แนวคิดเรื่องจรรยาบรรณวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึง ประมวลมาตรฐานความประพฤติที่ผู้ ประกอบอาชีพต้องประพฤติปฏิบตั ิ เป็ นแนวทางให้ผปู้ ระกอบอาชีพปฏิบตั ิตน อย่างถูกต้อง โดยที่ขอ้ บัญญัติน้ นั อาจเขียนไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรื อบอก กล่าวด้วยวาจาในสังคมวิชาชีพนั้นก็ได้ ผูก้ ระทาผิดจรรยาบรรณ จะต้องได้รับ โทษโดยการว่ากล่าวตักเตือน ถูกพักงาน.
Download
Report
Transcript แนวคิดเรื่องจรรยาบรรณวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึง ประมวลมาตรฐานความประพฤติที่ผู้ ประกอบอาชีพต้องประพฤติปฏิบตั ิ เป็ นแนวทางให้ผปู้ ระกอบอาชีพปฏิบตั ิตน อย่างถูกต้อง โดยที่ขอ้ บัญญัติน้ นั อาจเขียนไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรื อบอก กล่าวด้วยวาจาในสังคมวิชาชีพนั้นก็ได้ ผูก้ ระทาผิดจรรยาบรรณ จะต้องได้รับ โทษโดยการว่ากล่าวตักเตือน ถูกพักงาน.
แนวคิดเรื่องจรรยาบรรณวิชาชีพ
จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึง ประมวลมาตรฐานความประพฤติที่ผู้
ประกอบอาชีพต้องประพฤติปฏิบตั ิ เป็ นแนวทางให้ผปู้ ระกอบอาชีพปฏิบตั ิตน
อย่างถูกต้อง โดยที่ขอ้ บัญญัติน้ นั อาจเขียนไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรื อบอก
กล่าวด้วยวาจาในสังคมวิชาชีพนั้นก็ได้ ผูก้ ระทาผิดจรรยาบรรณ จะต้องได้รับ
โทษโดยการว่ากล่าวตักเตือน ถูกพักงาน หรื อถูกยกเลิกใบประกอบวิชาชีพได้
จรรยาบรรณกับการประกอบอาชีพ
จรรยาบรรณของธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์
นายจอห์น ยัง (Mr. John Young) ประธานบริ ษทั ในเครื อ John
Young-Young Group ประกอบธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ ได้เสนอแนวคิดในการ
ประกอบวิชาชีพอสังหาริ มทรัพย์ ไว้ 6 ประการ ดังนี้
จรรยาบรรณของธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์
1. ธรรมซึ่ งเป็ นจรรยาในตัวเอง (Moral Ethics)
2. จรรยาบรรณของการวางแผนตลาด (Marketing Ethics)
3. สิ ทธิมนุษยชน (Human Rights)
4. ศีลธรรมและความรับผิดชอบ (Moraland Responsibilities)
5. การมีส่วนร่ วมความรับผิดชอบต่อสังคม
(Corporate Social responsibilities) social
6. ความยุติธรรม (Distributive Justice)
จรรยาบรรณวิชาชีพโฆษณา
1. ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ตตามหลักปฏิบตั ิและอยูภ่ ายใต้กฎหมาย
