เอกสาร ASEAN

Download Report

Transcript เอกสาร ASEAN

เรี ยนร้ ู ส่ ูประชาคมอาเซียน
โดย
ศูนย์ ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนสระบุรี
ASEAN SMART MOBILE UNIT
วัตถุประสงค์
 เพือ่ สร้ างการเรียนรู้ เกีย่ วกับประชาคมอาเซียน
แก่ บุคลากร ผู้นาชุมชน และสร้ างความตระหนัก
พร้ อมรับการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการเปิ ด
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในปี
พ.ศ.2558
ประเด็นเนือ้ หา
 ที่มาอาเซียน
 รู้ จักอาเซียน
 3 เสาหลัก
 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 ยุทธศาสตร์ ชาติ
ASEAN
?
สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Association of South East
Asian Nations
ASEAN เกิดจากอะไร
จุดเริ่มต้ นของอาเซียน
เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510
บ้ านเกิดอาเซียน
รมว.กต. อินโดนีเซีย (นายอาดัม มาลิก)
มาเลเซีย (ตุน อับดุล ราซัก บิน ฮุสเซน)
ฟิ ลิปปิ นส์ (นายนาซิโซ รามอส)
สิงคโปร์ (นายเอส ราชารัตนัม)
และไทย (พันเอก ถนัด คอมันตร์ )
ลงนาม ใน “ปฏิญญากรุ งเทพฯ”
(Bangkok Declaration)
Association of South East Asian Nations
อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
6
ปี 2540
ปี 2540
ปี 2510
ปี 2538
ปี 2510
ปี 2510
CAMBODIA
ปี 2542
ปี 2510
ปี 2510
6
ปี 2527
วัตถุประสงค์ของอาเซียน
ส่ งเสริมความเข้ าใจอันดีระหว่ างประเทศสมาชิก
ธารงสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคง
เสริมสร้ างเศรษฐกิจและความอยู่ดกี นิ ดีของประชาชน
พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม
ส่ งเสริมความร่ วมมือกับภายนอกและองค์ การระหว่ างประเทศ
วัตถุประสงค์ ใหม่
ต่อมา การค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้ารุ นแรง
ทาให้อาเซี ยนได้หนั มามุ่งเน้นกระชับและขยายความร่ วมมือด้าน
เศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์ 3 ประการ คือ
 ส่ งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรมในภูมิภาค
 รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค
 ใช้ เป็ นเวทีแก้ ไขปัญหาความขัดแย้ งภายในภูมิภาค
คาขวัญของอาเซียน
"One Vision, One Identity,
One Community"
" หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม "
วันอาเซียน
วันที่ 8 สิ งหาคมทุกปี
เป็ นวันอาเซียน
เพลง ASEAN Way
เพลงประจำอำเซียน
สัญลักษณ์ อาเซียน
สีนา้ เงิน สันติภาพและความมั่นคง
สีแดง ความกล้ าหาญและก้ าวหน้ า
สีเหลือง ความเจริญรุ่ งเรื อง
สีขาว ความบริสุทธิ์
รวงข้าว 10 ต้น คือ
10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็ นน้าหนึ่ งใจเดียว
วงกลม แสดงถึงความเป็ นเอกภาพ
ธงประจากล่ มุ อาเซียน
ธงคือสิ่ งที่แสดงถึงความมัน่ คง สันติภาพ ความเป็ นเอกภาพ
และพลวัติของอาเซียน และเป็ นที่มาของ สี ๔ สี
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)

การประชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย นครั ้ง ที่ 13 เมื่ อ 20 พ.ย. 2550
ผู้นาอาเซียนได้ ลงนามกฎบัตรอาเซียนซึ่งเป็ นเสมือนธรรมนูญ
ของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้ างองค์ กร
โดยมีเป้าหมาย 3 ประการ คือ
- มีกฎกติกาในการทางาน (Rules-based)
- มีประสิทธิภาพ
- มีประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง

มีผลใช้ บังคับเมื่อ 15 ธ.ค. 2551
หลักการของกฎบัตรอาเซียน
การตัดสินใจโดยใช้ ฉันทามติ (Consensus)
 การไม่ แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน
(Non-interference)
 การร่ วมมือเพื่อพัฒนาความเป็ นอยู่ของประชาชน
(Prosperity)

