Corporate Social Responsibility (CSR) Corporate Social Responsibility (CSR) การดาเนินกิจกรรมภายในและภายนอกองค์กร ที่คานึงถึงผลกระทบต่อสังคมทังในระดั ้ บใกล้ และไกล ด้ วยการใช้ ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นองค์กร หรื อทรัพยากรจากภายนอกองค์กร ในอันที่จะทาให้ อยูร่ ่วมกันในสังคมได้ อย่างเป็ นปกติสขุ.

Download Report

Transcript Corporate Social Responsibility (CSR) Corporate Social Responsibility (CSR) การดาเนินกิจกรรมภายในและภายนอกองค์กร ที่คานึงถึงผลกระทบต่อสังคมทังในระดั ้ บใกล้ และไกล ด้ วยการใช้ ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นองค์กร หรื อทรัพยากรจากภายนอกองค์กร ในอันที่จะทาให้ อยูร่ ่วมกันในสังคมได้ อย่างเป็ นปกติสขุ.

Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility
(CSR)
การดาเนินกิจกรรมภายในและภายนอกองค์กร
ที่คานึงถึงผลกระทบต่อสังคมทังในระดั
้
บใกล้ และไกล
ด้ วยการใช้ ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นองค์กร
หรื อทรัพยากรจากภายนอกองค์กร
ในอันที่จะทาให้ อยูร่ ่วมกันในสังคมได้ อย่างเป็ นปกติสขุ
CSR
ที่มา
รูปแบบพืน้ ฐานของหลักการ CSR
• ในปี ๒๕๔๒ เลขาธิการ
สหประชาชาติ เรี ยกร้ องในการ
ประชุม World Economic
Forum ให้ องค์กรธุรกิจในทุก
ประเทศแสดงความเป็ นพลเมืองที่ดี
ของโลก โดยการทาธุรกิจอย่างเคารพ
สิทธิมนุษยชน มีมาตรฐานแรงงาน
รักษาสิง่ แวดล้ อม และต่อต้ านการ
ทุจริต แนวคิดนี ้เรี ยกว่า “The UN
Global Compact”
• ไม่มีรูปแบบหรื อแบบแผนตายตัว
• ไม่มีข้อกาหนดหรื อรายละเอียดในวิธี
ปฏิบตั ิ
• องค์กรที่สนใจ ต้ องพิจารณากาหนด
รูปแบบและรายละเอียดในวิธีปฏิบตั ิ
ที่เหมาะสมกับองค์กรของตน
• ต้ องคานึงถึงประเด็นหลักของ
“The UN Global
Compact”
CSR
• Corporate มุง่ หมายถึงกิจการที่ดาเนินไปเพื่อแสวงหาผลกาไร
• Social มุง่ หมายถึงกลุม่ คนที่มีความสัมพันธ์กนั หรื อมีวิถีร่วมกันทังโดย
้
ธรรมชาติหรื อโดยเจตนา รวมถึงสิง่ มีชีวิตอื่นและสิง่ แวดล้ อมที่อยูร่ าย
รอบประกอบ
• Responsibility มุง่ หมายถึงการยอมรับทังผลที
้ ่ไม่ดีและผลที่ดีใน
กิจกรรมที่ได้ ทาลงไปหรื อที่อยูใ่ นความดูแลของกิจการนันๆ
้ ตลอดจน
การรับภาระหรื อเป็ นธุระดาเนินการป้องกันและปรับปรุงแก้ ไขผลที่ไม่ดี
รวมถึงการสร้ างสรรค์และบารุงรักษาผลที่ดีซงึ่ ส่งกระทบไปยังผู้มีสว่ นได้
เสียกลุม่ ต่างๆ
• กิจกรรม หมายรวมถึง การคิด การพูด และการกระทา ซึง่ ครอบคลุม
ตังแต่
้ การวางแผน การตัดสินใจ การสื่อสารประชาสัมพันธ์ การบริหาร
จัดการ และการดาเนินงานขององค์กร
• สังคม ในความหมายของความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ จะมุง่ ไป
ที่ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียนอกองค์กร ซึง่ สามารถแบ่งออกได้ เป็ น 2 ระดับ ได้ แก่
