียรภาพ
สถานการณ์ โลกและภูมิภาค
• ยุคประธานาธิบดี Gobachev รัสเซีย
และแนวโน้ มสหภาพโซเวียตล่มสลาย
• 1979: - เวียดนามบุกกัมพูชา
- สงครามกัมพูชา
• 1985: ปั ญหาเศรษฐกิจ/การค้ ากับ
ประเทศเอเชีย อาเซียน และไทย
ช่ วงที่สาม: สมาชิกเพิ่มขึน้ (1987-1997)
เวียดนาม
พม่ า
ลาว
ไทย
ฟิ ลิปปิ นส์
มาเลเซีย
บรู ไน
สิงคโปร์
อินโดนีเซีย
เหตุการณ์ สาคัญในช่ วงการเพิ่มสมาชิก
สถานการณ์ ในอาเซียน
• 1992: AFTA
• 1995: - เวียดนามเป็ นสมาชิก
- SEANWFZ ประกาศเขตปลอดอาวุธ
นิวเคลียร์
• 1997: - ลาว/พม่า เป็ นสมาชิก
- AMM on Transnational Crime
• 1994: ASEAN Regional Forum (ARF)
สถานการณ์ ในไทย
•
•
•
•
1991: ปฏิวตั ิรัฐบาลพลเอกชาติชาย
1992: พฤษภาทมิฬ
1990: การเมืองไร้ เสถียรภาพ
1997: เศรษฐกิจต้ มยากุ้ง
สถานการณ์ โลกและภูมิภาค
•
•
•
•
•
•
1989: สหภาพโซเวียตล่มสลาย
1991: เจรจายุติสงครามกัมพูชา
1992: ก่อตัง้ GMS
1993: สหภาพยุโรป
1997: วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย
1990s: เศรษฐกิจจีนรุ่งเรื อง
ช่ วงที่ส่ ี: การปรั บโครงสร้ าง (1997-2007)
เวียดนาม
พม่ า
ลาว
ไทย
ฟิ ลิปปิ นส์
กัมพูชา
มาเลเซีย
บรู ไน
สิงคโปร์
อินโดนีเซีย
เหตุการณ์ สาคัญในช่ วงการปรั บโครงสร้ าง
สถานการณ์ ในอาเซียน
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
1996: AICO
1997: ASEAN Vision
1998: AIA  ACIA
1999: กัมพูชาเป็ นสมาชิก
2002: DOC
2003: Bali Concord II (2020)
2005: Cebu ASEAN 2015
2006: ADMM
2007: Drafting ASEAN Charter – Rule-based,
People-oriented
ASEAN Connectivity
สถานการณ์ โลกและภูมิภาค
• 1990s: อินเดียเปิ ดประเทศ
เศรษฐกิจขยายตัว
• 2000: ยุโรปเริ่มใช้ เงินยูโร
• 2001: Al-Qaeda
• 2003: ไข้ หวัดนกระบาดหนัก
• 2004: ภัยพิบตั ิ Tsunami
• 2007: ปั ญหาเศรษฐกิจสหรัฐฯ
สถานการณ์ ในไทย
• 2006: คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งชาติ
ช่ วงที่ห้า: สร้ างประชาคมอาเซียน (2007-2017)
UN
MERCOSUR
GCC
SAARC
ECO
RIO Group
เหตุการณ์ สาคัญในช่ วงสร้ างประชาคมอาเซียน
สถานการณ์ โลกและภูมิภาค
• 2008-2009: วิกฤตการณ์ทางการเงิน
ในสหรัฐ
• 2011: วิกฤตการณ์การเงินในยุโรป
• 2012: ปั ญหาทะเลจีนใต้
สถานการณ์ ในไทย
•
•
•
•
การเมืองไร้ เสถียรภาพ
ภัยพิบตั ิน ้าท่วม
ผลกระทบจาก Eurozone
เริ่มตื่นตัวเรื่ อง AEC
สถานการณ์ ในอาเซียน
• 2007: พิมพ์เขียวเสาด้ านเศรษฐกิจ
• 2008: กฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้
• 2009: พิมพ์เขียวเสาด้ านการเมือง
และสังคมวัฒนธรรม
• 2010: แผนแม่บทว่าด้ วยความ
เชื่อมโยงระหว่างกันใน
อาเซียน/ATIGA/FTAs
แผนแม่ บทว่ าด้ วยความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
China
GMS
BIMSTEC
Japan
IMT-GT
BIMP-EAGA
Master Plan on
ASEAN Connectivity
กระบวนการยกร่างแผนแม่บทฯ
ฝ่ ายไทย
- ส่วนรำชกำรทีเ่ กีย่ วข้อง
- คณะกรรมำธิกำรวุฒสิ ภำ (ต่ำงประเทศ และ
เศรษฐกิจกำรพำณิชย์ และอุตสำหกรรม)
- ภำคเอกชน
ที่ประชุม
สุ ดยอดอาเซียน
ครั้งที่ 15
คณะมนตรี
ประชาคมอาเซียน
สมัยพิเศษ
- มีมติให้จดั ตัง้ High- - กาหนดขอบเขต
Level Task Force
อานาจหน้าทีข่ อง
(HLTF)
HLTF
- เมือ่ วันที่ 24 ต.ค.
