2. รศ. ดร. สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์

Download Report

Transcript 2. รศ. ดร. สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์

ขีดความสามารถในการแขงขั
่ น
“ดานการศึ
กษา” เมือ
่ เข้าสู่ AEC 2015
้
รศ. ดร. สุทธิพน
ั ธ์
จิ
ราธิวฒ
ั น์
ผู้อานวยการบริหารศูนยอาเซี
ยนศึ กษาแห่ง
์
จุฬาฯ
นวลพรรณ ธรรมมโนวานิช
รักษิณา
ศิ รท
ิ รัพย ์
เสกสรร
อานันทศิ รเิ กียรติ
24 สิ งหาคม 2555
มุงสู
่ ่ การเป็ น
ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน
ปี ๒๕๔๖ ผูน
้ าอาเซียน ลงนามในปฏิญญา
บาหลี (Bali Concord II) แสดงเจตนารมณ ์
การนาอาเซียนไปสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี
๒๕๖๓
ปี ๒๕๕๐ ผูน
้ าอาเซียนลงนามในปฏิญญา
เซบู เรงรั
้
่ ดการเป็ น ประชาคม ให้เร็วขึน
เป็ นปี ๒๕๕๘ (ค.ศ. ๒๐๑๕)
ปี ๒๕๕๐ รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนาม
รับรอง AEC Blueprint ซึง่ เป็ นแผนงานการ
จัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน “ASEAN
เมือ
่ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ผูน
้ าอาเซียนลง
ECONOMIC COMMUNITY (AEC)”
นามใน ASEAN Charter และ ปฏิญญาวา่
ดวยการจั
ดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
้
เพือ
่ ยืนยันเจตนารมณร์ วมกั
นดาเนินการให้
่
สาเร็จกาหนดในปี ๒๕๕๘
วัตถุประสงคของ
์
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Prosperity of the Region
Increasing employment and
external economy
Increasing consumption
Increasing investment and
income
Economic Expansion
การเปิ ดเสรีทางดานการศึ
กษา กับ
้
การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเปิ ดเสรี ก ารค้ าบริ ก ารด้ านการศึ กษา
เป็ นผลพวงหนึ่ ง จากกรอบความตกลงทาง
กฎหมายของความตกลงวาด
าบริ
การ
่ วยการค
้
้
(General Agreement on Trade-inService : GATS)
ซึ่งส่งผลให้ “อุดมศึ กษา” มีความหมายเป็ น
ส่ วนหนึ่ ง ของสิ นค้ าและบริก าร และเป็ น
ส า ข า ห นึ่ ง ใ น ร ะ บ บ ก า ร ค้ า ข า ย ร ะ ห ว่ า ง
ประเทศเทานั
่ ้น
การเปิ ดเสรีทางดานการศึ
กษา กับ
้
การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การรวมตัว เป็ นประชาคมอาเซีย นจะท าให้ การ
เคลือ
่ นย้ายกาลังคนนักศึ กษา บุคลากรทางการ
ศึ กษาเป็ นไปโดยสะดวกมากขึน
้ และการเปิ ดเสรี
การค้าบริการด้านการศึ กษาจะส่งผลให้เกิด การ
เคลือ
่ นย้ ายองค ความรู
์
้ ภาษา และวัฒ นธรรม