2. ไม่กระทาการใดๆ อันอาจนามาซึ่ งความเสื่ อมเกียรติแห่ งวิชาชีพ
3. มีความรับผิดชอบต่อสังคม
4. ไม่ควรกระทาการโฆษณาอันเป็ นการดูหมิ่นศาสนา
5. ไม่ควรกระทาการโฆษณาอันทาให้เกิดความสาคัญผิดเกี่ยวกับสิ นค้าบริ การ
6. ไม่ควรกระทาการโฆษณาโดยการโจมตีหรื อเปรี ยบเทียบสิ นค้า
7. ไม่ควรกระทาการโฆษณาโดยใช้เสี ยงที่เป็ นการก่อกวนความรู ้สึก
8. ไม่ควรกระทาการโฆษณาโดยทาให้เกิดความกลัวโดยไม่มีเหตุอนั สมควร
9. ไม่ควรกระทาการโฆษณาโดยใช้ความเชื่อถือเกี่ยวกับไสยศาสตร์ หรื อเรื่ อง
โชคลางมาเป็ นข้อจูงใจ
10.ไม่ควรกระทาการโฆษณาโดยการเลียนแบบเครื่ องหมายการค้า คาขวัญ หรื อ
ข้อความสาคัญจากการโฆษณาของผูอ้ ื่น
11.ไม่ควรกระทาการโฆษณาอันเป็ นการสนับสนุนหรื อก่อให้เกิดการกระทาอัน
ผิด กฎหมายหรื อศีลธรรม
12. ไม่ควรกระทาการโฆษณาโดยใช้ศพั ท์สถิติ
13.ไม่ควรกระทาการโฆษณาอันก่อให้เกิดการเหยียดหยามกันเกี่ยวกับ
เชื้อชาติ ศาสนา
14.ไม่ควรกระทาการโฆษณาโดยอ้างอิงตัวบุคคลหรื อสถาบัน
15.ไม่ควรกระทาการโฆษณาอันอาจมีผลเป็ นอันตรายต่อเด็กหรื อผูเ้ ยาว์
ทั้งทางร่ างกายจิตใจ หรื อทาให้ขาดความรู ้สึกผิดชอบ
16. การโฆษณาโดยอ้างอิงบุคคลในวิชาชีพอื่นๆ ที่มีการควบคุมตามพระราชบัญญัติ
ต่างๆต้องเป็ นไปตามมารยาทแห่ งวิชาชีพนั้น
จรรยาบรรณของมัคคุเทศก์
จรรยาบรรณของมัคคุเทศก์ หมายถึง หลักเกณฑ์ที่มคั คุเทศก์ควร
ประพฤติ เพื่อธารงซึ่ งเกียรติภมู ิของสถานภาพแห่ งวิชาชีพ
มัคคุเทศก์พึงยึดถือสิ่ งอันควรประพฤติปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้
1. มีความซื่ อสัตย์สุจริ ต
2. รู้จกั กาลเทศะ
3. รู ้จกั ประมาณตน มัคคุเทศก์
4. มีความเมตตากรุ ณา
5. มีความยุติธรรม
6. มีความตรงต่อเวลา
จรรยาบรรณของสื่ อสารมวลชน มี 4 หมวด ดังนี้
หมวดที่ 1
หมวดที่ 2
หมวดที่ 3
หมวดที่ 4
ด้านวิทยุกระจายเสี ยงและวิทยุโทรทัศน์
สิ ทธิ หน้าที่ความรับผิดชอบต่อสังคมของสื่ อ
มาตรฐานการประกอบวิชาชีพของสื่ อมวลชน
จรรยาบรรณ (code of ethics)
จรรยาบรรณของอาจารย์
1. อาจารย์พึงวางตนให้เป็ นผูค้ วรแก่การยกย่อง
2. อาจารย์ควรเป็ นผูม้ ีเหตุผล ถึงเคารพความคิดเห็น
ของคนอื่น
3. อาจารย์ไม่พึงปฏิบตั ิต่อผูใ้ ดอย่างมีอคติ
4. อาจารย์ไม่ถึงเรี ยก รับ หรื อ ยอมจะรับประโยชน์ใด
ซึ่งชักนาให้การปฏิบตั ิงานในหน้าที่ของตนไม่
สุ จริ ตเที่ยงธรรม