ประธานอาเซียน (President of ASEAN)
"ประธานอาเซียน“ ดารงตาแหน่ งวาระ 1 ปี โดยหมุนเวียนกันในประเทศสมาชิก
ตามลาดับตัวอักษร และประเทศทีเ่ ป็ นประธานอาเซียนจะรับตาแหน่ งประธานของกลไกของ
อาเซียนทุกตาแหน่ ง อาทิ ทีป่ ระชุ มสุ ดยอดอาเซียน ประธานผู้แทนถาวรประจาอาเซียน
ปี 2011 - อินโดนีเซีย (สลับวาระการเป็ นประธานอาเซียนกับบรู ไนดารุ สซาลาม)
ปี 2012 - กัมพูชา
ปี 2013 - บรู ไนดารุ สซาลาม
ปี 2014 - ลาว
ปี 2015 - มาเลเซีย
ปี 2016 - พม่ า
ปี 2017 - ฟิ ลิปปิ นส์
ปี 2018 - สิ งคโปร์
ปี 2019 - ไทย
ปี 2020 - เวียดนาม
เลขาธิการอาเซียน
(Secretary-General of ASEAN)
นายเลเลืองมีง (Lê Lương Minh) ประเทศเวียตนาม
วาระ 5 ปี ตัง้ แต่ ปี 2556-2560
สานักเลขาธิการอาเซียน
ตัง้ อยู่ท่ กี รุ งจาการ์ ตา ประเทศอินโดนีเซีย
อาเซียน +3
อาเซียน +6
ความร่ วมมือด้ านเศรษฐกิจและการค้ าระหว่ างกลุ่ม
ประเทศอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศใหญ่
คือ จีน เกาหลีใต้ และญีปุ่น
เพิม่ ประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศ คือ
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย
โอกาสของประชาคมอาเซียน
ประชากร - 600 ล้ านคน
>
GDP รวม 1.5 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรั ฐ
=
การค้ ารวม 1.61 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรั ฐ =
การลงทุนโดยตรง 50 พันล้ านเหรี ยญสหรั ฐ =
การท่ องเที่ยวระหว่ างประเทศ 65ล้ านคน =
พืน้ ที่- 4.5 ล้ าน ตาราง กม.
ศาสนาหลัก- อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู
สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้
6 เท่ าของไทย
60% ของจีน
อันดับ 2 ของโลก
ประโยชน์ จากการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน
1. กลไกสร้ างพันธมิตร และความเป็ นปึ กแผ่ น ตลอดจน
เสียรภาพและสันติภาพภายในภูมิภาค รวมทัง้ ช่ วยระงับ
ความขัดแย้ งในภูมิภาค
2. กรอบความร่ วมมือเพื่อร่ วมแก้ ไขปั ญหาความท้ าทายทาง
เศรษฐกิจ และปั ญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ (ปั ญหา
อาชญากรข้ ามชาติ การบริหารจัดการภัยพิบัติ)
3. พัฒนาศักยภาพของประเทศในอาเซียน รองรับต่ อความ
เปลี่ยนแปลงในโลก
4. พัฒนาความสัมพันธ์ ระหว่ างอาเซียนกับประเทศอื่นๆ
ความสาคัญของอาเซียนต่ อไทย