สังคมใกล้ และสังคมไกล
• สังคมใกล้ คือ ผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้ องใกล้ ชิดกับองค์กรโดยตรง ได้ แก่ ลูกค้ า
คูค่ ้ า ครอบครัวของพนักงาน ชุมชนที่องค์กรตังอยู
้ ่ ซึง่ รวมถึงสิง่ แวดล้ อม
หรื อระบบนิเวศ
• สังคมไกล คือ ผู้ที่เกี่ยวข้ องกับองค์กรโดยอ้ อม ได้ แก่ คูแ่ ข่งขันทางธุรกิจ
ประชาชนทัว่ ไป เป็ นต้ น
สังคมใกล้
• ในระดับของลูกค้ า
– การสร้ างผลิตภัณฑ์ที่เน้ นคุณค่ามากกว่ามูลค่า
– ความรับผิดชอบในผลิตภัณฑ์ตอ่ ผู้บริ โภค
– การให้ ข้อมูลขององค์กรและตัวผลิตภัณฑ์อย่างเพียงพอและอย่างถูกต้ อง
เที่ยงตรง
– มีการให้ บริ การลูกค้ าอย่างตรงไปตรงมา
• ในระดับของคูค่ ้ า
– การแบ่งปั นหรื อการใช้ ทรัพยากรร่วมกันหรื อการรวมกลุม่ ในแนวดิ่งตามสาย
อุปทาน
– ความรอบคอบระมัดระวังในการผสานประโยชน์อย่างเป็ นธรรม ไม่เอารัดเอา
เปรี ยบต่อคูค่ ้ า เป็ นต้ น
สังคมใกล้
• ในระดับของชุมชนและสภาพแวดล้ อม
– สงเคราะห์เกื ้อกูลชุมชนที่องค์กรตังอยู
้ ่
– การส่งเสริ มแรงงานท้ องถิ่นให้ มีโอกาสในตาแหน่งงานต่างๆ ในองค์กร
– การระแวดระวังในการดาเนินงานที่อาจส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อม
– การเปิ ดเผยข้ อมูลการดาเนินงานที่อาจส่งผลกระทบต่อชุมชนที่องค์กร
ตังอยู
้ ่
– การเรี ยนรู้วฒ
ั นธรรมท้ องถิ่นเพื่อการอยูร่ ่วมกันอย่างปกติสขุ เป็ นต้ น
สังคมไกล
• ในระดับของประชาสังคม
– การสร้ างความร่วมมือระหว่างกลุม่ หรื อเครื อข่ายอื่นๆ ในการพัฒนา
สังคม
– การตรวจตราดูแลมิให้ กิจการเข้ าไปมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับการล่วงละเมิด
สิทธิมนุษยชน
– การรับฟั งข้ อมูลหรื อทาประชาพิจารณ์ตอ่ การดาเนินกิจการที่สง่ ผล
กระทบต่อสังคมโดยรวม
– การทาหน้ าที่ในการเสียภาษี อากรให้ รัฐอย่างตรงไปตรงมา
• ในระดับของคูแ่ ข่งขันทางธุรกิจ
– การดูแลกิจการมิให้ มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับการแข่งขันด้ วยวิธีการทุม่ ตลาด
– การดาเนินงานในทางต่อต้ านการทุจริ ต รวมทังการกรรโชก
้
และการให้
สินบนในทุกรูปแบบ
สถานการณ์
CSR
ในประเทศไทย
• แนวคิดและทฤษฎีทางธุรกิจที่ได้ รับการปลูกฝั งและถ่ายทอดสูอ่ งค์กรโดย
ส่วนใหญ่ ล้ วนมุ่งไปที่การพัฒนาให้ เป็ นองค์กรที่ “เก่ง”
• แนวคิดในเรื่ อง CSR จะมุ่งไปที่การสร้ างให้ องค์กรมีความ “ดี” ที่ก่อให้ เกิด
ความยัง่ ยืนของกิจการ เป็ นแนวคิดที่มีรากฐานมาจากหลักคุณธรรม
• แนวคิด CSR เกิดขึ ้นพร้ อมกับธุรกิจในสังคมไทยมาเป็ นเวลายาวนานแล้ ว
เพียงแต่คนไทยยังมิได้ เรี ยกกิจกรรมเหล่านี ้ด้ วยคาว่า CSR
• กิจการหลายแห่งดาเนินการ CSR ไปแล้ วในขณะที่กิจการอีกเป็ นจานวนมาก
สนใจแต่ยงั ขาดความรู้ความเข้ าใจ
• กิจการหลายแห่ง หลายขนาด ทา CSR อยูแ่ ต่สงั คมไม่ทราบ หรื อบางครัง้