5. อาจารย์พึงมีความรอบรู้ทางวิชาการ
6. มีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็นเรื่ องหลักสู ตรการสอน
7. อาจารย์พึงอุทิศเวลาเพื่อประโยชน์ในการปฏิบตั ิหน้าที่อย่างแท้จริ ง
8. อาจารย์พึงรักษาและส่ งเสริ มความสามัคคีในหมู่อาจารย์ดว้ ยกัน
9. อาจารย์พึงส่ งเสริ มความก้าวหน้าทางวิชาการซึ่ งกันและกัน
10. อาจารย์พึงรับใช้สังคมด้วยการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการที่ได้
มาตรฐาน
11. อาจารย์พึงใช้เสรี ภาพในวิชาการโดยสุ จริ ต
12. อาจารย์ไม่พึงนาหรื อยอมให้นาผลงานทางวิชาการของตนไปใช้ในทางที่
เป็ นภัยต่อมนุษยชาติ
13. อาจารย์พึงแสดงออกโดยเปิ ดเผย
14. อาจารย์ไม่พึงเปิ ดเผยความลับใดๆ ของศิษย์
15. อาจารย์พึงถือเป็ นหน้าที่ต่อความก้าวหน้าของศิษย์
16. อาจารย์พึงส่ งเสริ มให้เพื่อนอาจารย์ปฏิบตั ิตนถูกต้องตามจรรยาบรรณ
จรรยาบรรณของอาจารย์ ที่ปรึกษา
1. ด้านวิชาการ ดูแลให้การแนะนาเรื่ องการศึกษา
การจัดโปรแกรมการศึกษา
2. ด้านการปรับตัว สร้างความมัน่ ใจให้นิสิต
3. การพัฒนาความพร้อมเพื่อเป็ นบัณฑิตที่สมบูรณ์
4. ด้านการเงิน ควรศึกษาระเบียบเรื่ องทุนต่างๆ
เพื่อที่จะให้การช่วยเหลือนิสิตที่มีปัญหาการเงิน
จรรยาบรรณของอาจารย์ ที่ปรึกษา (ต่ อ)
5. ด้านวินยั เมื่อนิสิตมีพฤติกรรมไม่ถกู ต้อง
6. ด้านปั ญหาต่างๆ อาจารย์ที่ปรึ กษาต้องพร้อมที่จะรับฟั งปั ญหาช่วยแนะนา
แก้ไขปั ญหาต่างๆ ให้เพื่อนิสิตจะได้คลายความทุกข์ ความกังวล เกิดมี
กาลังใจที่จะต่อสู ้เพื่อให้สาเร็ จการศึกษาได้ตามเวลา
จรรยาบรรณของนักวิจยั
1. นักวิจยั พึงมีความซื่ อสัตย์โดยไม่แอบอ้างความคิดของผูอ้ ื่นมาเป็ นของตน
2. นักวิจยั พึงมีความรับผิดชอบ โดยทางานได้สาเร็ จตามแผน
3. นักวิจยั พึงมีใจกว้างรับฟังความคิดเห็นและคาติชมของผูอ้ ื่น
4. นักวิจยั พึงมีความยุติธรรม ในการแบ่งค่าใช้จ่าย
5. นักวิจยั พึงมีความรับผิดชอบต่อการเผยแพร่ ผลงานของตน
จรรยาบรรณข้ าราชการพลเรือน
จรรยาบรรณต่ อตนเอง
จรรยาบรรณต่ อหน่ วยงาน
จรรยาบรรณต่ อผู้บังคับบัญชา ผู้อยู่ใต้ บังคับบัญชา และผู้ร่วมงาน
จรรยาบรรณต่ อประชาชนและสั งคม
จรรยาบรรณของเภสั ชกรรม
1. เภสัชกร พึงยึดถือสุ ขภาพ และความปลอดภัยในการใช้ยาของผูป้ ่ วย
2. เภสัชกรต้องรักษาไว้ซ่ ึ งเกียรติศกั ดิ์ศรี แห่ งวิชาชีพ
3. เภสัชกรพึงเคารพต่อกฎหมายบ้านเมือง
จรรยาบรรณของเภสั ชกรรม (ต่ อ)
4.
5.
6.
7.