เป็ นพันธมิตรทางการเมืองของไทยในเวทีการเมืองระหว่ าง
ประเทศ เพิ่มอานาจต่ อรอง
เป็ นคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทยตัง้ แต่ ปี 2545 คิดเป็ น ร้ อยละ 20
– 24 ของมูลค่ าการค้ าทัง้ หมดของไทย
ในปี 2554 มูลค่ าการค้ ากับอาเซียนเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 8 เมื่อ
เทียบกับปี 2553
ปี 2554 นักท่ องเที่ยวจากอาเซียนเดินทางมาประเทศไทยใน
สัดส่ วนมากกว่ า ร้ อยละ 25 ของนักท่ องเที่ยวทัง้ หมด
ไทยได้ เปรียบดุลการค้ ามากกว่ า 1 หมื่นล้ านดอลลาร์ สหรัฐ
ต่ อปี
สาคัญอย่ างไรกับคนไทย
• ข้ อตกลงทุกข้ อนั้น
• ทุกประเทศต้ องปฏิบัตติ ามทั้งในด้ าน
เศรษฐกิจ สั งคมและการเมือง
• ประเทศใดในอาเซียนปฏิบัติไม่ ได้ ตาม
ข้ อตกลง ต้ องยอมรับและสละสิ ทธิ์น้ัน
ต้ นกาเนิดเสาประชาคมอาเซียน
• ผูน้ ากลุ่มประเทศอาเซี ยนจึงได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วย
ความร่ วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรื อ
Bali Concord II)
• เห็นชอบให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN
Community: AC) ภายใน ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563)
• โดยประชาคมดังกล่าว ประกอบด้วย 3 เสาหลัก (Pillars)
เข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน
วันที่ 31 ธันวาคม 2558
3 เสาหลัก ได้ แก่
1.ประชาคมการเมืองและความมัน
่ คงอาเซียน
(ASEAN Political Security Community: APSC)
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community: AEC)
3. ประชาคมสั งคม-วัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-cultural Community: ASCC)
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
(ASEAN Political-Security Community: APSC)
APSC Blueprints
สร้ างบรรทัดฐานร่ วมกันในด้ านต่ างๆ เช่ น
 ส่ งเสริมสั นติภาพและความมั่นคง อยู่ร่วมกันโดยสั นติ
 แก้ ไขปัญหาข้ อขัดแย้ งโดยสั นติวธิ ี
 สร้ างกฎเกณฑ์ ค่านิยมร่ วมกันด้ านประชาธิปไตยสิ ทธิมนุษยชน ธรรมาภิบาล
 ความรับผิดชอบร่ วมกันในการสร้ างความมั่นคงทีค
่ รอบคลุมรอบด้ าน เช่ น
โรคระบาด ภัยพิบัติธรรมชาติ การต่ อต้ านการก่อการร้ าย อาชญากรรมข้าม
ชาติการลักลอบเข้ าเมืองผิดกฎหมาย
 แผนงานการสร้ างประชาคมความมั่นคง (APSC Blueprint) ได้ รับ
การรับรองในทีป่ ระชุ มสุ ดยอดอาเซียนครั้งที่ 14 ปี 2552 ที่ ชะอา-หัวหิน
ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN
Socio-Cultural Community–ASCC)
Blueprints : ASCC
เพื่อยกระดับคุณภาพชีวต
ิ ของประชาชน
 เสริ มสร้ างอัตลักษณ์ ทางวัฒนธรรมของอาเซียน
 สร้ างประชาสังคมที่เอือ้ อาทร ส่ งเสริ มความยั่งยืนเรื่ องสิ่งแวดล้ อม
 ส่ งเสริ มความเข้ าใจระหว่ างประชาชนในระดับรากหญ้ า
 สร้ างความพร้ อมของอาเซียนเพื่อรั บมือกับความท้ าทายทางสังคมที่
เพิ่มขึน้ อาทิ ปั ญหาความยากจนและความเหลื่อมลา้ ยาเสพติด ภัย
พิบัตทิ างธรรมชาติ สิ่งแวดล้ อม โรคระบาดและโรคติดต่ อร้ ายแรง
การศึกษาและทรัพยากรมนุษย์
 ประเด็นข้ ามชาติ : การทาให้ อาเซียนเป็ นเขตปลอดยาเสพติดภายในปี
2558 / การเคลื่อนย้ ายถิ่นฐานของประชากร /ปั ญหามลพิษหมอกควัน /
ปั ญหาไข้ หวัดนก / ไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่

ประชาคมเศรษฐกิจ
Free Flows of Goods,
Free Flow of Capital,
Free Flows of Services,
Free Flows of Investment and Skilled labors
ประชาคมเศรษฐกิจ AEC
Blueprint
1. การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน
2. การเป็ นภูมภิ าคทีม่ ขี ดี ความสามารถในการแข่ งขันสู ง
3. การเป็ นภูมภิ าคทีม่ กี ารพัฒนาทางเศรษฐกิจทีเ่ ท่าเทียมกัน
4. การเป็ นภูมภิ าคทีม่ กี ารบูรณาการเข้ ากับเศรษฐกิจโลก
4 ยุทธศาสตร์ ฯ ตามพันธกรณี : AEC
2.สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
1. เป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว
เคลื่อนย้ ายสินค้ าเสรี
เคลื่อนย้ ายบริการอย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายการลงทุนอย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
ความมั่นคงด้ านอาหาร เกษตร ป่ าไม้
AEC
ปี 2015
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
ลดช่องว่างการพัฒนา
ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่
สนับสนุนการพัฒนา SMEs
e-ASEAN
นโยบายภาษี
นโยบายการแข่งขัน
สิทธิทรัพย์สนิ ทางปัญญา
การคุ้มครองผู้บริโภค
พัฒนาโครงสร้ างพื้นฐาน
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
Blueprints AEC สร้ างเครือข่ายการผลิต จาหน่าย
จัดทา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
33
33
การส่ งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน
(ASEAN Connectivity)
การสร้ างให้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีความสามารถใน
การแข่ งขันมากขึน้
 ส่ งเสริ มให้ ประชาชนอาเซียนสามารถไปมาหาสู่กันได้ ง่ายขึน
้
 เป็ นพืน
้ ฐานสาหรับการสร้ างความเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่น ๆ
รวมทัง้ เอเชียตะวันออก
 มีทงั ้ การเชื่อมโยงด้ านโครงสร้ างพืน
้ ฐาน การคมนาคม
กฎระเบียบต่ าง ๆ และการปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างประชาชน