- กรุงฮานอย เวียดนาม
2552 ณ ชะอำ-หัวหิน
13 ม.ค. 2553
HLTF
กรมอาเซียน
- ประชุม 4 ครัง้
- รายงานรัฐมนตรี
ต่างประเทศอาเซียน
ทีป่ ระชุม
สุดยอดอาเซียน
ครัง้ ที่ 17
- มีมติรบั รองแผนแม่บทฯ
ณ กรุงฮานอย เวียดนาม
28 ต.ค. 2553
หลักการสาคัญของแผนแม่ บทฯ
• ช่วยเร่งรัดและไม่เป็ นอุปสรรคต่อข้ อริเริ่มที่มีอยูแ่ ล้ วในอาเซียน ตลอดจนส่งเสริม
กระบวนการสร้ างประชาคมอาเซียน
• สร้ างผลลัพท์ที่เป็ นประโยชน์กบั ทุกฝ่ ายเพื่อสะท้ อนผลประโยชน์
ของทุกชาติสมาชิก
• สร้ างความสอดประสานระหว่างยุทธศาสตร์ หรื อแผนงานขององค์กรรายสาขา
ต่างๆ ที่มีอยูแ่ ล้ วและกาลังดาเนินการอยูภ่ ายใต้ กรอบอาเซียนและอนุภมู ิภาค
ต่างๆ
• สร้ างความสมดุลระหว่างผลประโยชน์ระดับภูมิภาคและระดับประเทศ
• เสริมสร้ างความเชื่อมโยงระหว่างแผ่นดินใหญ่และหมูเ่ กาะในภูมิภาค
• มองไปภายนอก และช่วยส่งเสริมพลวัตการแข่งขันระหว่างประเทศคูเ่ จรจาต่างๆ
ตลอดจนช่วยรักษาความเป็ นศูนย์กลางของอาเซียน
• มีรูปแบบการระดมทุนที่ชดั เจนและครอบคลุมการมีสว่ นร่วมของภาคเอกชน
ภูมหิ ลัง
• ไทยในฐานะเจ้ าภาพเสนอแนวคิดเรื่ องความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
ต่อที่ประชุมผู้นา ครัง้ ที่ 15 เมื่อเดือนตุลาคม 2552
• ที่ประชุมผู้นาเห็นร่วมกันในหลักการและเห็นควรจัดตังคณะท
้
างานระดับสูง
(High-Level Task Force on ASEAN Connectivity)เพื่อร่างแผนแม่บทว่าด้ วย
การเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ( Master Plan on ASEAN Connectivity)
• แผนแม่บท ฯ ได้ รับการรับรองในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 17 ที่กรุงฮานอย
เมื่อ 28 ตุลาคม 2553
• เป้าหมายสูงสุด: เพื่อสร้ างความเชื่อมโยงทัง้ ด้ านกายภาพ ด้ านสถาบัน
และประชาชนต่ อประชาชน ให้ อาเซียนกลายเป็ นประชาคมอย่ างแท้ จริง
ในปี 2558
วัตถุประสงค์ ของการส่ งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน
• การสร้ างให้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีความสามารถใน
การแข่ งขันมากขึน้
• ส่ งเสริมให้ ประชาชนอาเซียนสามารถไปมาหาสู่กันได้ ง่ายขึน้
• เป็ นพืน้ ฐานสาหรับการสร้ างความเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่นๆ
รวมทัง้ เอเชียตะวันออก
• มีทงั ้ การเชื่อมโยงด้ านโครงสร้ างพืน้ ฐาน การคมนาคม
กฎระเบียบต่ างๆ และการปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างประชาชน
แนวคิดสาคัญของการจัดทาแผนแม่ บท
• เป็ นการประมวลแผนเชื่อมโยงในกรอบอนุภมู ิภาคที่มีอยู่แล้ ว
(GMS, BIMSTEC, ACMECS, IMT-GT และอื่นๆ) เข้ าด้ วยกัน
• เนื่องจากแผนดังกล่ าวมีปัญหา  การพัฒนาล่ าช้ า
การก่ อสร้ างไม่ แล้ วเสร็จ
– ความร่วมมือด้ านกฎ กติกา และความตกลงในการเชื่อมโยงยังไม่มี
การบังคับใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ
• แผนแม่ บทจึงเข้ ามาเสริมสร้ าง เร่ งรั ดการดาเนินการในกรอบ
ความร่ วมมือเหล่ านัน้ โดยไม่ สร้ างกรอบความร่ วมมือใหม่ ขนึ ้ อีก
– โดยจัดลาดับความสาคัญของโครงการเร่งด่วน เพื่อผลักดัน
ความเชื่อมโยงระหว่างกันอย่างแท้ จริ งในอาเซียน
สาระสาคัญ: แผนแม่ บทว่ าด้ วยความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
 ยุทธศาสตร์ หลักสาหรั บการพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
 ด้ านกายภาพ (เส้ นทางคมนาคมต่างๆ ICT และพลังงาน)
 ด้ านสถาบัน กฎระเบียบ (การเอื ้อประโยชน์ทางการค้ าและ
ด้ านพรมแดน)
 ด้ านประชาชนสูป่ ระชาชน (ด้ านวัฒนธรรม และการเคลื่อนย้ าย/
ไปมาหาสูข่ องประชาชน)
 การระดมทรั พยากรเพื่อเพิ่มพูนความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
 การดาเนินการให้ เป็ นไปตามแผนแม่ บทฯ
ยุทธศาสตร์ หลักภายใต้ แผนแม่ บท
• ยุทธศาสตร์ หลักในการเพิ่มพูนความเชื่อมโยงทางกายภาพ
(Physical Connectivity)
• ยุทธศาสตร์ หลักในการเพิ่มพูนความเชื่อมโยงทางสถาบัน
(Institutional Connectivity)
• ยุทธศาสตร์ หลักในการเพิ่มพูมความเชื่อมโยงประชาชนสู่ประชาชน
(People to People Connectivity)
ยุทธศาสตร์ หลักในการเพิม่ พูนความเชื่อมโยงทางกายภาพ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 ก่ อสร้ างโครงข่ ายทางหลวงอาเซียนให้ แล้ วเสร็จ
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 ดาเนินโครงการเส้ นทางรถไฟสิ งคโปร์ -คุนหมิงให้ แล้ วเสร็จ
ยุทธศาสตร์ ที่ 3
สร้ างเครือข่ ายระบบการขนส่ งทางน้าบนภาคพืน้ ทวีปที่มีประสิ ทธิภาพ
และเชื่อมโยงกัน
ยุทธศาสตร์ ที่ 4 สร้ างระบบการขนส่ งทางทะเลที่เชื่อมโยง มีประสิ ทธิภาพ และแข่ งขันได้
ยุทธศาสตร์ ที่ 5
สร้ างระบบการขนส่ งต่ อเนื่องหลายรู ปแบบที่คล่ องตัวเพือ่ ให้ อาเซียนเป็ น
ศูนย์ กลางการขนส่ งในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอืน่ ๆ
ยุทธศาสตร์ ที่ 6 เร่ งรัดการพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่ อสารในชาติสมาชิก
ยุทธศาสตร์ ที่ 7 ให้ ความสาคัญกับโครงการโครงสร้ างพืน้ ฐานด้ านพลังงานของอาเซี ยน
ความเชื่อมโยงด้ านกายภาพ
ถนน : AHN
รถไฟ
แม่น้า
ท่าเรือ
เส้นทางการ
ขนส่งหลาย
รูปแบบ
พลังงาน
ICT
โครงข่ายทางหลวง
อาเซียน (38,400
กม./23 สาย)
- มาตรฐานชันที
้ ่3
- ป้ายจราจร
- การศึกษาความ
เป็ นไปได้ ในการ
เชื่อมถนน
ระหว่างภาคพื ้น
อาเซียนกับ
ประเทศหมู่เกาะ
- เชื่อมต่อกับจีน
และอินเดีย
- เชื่อมด้ วย
เส้ นทางที่ขาด
หาย
เส้ นทางสิงคโปร์ คุนหมิง 2 สาย
(2020)
- ศึกษาความ
เป็ นไปได้ การ
เชื่อมโยงกับเมือง
สุราบายา
51,000 กม.