ระหวางกั
น ภาคอุดมศึ กษาจึงจาเป็ นต้องปรับตัว
่
การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย ์
ในเสาสั งคมและวัฒนธรรม
“อาเซียนจะส่งเสริมความเป็ นอยูและคุ
ณภาพ
่
ชีวต
ิ ทีด
่ ข
ี องประชาชน โดยประชาชนเขาถึ
้ ง
โอกาสอยางเที
ย
่ งธรรมในการพัฒนามนุ ษย ์
่
(Human Development) โดยส่งเสริมและ
ลงทุนในดานการศึ
กษาและการเรียนรูตลอด
้
้
ชีวต
ิ การฝึ กอบรมและการเสริมสรางขี
ด
้
ความสามารถ ส่งเสริมนวัตกรรมและการ
ประกอบการ ส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษ
เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตรเชิ
์ ง
ประยุกตและเทคโนโลยี
ในการดาเนินกิจกรรม
์
การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย ์
ในเสาสั งคมและวัฒนธรรม
A1. ให้ความสาคัญกับการศึ กษา
A2. การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย ์
A3. ส่งเสริมการจ้างงานทีเ่ หมาะสม
A4. ส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอซีท)ี
A5. การอ านวยความสะดวกในการเข้ าถึ ง
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เชิงประยุกต ์
์
A6. เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสาหรับ
สตรี เยาวชน ผูสู
้ งอายุ และผูพิ
้ การ
A7. พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ
ทีม
่ า: กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ,
แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน (3
่
เสา), (กรุงเทพฯ: คาริสมามี
่ เดีย, 2555), 133-139.
การปรับตัวของภาคการศึ กษาเพือ
่ รองรับ
การเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. เพิม
่ ขีดความสามารถ
• คุณภาพผู้สอน และผู้เรียน
• คุณภาพหลักสูตรการเรียนการสอน
2. ความรวมมื
อในการแลกเปลีย
่ นทางวิชาการ
่
• ระดับนักวิชาการ
• ระดับนิสิตนักศึ กษา
3. การแขงขั
่ นในการยกระดับมาตรฐานการศึ กษา
• Credit Transfer
• Quality Assurance (QA)
ความคาดหวังของ
ภาคมหาวิทยาลัยตอด
กษา
่ านการศึ
้
สั งคมไทยและ
สั งคมโลก
ฐานองคความรู
์
้
ภารกิจดานวิ
ชาการ
้
และการวิจย
ั
“ผลิตความรูที
้ ใ่ ช้
ภาค
มหาวิทยาลั
ย
ภาควิชาการ
ฐานบุคลากร
ภารกิจดานการพั
ฒนา
้
บุคลากร
“รู้ลึก รู้รอบ คิดเป็ น
รูปแบบและแนวทาง
การบูรณาการความรวมมื
อ
่
ทยาลัยอาเซียน
เครือขายมหาวิ
่
ASEAN UNIVERSITY NETWORK (AUN)
ทยาลัยอาเซียน
เครือขายมหาวิ
่
ASEAN UNIVERSITY NETWORK (AUN)
เครือขาย
่
มหาวิทยาลัยอาเซียน
(ASEAN University
Network)