การส่ งเสริมความเชื่อมโยงด้ านประชาชน
ส่ งเสริมความเข้ าใจด้ านสังคมและวัฒนธรรมภายในอาเซียนให้
ลึกซึง้ ยิ่งขึน้
-
จัดตัง้ ศูนย์ ทรัพยากรการเรียนรู้เสมือนจริงในด้ านประชาชน วัฒนธรรม
ประวัตศิ าสตร์ และเศรษฐกิจ ภายในปี 2012
สนับสนุนการสร้ างหลักสูตร เนือ้ หา สื่อการสอนเกี่ยวกับอาเซียน ภายใน
ปี 2012 และสนับสนุนการเรียนภาษาอาเซียนเป็ นภาษาที่สาม
ส่ งเสริมการรับรู้เกี่ยวกับอาเซียนตามแผนการสื่อสาร และความเข้ าใจ
อันดีในวัฒนธรรมและประวัตศิ าสตร์ ร่วมกันของอาเซียน
สนับสนุนการระดมทุนเพื่อเสริมสร้ างศักยภาพของอาเซียนร่ วมกัน
ภายในปี 2013
การส่ งเสริมความเชื่อมโยงด้ านประชาชน
ส่ งเสริมการเคลือ่ นย้ ายของประชาชนในอาเซียนให้ เพิม่ ขึน้
-
-
ศึกษาความเป็ นไปได้ ในการเปิ ดเสรี ข้ อจากัดในการตรวจลงตราและจัดตั้ง
ช่ องทางฯ สาหรับผู้สัญชาติอาเซียน และผ่ อนปรนสาหรับนักท่ องเทีย่ ว
พัฒนาบริการทางการท่ องเที่ยวร่ วมกัน
พัฒนามาตรฐานทักษะ ฝึ กอบรมวิชาชีพและเทคโนโลยี โดยแลกเปลีย่ นแนว
ปฏิบัติที่เป็ นเลิศร่ วมกัน ทาข้ อตกลงร่ วมกันสาหรับการรับรองฝี มือด้ าน ICT
ส่ งเสริมการเคลือ่ นย้ ายแรงงานฝี มือ ปฏิบัติตามปฏิญญาอาเซียนเรื่องการ
คุ้มครองและส่ งเสริมสิ ทธิแรงงานข้ ามชาติ ศึกษาโครงการนาร่ องการจัดตั้ง
เครือข่ ายการเคลือ่ นย้ ายแรงงานฝี มือของอาเซียน ภายในปี 2015
สร้ างความเข้ มแข็งให้ เครือข่ ายบริการทางสั งคมและองค์ กรด้ านสวัสดิการสั งคม
แนวทางการพัฒนา 9 แนวทาง
1.พัฒนาความเชื่อมโยงด้ านการขนส่ ง และระบบโลจิศติกส์ ภายใต้ กรอบ
ความร่ วมมือในอนุภมู ิภาคต่ าง ๆ
2.พัฒนาฐานลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่ งขันในระดับอนุ
ภูมิภาคและภูมิภาคอาเซียน
3.สร้ างความพร้ อมในการเข้ าสู่ประชาคมอาเซียน
4.เข้ าร่ วมเป็ นภาคีความร่ วมมือระหว่ างประเทศ ระหว่ างภูมิภาคโดยมี
บทบาทที่สร้ างสรรค์ เพื่อเป็ นทางเลือกในการดาเนินนโยบายระหว่ าง
ประเทศในเวทีโลก
5.สร้ างความเป็ นหุ้นส่ วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคด้ านการพัฒนาทรั พยากร
มนุษย์ การเคลื่อนย้ ายแรงงาน และการส่ งเสริมแรงงานไทยใน
ต่ างประเทศ
แนวทางการพัฒนา 9 แนวทาง
6.มีส่วนร่ วมอย่ างสาคัญในการป้องกันภัยจากการก่ อการร้ ายและ
อาชญากรรม ยาเสพย์ ตดิ ภัยพิบัติ และการแพร่ ระบาดโรคภัย
7.เสริมสร้ างความร่ วมมือที่ดีระหว่ างประเทศในการสนับสนุนการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่ างมีจริยธรรมและไม่ ส่งผลกระทบต่ อ
สิ่งแวดล้ อม
8.ผลักดันการจัดทาความตกลงการค้ าเสรีและวางแนวทางป้องกันผลเสียที่