กิจการเองก็ไม่ทราบว่าทา CSR มานานแล้ ว
• กิจการบางแห่งทา CSR เพื่อกลบเกลื่อนความไม่ดีของตนเอง เรี ยกว่า CSR
เทียม และมีอีกมากที่ทากิจกรรมเพื่อประโยชน์สงั คมโดยไม่หวังผลประโยชน์
เรี ยกว่า CSR แท้
แนวทางการขับเคลื่อน CSR ในประเทศไทย
• กลุม่ กิจการที่เป็ นผู้นาในการดาเนินการ CSR ต้ องส่งเสริมให้ มีการพัฒนากิจกรรม การ
ติดตามและการรายงานผล
• กลุม่ กิจการที่มีการทา CSR ควบคูไ่ ปกับการดาเนินธุรกิจ มีการลองผิดลองถูก แต่ยงั ขาด
ทิศทางที่แน่ชดั ว่า กิจกรรม CSR หลักๆ ที่องค์กรควรทาคืออะไร กิจการในกลุม่ นี ้ จะต้ อง
สร้ างศักยภาพให้ สามารถวิเคราะห์จดุ แข็งจุดอ่อน สามารถจัดทาแผนที่กลยุทธ์ด้าน CSR
• กลุม่ กิจการที่สนใจและกาลังศึกษาทาความรู้ความเข้ าใจเรื่ อง CSR จะต้ องให้ หลักการ
แนวทาง หรื อคูม่ ือในการดาเนินกิจกรรม CSR อย่างถูกต้ องและอย่างมีกลยุทธ์ เพื่อจะได้
สามารถริเริ่มพัฒนากิจกรรม CSR แท้ ควบคูไ่ ปกับการดาเนินธุรกิจ สร้ างให้ เกิดเป็ น
ภูมิค้ มุ กันทางธุรกิจ ไม่หลงไปกับการพัฒนากิจกรรม CSR เทียมเพียงเพื่อหวัง
ภาพลักษณ์ทางธุรกิจ
ประโยชน์ของ C S R
• ราคาหุ้นขององค์กรมีเสถียรภาพและเป็ นที่ต้องการของนักลงทุน เป็ น
โอกาสที่องค์กรสามารถเข้ าถึงแหล่งทุนได้ เพิ่มมากขึ ้น
• พนักงาน เกิดความภาคภูมิใจในการทางานร่วมกับองค์กร
• สร้ างรายได้ และส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ ้น
• ลดรายจ่ายของกิจการ
• การวางตาแหน่งตราผลิตภัณฑ์ (Brand Positioning) ให้ อยูใ่ นใจของ
ลูกค้ าเป็ นอันดับต้ นๆ
• เสริมภาพลักษณ์องค์กร
องค์กรของท่านจะตอบรับกับ CSR ได้อย่างไร (Responsive CSR)
• การปฏิบตั ิตวั เป็ นบรรษัทพลเมืองที่ดี (Good Corporate Citizen) และนาความเก่ง
ออกไปสร้ างประโยชน์ให้ กบั สังคม
• เชื่อมร้ อยกิจกรรมทางธุรกิจให้ มีสว่ นประสมของความรับผิดชอบทางสังคมอย่างเป็ น
เนื ้อเดียวกัน การบรรเทาผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ ้นหรื อที่คาดว่าจะเกิดขึน้ จากกิจกรรม
ทางธุรกิจ
• ริเริ่มดาเนินงาน CSR โดยมีมมุ มองของผู้มีสว่ นได้ เสียที่อยูภ่ ายนอกองค์กร (Outside-In)
• ศึกษามาตรฐานหรื อข้ อกาหนดที่เกี่ยวข้ อง แล้ วนามาปฏิบตั ิเพื่อปรับให้ เข้ ามาตรฐาน
(Standardization) อันเป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไป
• กิจการต้ องได้ ชื่อว่าเป็ นบรรษัทพลเมืองที่มีความรับผิดชอบในการแก้ ไขปั ญหาหรื อ
ผลกระทบที่เกิดขึ ้นจากการดาเนินงาน และได้ รับการยอมรับให้ เป็ นสมาชิกหนึง่ ใน
สังคมนันๆ
้ (Inclusiveness)
กลุ่มกิจกรรมของ CSR
• CSR-after-process
มักใช้ คาในภาษาไทยว่า "กิจกรรมเพื่อสังคม" คือ การดาเนินกิจกรรม
ขององค์กรธุรกิจที่แสวงหากาไร เพื่อสร้ างให้ เกิดประโยชน์แก่สงั คมใน
ด้ านต่างๆ โดยกิจกรรมที่ดาเนินการนันมั
้ กแยกต่างหากจากการดาเนิน