- จัดทา
แผนปฏิบตั ิการ
(2012)
47 แห่ง
- ศึกษาความ
เป็ นไปได้ การ
สร้ างเครื อข่าย
ASEAN RoRo
-Land bridges
สาหรับเส้ นทางสู่
ภายนอก
- EWEC
- MIEC
- ASEAN Dry
Ports
-เครื อข่ายท่อ
ก๊ าซ
-เครื อข่ายการส่ง
ไฟฟ้า
-ASEAN Broadband
Corridor
-ASEAN Internet
Exchange Network
-Universal Services
obligations
-เชื่อมโยงกับโรงเรี ยน
-ศึกษาความเป็ นไปได้
ASEAN Single
Telecommunication
s Market
GMS
และเส้ นทาง
ระเบียงเศรษฐกิจ
SKRL
สายตะวันออก: ผ่านไทย – กัมพูชา –
เวียดนาม
สายตะวันตก: ผ่านไทยและพม่า
เส้ นประ คือ Missing Links
ก) ไทย: อรัญประเทศ – คลองลึก
ข) กัมพูชา: ปอยเปต – ศรี โสภณ
ค) กัมพูชา: พนมเปญ – ล็อกนิน
ง) เวียดนาม: ล็อกนิน – โฮจิมินห์
จ) เวียดนาม: มูเกีย – ทันอับ – วุงอัง
ฉ) ลาว: เวียงจันทน์ – ท่าแขก – มูเกีย
ช) พม่า: ตันบูซายัต – ด่านเจดียส์ าม
องค์
ซ) ไทย: ด่านเจดียส์ ามองค์ - น้ าตก
ยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาความเชื่อมโยงทางสถาบัน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1
ดาเนินการตามกรอบความตกลงทั้ง 3 กรอบว่ าด้ วยการอานวย
ความสะดวกในขนส่ ง
ยุทธศาสตร์ ที่ 2
เริ่มดาเนินโครงการการอานวยความสะดวกด้ านขนส่ งผู้โดยสาร
ในโครงข่ ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐต่ างๆ
ยุทธศาสตร์ ที่ 3
สร้ างตลาดการบินเดียวภายในอาเซียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 4
สร้ างตลาดการขนส่ งทางเรือเดียวในอาเซียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 5
เพิม่ การเคลือ่ นย้ ายสิ นค้ าอย่ างเสรีภายในภูมภิ าคอาเซียน โดย
การลดอุปสรรคทางการค้ าภายในระดับภูมภิ าค
ยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาความเชื่อมโยงทางสถาบัน (ต่อ)
ยุทธศาสตร์ ที่ 6
ยุทธศาสตร์ ที่ 7
ยุทธศาสตร์ ที่ 8
ยุทธศาสตร์ ที่ 9
เร่ งรัดการพัฒนาภาคการบริการทางการขนส่ งทีม่ ีประสิ ทธิภาพ
และแข่ งขันได้ โดยเฉพาะในสาขาโทรคมนาคม และการบริการอืน่ ๆ
ทีเ่ กีย่ วข้ องกับความเชื่อมโยงในภูมภิ าค
พัฒนาโครงการการอานวยความสะดวกด้ านการค้ าในภูมภิ าค
อย่างจริงจัง
ยกระดับความสามารถของการบริหารจัดการพรมแดน
เร่ งรัดให้ ชาติสมาชิกอาเซียนเปิ ดรับการลงทุนจากภายใน
และภายนอกภูมภิ าคภายใต้ กฎระเบียบการลงทุนทีเ่ ป็ นธรรม
ยุทธศาสตร์ ที่ 10 เสริมสร้ างความสามารถของสถาบันในพืน้ ทีล่ ้ าหลังของภูมิภาค