จะเกิดขึน้
9.การส่ งเสริมให้ นักลงทุนต่ างชาติใช้ ประเทศไทยเป็ นฐานธุรกิจในภูมิภาค
เอเชีย และการสนับสนุนบทบาทขององค์ กรระหว่ างประเทศที่ไม่
แสวงหากาไร
10.ปรับปรุ งและเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของภาคีการพัฒนาภายในประเทศ
ตัง้ แต่ ระดับชุมชนท้ องถิ่น
ภารกิจเร่ งด่ วน
การเตรียมความพร้ อมภายในประเทศ
- เพื่อผลักดันการมีบทบาทนาในอาเซียน
- ให้ ไทยได้ รับประโยชน์ สูงสุดและลดผลกระทบ
การเตรียมความพร้ อม
ส่ วนราชการ
การ
ดาเนินการ
อย่ างเข้ มข้ น
เพื่อสร้ าง
ประชาคม
และในการ
มี
ปฏิสัมพันธ์
กับภายนอก
มี Asean unit
ในหน่ วยงาน
เพื่อรองรั บ
ประชาคม
อาเซียน
Incentives &
Alignment
ผลักดันยุทธศาสตร์ ความ
ร่ วมมือในกรอบอาเซียนตาม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่ งชาติฉบับที่ 11
ฝึ กอบรม
ข้ าราชการ/
บุคลากรของ
รัฐ
ให้ มีความ
พร้ อม
การสร้ างความ
ตระหนักรู้และเตรี ยม
ความพร้ อม
ในภาค
การศึกษา
ในภาค
ประชาชน
45
สิ่งที่ตอ้ งดำเนินกำร
1.
2.
3.
4.
5.
6.
สร้ำงควำมตระหนัก ไม่ใช่ ตระหนก และรับร ้ ู เข้ำใจ
ถึงที่มำและวัตถ ุประสงค์ของอำเซียนและประชำคม
อำเซียน
เรียนรูว้ ่ำอำเซียนและประชำคมอำเซียนประกอบด้วย
กลไกอะไรบ้ำง
หน่วยงำนของตนเข้ำไปเกี่ยวข้องกับกลไกในอำเซียน
และประชำคมอำเซียน(เสำใดเสำหนึ่ง)อะไรบ้ำง
หน่วยงำนของตนเข้ำไปรับผิดชอบในแผนงำน
อะไรบ้ำงของอำเซียนและเสำของประชำคมอำเซียน
กำหนดนโยบำย ย ุทธศำสตร์ และแผนงำน/
โครงกำร ในกำรดำเนินกำรใด ๆ (ข้อ 3 และข้อ 4)
รวมทัง้ มอบหมำยหน่วยงำนภำยในรับผิดชอบ
มีระบบกำรติดตำมและประเมินผล
สิ่งที่ตอ้ งดำเนินกำร
7.
8.
9.
10.
จัดให้มีหน่วยงำน/บ ุคลำกรรับผิดชอบ
ส่งเสริม สนับสน ุน และติดตำมกำรดำเนินกำร
ตำมข้อ 5 เพื่อรำยงำนควำมคืบหน้ำต่อ
รัฐบำล
หน่วยงำนต้องพัฒนำทักษะพื้นฐำน
(ภำษำอังกฤษ กำรประช ุมในเวทีระหว่ำง
ประเทศ กำรเจรจำต่อรอง กำรใช้เทคโนโลยี
สำรสนเทศ ฯลฯ) อย่ำงต่อเนื่องทัง้ โดย
สำนักงำน ก.พ. หรือจัดขึ้นเอง
บริหำรจัดกำรภำรกิจของหน่วยงำนให้มี
ประสิทธิภำพประสิทธิผล ได้มำตรฐำน
ดำเนินงำนท ุกเรือ่ งที่เกี่ยวข้องแม้หลังปี 2558
ประเด็นท้ าทายของอาเซียน
ความแตกต่ าง
ด้ านเชือ้ ชาติ ศาสนา
ระดับการพัฒนา
ความตระหนักรู้ และ
การมีส่วนร่ วม
ของประชาชน
การพัฒนา
โครงสร้ างสถาบัน
การแข่ งขันของมหาอานาจ
สหรั ฐ รั สเซีย จีน อินเดีย
ญี่ปุ่น
ประชำคม
อำเซียน
ผลประโยชน์ แห่ งชาติ
VS ภูมภิ าค
ขาดความไว้ เนือ้ เชื่อใจ
ความขัดแย้ งใน
ประวัตศิ าสตร์
ตัวเรานี้...
พร้ อมหรือยัง...