ธุรกิจหรื อกิจกรรมหลักของกิจการและเกิดขึ ้นภายหลัง เช่น การแก้ ไข
เยียวยาชุมชนที่ได้ รับผลกระทบทางมลพิษจากการประกอบการ การ
แจกจ่ายสิง่ ของช่วยบรรเทาสาธารณภัย การเป็ นอาสาสมัครช่วย
บาเพ็ญสาธารณประโยชน์ ซึง่ กิจกรรมเพื่อสังคมเหล่านี ้มักเป็ นกิจกรรม
ที่อยูน่ อกเหนือเวลาทางานตามปกติ
กลุ่มกิจกรรมของ CSR
• CSR-in-process
ปั จจุบนั มักเรี ยกกันว่า "ธุรกิจเพื่อสังคม" คือ การดาเนินความ
รับผิดชอบต่อสังคมที่อยูใ่ นกระบวนการทางานหลักของกิจการ หรื อเป็ น
การทาธุรกิจที่หากาไรอย่างมีความรับผิดชอบ เช่น การป้องกันหรื อ
กาจัดมลพิษในกระบวนการผลิตเพื่อไม่ให้ สง่ ผลกระทบต่อชุมชน การ
ผลิตสินค้ าและบริการที่มีคณ
ุ ภาพและได้ มาตรฐานตามข้ อกาหนดใน
ฉลากผลิตภัณฑ์ การเปิ ดเผยข้ อมูลผลิตภัณฑ์อย่างถูกต้ องครบถ้ วนต่อ
ผู้บริโภค การชดเชยความเสียหายให้ แก่ลกู ค้ าที่เกิดจากความผิดพลาด
และความบกพร่องของพนักงาน ซึง่ การดาเนินความรับผิดชอบเหล่านี ้
ถือเป็ นกิจกรรมที่อยูใ่ นเวลาทางานปกติของกิจการ
กลุ่มกิจกรรมของ CSR
• CSR-as-process
อาจเรี ยกว่าเป็ น "กิจการเพื่อสังคม" เพื่อให้ แตกต่างจากสองจาพวก
ข้ างต้ นที่เป็ นบทบาทขององค์กรธุรกิจโดยตรง กิจการในจาพวกที่สามนี ้
มักเป็ นองค์กรที่ดาเนินงานโดยไม่แสวงหากาไรให้ แก่ตนเอง
เป็ นหน่วยงานที่ก่อตังขึ
้ ้นเพื่อยังประโยชน์ให้ แก่สงั คมในทุกกระบวนการ
ของกิจการ ตัวอย่างของกิจการที่อาจจัดอยูใ่ นข่ายนี ้ ได้ แก่ มูลนิธิ
องค์กรสาธารณประโยชน์ องค์กรประชาชน และส่วนราชการต่างๆ
ชนิดของกิจกรรมซีเอสอาร์
•
•
•
•
•
•
การส่งเสริมการรับรู้ประเด็นปั ญหาทางสังคม (Cause Promotion)
การตลาดที่เกี่ยวโยงกับประเด็นทางสังคม (Cause-Related Marketing)
การตลาดเพื่อมุง่ แก้ ไขปั ญหาสังคม (Corporate Social Marketing)
การบริจาคเพื่อการกุศล (Corporate Philanthropy)
การอาสาช่วยเหลือชุมชน (Community Volunteering)
การประกอบธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคม (Socially Responsible Business
Practices)
CSR : คือ "การลงทุน" หรื อ "การทาบุญ"
• การ “ทาบุญ” มีความหมายกว้ างกว่าทาน
• การทาบุญ หมายรวมถึง การทาความดี การช่วยเหลือเกื ้อกูลผู้ที่ด้อย
กว่า โดยไม่จาเป็ นต้ องเป็ นการให้ เงินหรื ออามิสเท่านัน้
• การกระทาโดยไม่คิดหวังสิง่ ใดตอบแทน เป็ นการเสียสละหรื อจาคะ โดย
ไม่มีนยั ของการทวง “บุญ” คืน
• การ “ลงทุน” มีความหมายสื่อไปในทางที่คาดหวังจะได้ ผลตอบแทน
อย่างใดอย่างหนึง่ กลับคืนมา เช่น กาไรจากการลงทุน
CSR : คือ "การลงทุน" หรื อ "การทาบุญ"
• การดาเนินกิจกรรมซีเอสอาร์ ที่แท้
– ไม่จาเป็ นต้ องวัดด้ วยมูลค่าที่เป็ นตัวเงิน
– ไม่จาเป็ นต้ องวัดด้ วยยอดเงินบริจาคเพื่อวัตถุประสงค์ทางการตลาด
หรื อการสร้ างภาพลักษณ์
– ไม่จาเป็ นต้ องวัดด้ วยจานวนกิจกรรมที่เป็ นไปเพื่อการประชาสัมพันธ์