และปรับปรุ งการประสานงานด้ านนโยบาย แผนงาน และโครงการ
ในระดับภูมภิ าคและอนุภูมภิ าค
ยุทธศาสตร์ หลักในการส่ งเสริมความเชื่อมโยง
ประชาชนสู่ ประชาชน
ยุทธศาสตร์ 1 ส่ งเสริมความเข้ าใจด้ านสั งคมและวัฒนธรรมภายใน
อาเซียนให้ ลกึ ซื้งยิง่ ขึน้
ยุทธศาสตร์ 2 ส่ งเสริมการเคลือ่ นย้ ายของประชาชนภายในอาเซียน
โครงการเร่ งรัดสาหรับการสร้ างความเชื่อมโยงระหว่ างกัน
(Prioritized Projects)
• จากยุทธศาสตร์ ท้งั 3 สาขามี 15 โครงการที่มีความเร่ งด่ วน
ที่จะต้ องเร่ งดาเนินการในลาดับแรก ประกอบด้ วย
– โครงการจากยุทธศาสตร์ดา้ นกายภาพ 6 โครงการ
– โครงการจากยุทธศาสตร์ดา้ นสถาบัน 5 โครงการ
– โครงสร้างจากยุทธศาสตร์ประชาชนสู่ประชาชน 4 โครงการ
โครงการเร่ งรัดในกรอบยุทธศาสตร์ ความเชื่อมโยงทางกายภาพ
• ก่อสร้าง/การยกระดับโครงข่ายทางหลวงอาเซียนช่วงที่ขาดหายให้แล้วเสร็ จ
และปรับปรุ งเส้นทางขนส่ งสิ นค้าผ่านแดน
• ก่อสร้างเส้นทางรถไฟระหว่างสิ งคโปร์และคุนหมิงช่วงที่ขาดหายให้แล้วเสร็ จ
• สร้างแนวเส้นทางอินเทอร์เน็ตความเร็ วสู งในอาเซียน
• โครงข่ายไฟฟ้ าแรงสู งเชื่อมต่อมะละกา – เปกันบารู (IMT-GT: อินโดนีเซีย)
• โครงข่ายไฟฟ้ าแรงสู งเชื่อมต่อกะลิมนั ตันระวันตกกับซาราวัก (BIMP-EAGA:
อินโดนีเซีย)
• การศึกษาเกี่ยวกับเครื อข่ายเรื อบรรทุกยานพาหนะล้อเลื่อนและการขนส่ งทาง
ทะเลระยะสั้น
โครงการเร่ งรัดในกรอบยุทธศาสตร์ ความเชื่อมโยงทางสถาบัน
• จัดทาและปฏิบตั ิตามความตกลงการยอมรับร่ วมกันสาหรับ
อุตสาหกรรมเร่ งรัด
• กาหนดกฎระเบียบร่ วมสาหรับมาตรฐานและขั้นตอนการตรวจสอบรับรอง
• เริ่ มใช้ระบบการอานวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
ณ จุดเดียวในระดับประเทศ ในปี ค.ศ. 2012
• ทางเลือกสาหรับกรอบ/รู ปแบบการลดและเลิกตารางข้อจากัด/อุปสรรค
ทางการลงทุนเป็ นระยะ
• การดาเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอานวยความสะดวก
ในการขนส่ ง
โครงการเร่ งรัดในกรอบยุทธศาสตร์ ความเชื่อมโยงด้ านประชาชน
•
•
•
•
ลดขั้นตอนการตรวจลงตรา สาหรับบุคคลสัญชาติอาเซียน
การจัดตั้งศูนย์ทรัพยากรการเรี ยนรู ้เสมือนจริ งอาเซียน
การพัฒนามาตรฐานทักษะไอซีที
แผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
โครงการเร่ งรัดที่ไทยยังต้ องดาเนินการภายใต้ 3 ยุทธศาสตร์
– ด้ านกายภาพ: ทางรถไฟสายสิ งคโปร์ – คุนหมิง ซึ่งไทยยังต้องก่อสร้าง
ในส่ วนอรัญประเทศ – คลองลึก (6 กม.)