เภสัชกรต้องรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
เภสัชกรพึงสร้างความไว้วางใจในประสิ ทธิภาพของการบริ การของตน
เภสัชกรต้องไม่เปิ ดเผยความลับของผูป้ ่ วย
เภสัชกรพึงศึกษาติดตามความก้าวหน้าทางวิชาเภสัชศาสตร์
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
จรรยาบรรณของเภสั ชกรรม (ต่ อ)
เภสัชกรต้องไม่ประกอบวิชาชีพในสถานที่
เภสัชกรต้องไม่โฆษณาใช้จา้ งวานหรื อยินยอมให้ผอู ้ ื่นโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรผูใ้ ห้บริ การประชาชน ต้องไม่ปฏิบตั ิในสถานที่สาธารณะ
เภสัชกรพึงยกย่องให้เกียรติและเคารพในศักดิ์ศรี ซ่ ึ งกันและกัน
เภสัชกรต้องไม่จาหน่าย แจก หรื อแนะนายา ซึ่ งขาดคุณภาพ
เภสัชกรต้องให้คาแนะนาในการใช้ยาอย่างถูกต้อง
เภสัชกรต้องไม่ออกใบรับรองอันเป็ นเท็จโดยตั้งใจ
เภสัชกรต้องไม่ใช้หรื อสนับสนุนให้มีการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณผู้ประกอบบัญชี
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ไม่รับมอบบัญชีในกิจการ
ไม่กระทาการใดๆ อันอาจนามาซึ่ งความเสื่ อมเสี ยเกียรติศกั ดิ์ศรี แห่ งวิชาชีพตน
ไม่เปิ ดเผยความลับของกิจการที่ตนได้รู้มาในหน้าที่ จากการสอบบัญชี
ไม่กาหนดสิ นจ้างหรื อค่าตอบแทน
ไม่รับรองหรื อยินยอมให้ผอู ้ ื่นอ้างว่าตนเป็ นผูท้ าการสอบบัญชีในกิจการใด
ไม่โฆษณาหรื อยินยอมให้ผอู ้ ื่นโฆษณาด้วยประการใดๆ
จรรยาบรรณผู้ประกอบบัญชี (ต่ อ)
7. ไม่แย่งงานการสอบบัญชีจากผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตอื่น
8. ไม่ให้หรื อรับว่าจะให้ทรัพย์สิน เพื่อเป็ นการจูงใจให้บุคคลอื่นแนะหรื อจัด
หางานการสอบบัญชีมาให้แก่ตนทา
9. ไม่เรี ยกหรื อรับทรัพย์สิน หรื อประโยชน์จากบุคคลใด
10. ไม่ทาการสอบบัญชีเกินกว่าที่ได้รับมอบหมายจากผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตอื่น
จรรยาบรรณผู้ประกอบบัญชี (ต่ อ)
11. ไม่ลงลายมือชื่อรับรองการสอบบัญชีของกิจการใดที่ตนมิได้ทาการสอบบัญชี
12. ไม่ปกปิ ดข้อเท็จจริ งหรื อบิดเบือนความจริ งอันเป็ นสาระสาคัญของงบดุลและ
บัญชีที่ตนลงลายมือชื่อรับรอง
13. ไม่ลงลายมือชื่อรับรองการสอบบัญชีใดเมื่อยังมิได้ตรวจสอบหลักฐานที่จาเป็ น
ตามมาตรฐานบัญชี
จรรยาบรรณผู้ประกอบบัญชี (ต่ อ)
14. ให้บนั ทึกความเห็นไว้ในรายงานการสอบบัญชี
15. การลงลายมือชื่อรับรองการสอบบัญชี โดยมีเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ งต้อง
แสดงเหตุผลของการระบุเงื่อนไขนั้นไว้ดว้ ย
16. ไม่ลงลายมือชื่อรับรองการประมาณการกาไรของกิจการในที่ตนรับสอบบัญชี
เป็ นการล่วงหน้า
17. ปฏิบตั ิงานด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ตและระมัดระวัง
จรรยาบรรณนักกฎหมาย
1. พึงถือว่างานกฎหมายเป็ นอาชีพ มิใช่ธุรกิจ
2. พึงถือว่ากฎหมายเป็ นเพียงเครื่ องมือของความยุติธรรม มิใช่มาตรการ
ความยุติธรรม
3. พึงถือว่านักกฎหมายทุกคนเป็ นที่พ่ ึงของประชาชน
4. พึงถือว่าความยุติธรรมอยูเ่ หนืออามิสสิ นจ้างใดๆ
5. พึงถือว่าความยุติธรรมเป็ นกลางสาหรับทุกชาติ ศาสนา ทุกฐานะ
จรรยาบรรณนักกฎหมาย (ต่ อ)
6. พึงถือว่ามนุษย์ทุกคนมีสิทธิ ในเรื่ องความยุติธรรมเท่าเทียมกัน
7. พึงขวนขวายหาความรู ้ให้ทนั เหตุการณ์อยูเ่ สมอ
8. พึงถือว่าเวลาเป็ นเรื่ องสาคัญ จึงไม่พึงรี บร้อน
9. พึงงดเว้นอบายมุขทั้งหลาย
10. พึงรักษาเกียรติยงิ่ กว่าทรัพย์สินใดๆ
11. พึงถือว่าบุคคลมีค่าเหนือกว่าวัตถุทุกอย่าง