– ไม่จาเป็ นต้ องใช้ จ่ายเงินเพิ่ม หรื อสร้ างกิจกรรมพิเศษใดๆ เพิ่มเติม
มากไปกว่าการดูแลตรวจตรากระบวนการทางธุรกิจโดยปกติ เพื่อให้
เกิดประโยชน์สขุ แก่ทงองค์
ั ้ กรและสังคม รวมถึงสิง่ แวดล้ อม โดยไม่
ก่อให้ เกิดการเบียดเบียนซึง่ กันและกัน จนสร้ างความเดือดร้ อน
เสียหายให้ แก่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึง่
Good Governance
•
•
•
•
•
•
•
ซื่อสัตย์สจุ ริต
โปร่งใส
รับผิดชอบ
คุณภาพและประสิทธิภาพ
คุณธรรมและจริยธรรม
การมีสว่ นร่วม
หลักนิตธิ รรม
หลักการความรับผิดชอบต่อสังคม
ของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
•
•
•
•
•
•
•
•
การกากับดูแลกิจการที่ดี
การประกอบธุรกิจด้ วยความเป็ นธรรม
การเคารพสิทธิมนุษยชนและการปฏิบตั ิตอ่ แรงงานอย่างเป็ นธรรม
ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม
การดูแลรักษาสิง่ แวดล้ อม
การเผยแพร่นวัตกรรมจากการดาเนินความรับผิดชอบต่อสังคม
การจัดทารายงานด้ านสังคมและสิ่งแวดล้ อม
CSR Framework ของบริ ษทั ในกลุ่ม ปตท.
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การกากับดูแลกิจการที่ดีและการบริ หารงานแบบผู้นา
สิทธิมนุษยชน
สิทธิแรงงาน
การบริ หารจัดการด้ านสิง่ แวดล้ อม
การดาเนินธุรกิจที่เป็ นธรรม
การดาเนินงานด้ านสังคมและการพัฒนาชุมชน
การบริ หารจัดการสายโซ่อปุ ทาน
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็ นเลิศ
การรายงานด้ านความรับผิดชอบต่อสังคม
การมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นได้ เสีย
อุดมการณ์ของบริ ษทั ในเครื อซิเมนต์ไทย
•
•
•
•
ตังมั
้ น่ ในความเป็ นธรรม
มุง่ มัน่ ในความเป็ นเลิศ
เชื่อมัน่ ในคุณค่าของคน
ถือมัน่ ในความรับผิดชอบต่อสังคม
มาตรฐานแรงงานของไทย
• มาตรฐานแรงงานขันต
้ ่าตามที่กฎหมายกาหนด
• มาตรฐานแรงงานตามความสมัครใจ
– ยกระดับมาตรฐานการทางานให้ พนักงานมีขวัญกาลังใจ
– แสดงออกถึง CSR
– เพิ่มโอกาสในการแข่งขันทางการค้ า
– แบ่งเบาภาระการปฏิบตั ิงานของเจ้ าหน้ าที่
ใช่ CSR หรื อเปล่า / แท้หรื อเทียม
•
•
•
•
•
•
•
จ้ างวิทยากรมาฝึ กอาชีพเสริ มให้ กบั ครอบครัวพนักงาน
บริ จาคเงินให้ วดั เพื่อหักภาษี เงินได้
ขายเครื่ องดื่มบารุงกาลังแล้ วเป็ นผู้สนับสนุนการแข่งขันกีฬา
จัดกิจกรรมพาพนักงานบริ ษัทไปปลูกป่ า
ประกาศเป็ นนโยบายบริ ษัทว่าจะปฏิบตั ิตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
ให้ ทนุ สนับสนุนชุมชนข้ างโรงงานส่งทีมเรื อยาวแข่งขัน
ชักชวนบริ ษัทคูค่ ้ าทา CSR
• 2% ของราคาสินค้ าที่ลก
ู ค้ าจ่าย บริ ษัทจะทาบุญให้
• รณรงค์คดั แยกขยะและงดใช้ ถงุ พลาสติกในบริ ษัท
• ลดคุณภาพวัตถุดิบเพื่อรักษาการจ้ างงานพนักงานไว้
• จัดตังมู
้ ลนิธิกองทุนเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้ อมชุมชนเมืองมาบตาพุด