– ด้ านสถาบัน: เร่ งการจัดตั้งระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว
ให้สมบูรณ์ รวมทั้งการดาเนินการกระบวนการภายในเพือ่ ให้ปฏิบตั ิตาม
ความตกลงและพิธีสารต่าง ๆ ในด้านการค้า การลงทุน
และการบริ หารจัดการข้ามพรมแดน
– ด้ านประชาชน: การเร่ งเสริ มสร้างสานึกความเป็ นประชาคมอาเซียน อาทิ
การจัดทาหลักสู ตรการศึกษาอาเซียน การเรี ยนรู ้ภาษาอาเซียน การสร้าง
ความตระหนักถึงรากวัฒนธรรมเดียวกันของประชาชนในอาเซียน
ตามโครงการศูนย์ทรัพยากรการเรี ยนรู ้เสมือนจริ งอาเซียน
Thailand Wish list
1. เร่ งรัดการดาเนินการในเรื่ องของ Cross Border
Procedures, Single Window/Single-Stop Inspection
2. Complete Missing Links รวมถึงการบารุงรักษาถนน
อย่างเป็ นระบบ
3. สนับสนุนท่าเรื อทวาย
4. สนับสนุนการจัดตัง้ Dry Ports ในประเทศไทย
(ปั จจุบนั มีขึ ้นแล้ วที่ลาดกระบัง)
5. เร่ งรัดการจัดทา ASEAN Single Window/CBTA
Thailand Wish list
ผลักดันให้ ข้อตกลงต่างๆ ที่มีอยูแ่ ล้ วมีผลบังคับใช้
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ส่ งเสริมความมัน่ คงด้ านพลังงาน
ส่ งเสริมการเชื่อมโยงทางเทคโนโลยีโทรคมนาคมและ
การสื่อสาร (ICT)
10. ส่ งเสริมให้ มี People to People linkages รวมถึงด้ าน
การศึกษา การสร้ างความรู้ความเข้ าใจด้ านประวัติศาสตร์
การจัดทามาตรฐานวิชาชีพ และการท่องเที่ยว
6.
7.
8.
9.
ผลที่ประเทศไทยจะได้ รับ
• ประโยชน์ทางการค้า การเคลือ่ นไหวของสินค้า ประชาชน
โลจิสติกส์ ท่องเทีย่ ว
• เปลีย่ นจาก Transport Corridor เป็ น Economic Corridor
ด้วยการรองรับจากธุรกิจต่างๆ
• ดึงดูดการลงทุนต่างชาติเข้ามาในระบบสาธารณูปโภค
• ช่วยปูทางไปสูต่ ลาดในเอเชียตะวันออก จีนตอนใต้ และ
อินเดีย
• ความเชือ่ มโยงจะเป็ น Win-Win Solution สาหรับไทยและ
ASEAN
ประชาคมอาเซียน “ความฝั นหรือความจริง”
วัฒนธรรมประเพณี
สากล
ทัศนคติ
(mindset)
กฎหมาย
กฎข้ อบังคับ
กฎระเบียบ
มาตรฐาน
อาเซียน
ไทย
ประสิทธิภาพการบังคับใช้
การศึกษา
ผังเมือง
สิ่งแวดล้ อม
จานวน
นักท่องเที่ยว
- แรงงานต่างชาติ
-
หน่ วยงานที่รับผิดชอบโครงการต่ างๆ ภายใต้
ความเชื่อมโยงด้ านโครงสร้ างพืน้ ฐาน
กระทรวงคมนาคม
- กรมทางหลวง
- การรถไฟแห่งประเทศไทย
- กรมเจ้าท่า
- สานักนโยบายและแผนการขนส่ งจราจร
• กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
• กระทรวงพลังงาน
• ปตท.
• กฟผ.
• สศช.
หน่ วยงานที่รับผิดชอบโครงการต่ างๆ ภายใต้
ความเชื่อมโยงด้ านกฏระเบียบ
• กระทรวงคมนาคม
-
กรมการขนส่ งทางบก
การรถไฟแห่งประเทศไทย
กรมการบินพลเรื อน
กรมเจ้าท่า
•
•
•
•
•
•
กรมศุลกากร
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ/กรมการต้าต่างประเทศ
สานักงานมาตราฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
สตม.
สานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน
หน่ วยงานที่รับผิดชอบโครงการต่ างๆ ภายใต้
ความเชื่อมโยงด้ านประชาชน
• กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
• กระทรวงศึกษาธิการ
- สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
•
•
•
•
•
•
กระทรวงวัฒนธรรม
กระทรวงการต่างประเทศ
สตม.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
กระทรวงแรงงาน
กรมประชาสัมพันธ์