วัตถุประสงคของ
์
AUN





ทิศทางของกิจกรรม
ภายใตเครื
้ อขาย
่



ก่ อตั้ง พ.ศ. 2538 โดยด าริ ข องผู้ น าประเทศ
สมาชิกอาเซียน
ประกอบดวย
26 มหาวิทยาลัยสมาชิก
้
AUN Charter
เพือ
่ ส่งเสริมความร่วมมือ และความเป็ นปึ กแผ่นของ
นักวิชาการในกลุมประเทศสมาชิ
กอาเซียน
่
เพื่อ พัฒ นาทรัพ ยากรบุ ค คลทางด้ านวิช าการและ
วิชาชีพในภูมภ
ิ าค
เพื่ อ ผลิต และส่ งผ่ านองค ์ความรู้ และข้ อมู ล ด้ าน
วิชาการเพือ
่ ให้ตอบสนองต่อวัตถุประสงคของกลุ
์
่ม
ประเทศอาเซียน
การประกัน คุ ณภาพการศึ ก ษา (AUN
Quality
Assurance)
การเคลือ
่ นยายนั
กศึ กษา (Student Mobility)
้
ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ท า ง วิ ช า ก า ร (Academic
ทยาลัยอาเซียน
เครือขายมหาวิ
่
ASEAN UNIVERSITY NETWORK (AUN)
AUN-QA (AUN-Quality Assurance)
ประเทศในกลุมอาเซี
ยนได้มีความรวมมื
อกันในเรือ
่ ง
่
่
การศึ กษา จึงมีการสร้าง AUN-QA เพือ
่ เทียบเคียง
สมรรถนะ (Benchmarking)
โดยเน้ นพัฒ นา
การศึ กษาอย่างก้ าวกระโดด มีก ารก าหนดตัว ชี้ว ด
ั
(Indicators) ตัวเดียวกันในการวัดหน่วยงาน ผาน
่
การศึ กษาจากหน่วยงานทีม
่ ป
ี ระสิ ทธิภาพ
ประเด็ นทีเ่ ป็ นจุ ดร่วมทีจ
่ ะเรียนรู้ซึ่งกันและกันจะเน้ น
ในเรื่อ ง วิจ ัย การบริก าร จริย ธรรม และการ
พัฒนาทรัพยากรมนุ ษย ์ (ในค.ศ.2002)
ASEAN CONNECTIVITY
อาเซียนไดออกแผนแม
บทในเรื
อ
่ งนี้โดยออกเอกสาร Master Plan
้
่
on ASEAN Connectivity ดานการเชื
่อมร้อยอาเซียนเข้าดวยกั
น
้
้
ในดานต
างๆ
และผู้นาอาเซียนในการประชุม ASEAN Summit
้
่
ครัง้ ที่ 17 ทีป
่ ระเทศเวียดนามไดลงนามใน
้
”ปฏิญญาฮานอย” (Hanoi Declaration)
ตามแผนแมบทเรื
อ
่ งการเชือ
่ มตออาเซี
ยนเข้าดวยกั
น ไดแบ
ิ อง
่
่
้
้ งมิ
่ ตข
การเชือ
่ มตอออกเป็
น 3 ประเภท
่
1. การเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) - การ
เชือ
่ มโครงขายคมนาคม
สารสนเทศ และพลังงานเข้าดวยกั
น
่
้
2. ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง ท า ง ก ฎ เ ก ณ ฑ ์ เ ชิ ง ส ถ า บั น ( institutional
connectivity) เรือ
่ งกฎหมาย กาแพงภาษี กฎระเบียบ เป็ น
ตน
้
ASEAN CONNECTIVITY
1. การเชือ
่ มโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity)
• ASEAN Highway Network (AHN)
• Singapore Kunming Rail Links (SKRL)
• ASEAN Broadband Corridor (ABC)
• Melaka-Pekan Baru Interconnection – (ASEAN Power
Grid IMT-GT)
• West Kalimantan-Sarawak Interconnection – (ASEAN
Power Grid BIMP-EAGA)
2. การเชือ
่ มโยงทางกฎเกณฑเชิ
์ งสถาบัน (Institutional
Connectivity)
• Mutual Recognition Arrangements (MRAs)
• Standards and Conformity assessment procedures
• National Single Window by 2012
people-to-people
connectivity
หลักการของ การเชือ
่ มโยงระหวางประชากรอาเซี
ยน (People่
to-people Connectivity) คือการส่งเสริมให้เกิดปฏิสัมพันธกั
์ น
ทางสั ง คม วัฒ นธรรม การศึ ก ษา การสร้ างเสริม ศั ก ยภาพ
รวมถึงการสนับสนุ นด้านการทองเที
ย
่ วผานการยกเว
่
่
้นด้านวีซ่า
เพือ
่ ให้เกิดการเคลือ
่ นย้ายบุคคล ซึง่ เหลานี
ื
ยุทธศาสตร ์
่ ้ค อ
สาคัญทีท
่ าให้ เกิด การเชื่อมโยงทัง้ สามเสาหลักของประชาคม
อาเซียน
โดยแผนแมบท
Master Plan on Connectivity ไดจ
่
้ าแนก
โครงการที่ ส าคัญ ภายใต้ การเชื่ อ มโยงระหว่ างประชากร
อาเซียน (people-to-people connectivity) ดังนี้
1. Easing visa requirements for ASEAN nationals
ดร.สุรน
ิ ทร ์ พิศสุวรรณ
เลขาธิการอาเซียน
24 กุมภาพันธ ์ 2555
“...อาเซียนนั้นเกิดจากปฏิญญากรุงเทพ เพราะฉะนั้น
อาเซี ย นจึ ง เป็ นมรดกทางภู ม ิปั ญ ญาของเราเอง...ผม
อยากให้พวกทานได
่
้ช่วยกันพัฒนาลูกหลานของเราให้
เป็ นทรัพยากรมนุ ษยที
่ ค
ี า่ เพือ
่ อาเซียนของเราทุกคน”
์ ม
Q&A
ขอบคุณครับ