กระบวนการได้มาซึ่งอาหารของประชาชน

Download Report

Transcript กระบวนการได้มาซึ่งอาหารของประชาชน

กฎหมายสาคัญที่เกี่ยวกับ
ผูส้ มั ผัสอาหาร
โดย ... พรพรรณ ไม้ส ุพร
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณส ุข กรมอนามัย
ตัวอย่างเรือ่ งร้องเรียน
สถานที่จาหน่ายอาหาร
และการจาหน่ายอาหาร
ในที่/ทางสาธารณะ
พบแมลงสาบ/ขีแ้ มลงสาบ/
ขีห้ นู/เส้ นผม/เศษวัตถุ
อืน่ ๆในอาหาร
กลิน่ /ควัน จากการปิ้ งย่ างหรือ
การปรุงอาหารด้ วยวิธีอนื่ ๆ
นาอาหารทีเ่ สี ยมาปรุงอาหาร
กิ น อาหารจากร้ านนี้ แ ล้ ว
ท้ องเสี ย /อาหารเป็ นพิษ
แสบตาจากแอลกอฮอล์
สาหรับอุ่นอาหาร
จาน/ชามและอุปกรณ์ อนื่ ๆสกปรก
ร้ านอาหาร/แผงลอย ไม่ สะอาด
พืน้ เฉอะแฉะ /มีหนู แมลงสาบวิง่
กระบวนการได้ มาซึ่งอาหารของประชาชน
แหล่งเลีย้ งสั ตว์
พรบ.ฆ่ า&
จาหน่ าย
เนือ้ สั ตว์
โรงฆ่ าสั ตว์
พ.ร.บ.
วัตถุ
อันตราย
แหล่งปลูกพืช
สถานที่ผลิตอาหาร
พ.ร.บ.
อาหาร
ตลาด/ร้ านสะสมอาหาร
พ.ร.บ.การ
สาธารณสุ ข
ร้ านอาหาร
พ.ร.บ.โรคติดต่ อ
พ.ร.บ.คุ้มครองสุ ขภาพของผู้ไม่ สูบบุหรี่
พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์
หาบเร่ แผงลอย
ครัวเรือน
อาหารสะอาด
ผูบ้ ริโภคปลอดภัย
พ.ร.บ. รักษา
ความสะอาดฯ
กฎหมายสาคัญ
ที่เกี่ยวกับผูส้ มั ผัสอาหาร
 พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕
 พ.ร.บ. รักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบ
เรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕
 พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒
 พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓
 พ.ร.บ. คุม้ ครองสุขภาพของผูไ้ ม่สบู บุหรี่ พ.ศ. ๒๕๓๕
 พ.ร.บ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑
องค์ประกอบการใช้มาตรการตามกฎหมาย
เจ้ า
พนักงาน
ผู้ประ
กอบการ
ตัวบท
กฎหมาย
วิถีประชา
ประชาชน
ปัญหาการ
บังคับใช้กฎหมาย
ตัวบทกฎหมาย
 ไม่ มีบทบัญญัติ
 ไม่ มีเกณฑ์ ชี้วดั
ที่ชัดเจน
 กฎหมาย
ซ้าซ้ อน
เจ้ าพนักงาน
 ไม่ มีความรู้ ผู้ประกอบการ
 ไม่ มั่นใจ
 ไม่ มีทักษะ  ไม่ รู้กฎหมาย
 ไม่ บังคับใช้  ไม่ เข้ าใจ
เหตุผล
 กลัวความ
 ไม่ รับผิดชอบ
ขัดแย้ ง
/ หลบเลีย่ ง
ประชาชน
 ไม่ รู้กฎหมาย
/ สิ ทธิตนเอง
 ไม่ เรียกร้ อง
/ ร้ องเรียน
 ไม่ มีส่วนร่ วม
บทบัญญัตติ ามกฎหมายสาธารณสุ ข
ในการควบคุม
สถานทีจ่ าหน่ ายอาหาร
การจาหน่ ายอาหารในที/่ ทาง
สาธารณะ
ผู้สัมผัสอาหาร
พ.ร.บ. การสาธารณสุ ข พ.ศ. ๒๕๓๕
ให้ อานาจ
องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
ออกข้ อกาหนดของท้ องถิน่
(เทศบัญญัติ/ข้ อบัญญัติ อบต.)
• กิจการตลาด
• สถานทีจ่ าหน่ ายอาหาร
• การจาหน่ ายอาหารในที/่ ทาง
สาธารณะ
พิจารณาอนุญาต/
หนังสื อรับรองการ
แจ้ งและตรวจตรา
ออกคาสั่ งให้
• ปรับปรุง/ แก้ไข
• พักใช้ / หยุด
• เพิกถอน
กรณี
• เหตุราคาญ
• ผิดสุ ขลักษณะอาคาร
• ฝ่ าฝื นข้ อกาหนดฯ
สถานที่จาหน่ ายอาหาร
หมายความว่ า อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใดๆ ที่มิใช่ ที่หรือ
ทางสาธารณะ (เป็ นที่ของเอกชนและมิใช่ เป็ นการขายของในตลาด)
ทีจ่ ดั ไว้ เพือ่ ประกอบหรือปรุงอาหารจนสาเร็จและจาหน่ ายให้ ผ้ ูซื้อ
สามารถบริโภคได้ ทันที ทั้งนี้ ไม่ ว่าจัดบริเวณไว้ สาหรับการบริโภค
ณ ทีน่ ้ัน หรือนาไปบริโภคที่อนื่ ก็ตาม
ตัวอย่ างเช่ น .......
ร้ านอาหาร ภัตตาคาร สวนอาหาร ฯลฯ
การจาหน่ ายอาหารในที/่ ทางสาธารณะ
หมายความว่ า สถานทีจ่ าหน่ ายอาหารทีอ่ ยู่ในที่หรือทาง
สาธารณะ (ที่หรือทางสาธารณะ หมายความว่ า สถานที่หรือทาง
ซึ่งมิใช่ เป็ นของเอกชนและประชาชนสามารถใช้ ประโยชน์ หรื อ
ใช้ สัญจรได้ )
ตัวอย่ างเช่ น......
แผงลอย หาบเร่ เร่ ขาย รถเร่ ฯลฯ
ผู้สัมผัสอาหาร
หมายความว่ า บุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับอาหารตั้งแต่
กระบวนการเตรียม ปรุง ประกอบ จาหน่ ายและเสิ ร์ฟอาหาร
รวมถึงล้ างและเก็บภาชนะอุปกรณ์
ได้ แก่ ......
• ผู้เตรียมอาหาร
• ผู้ปรุง-ประกอบอาหาร
• ผู้เสิ ร์ฟอาหาร
• ผู้จาหน่ ายอาหาร
• ผู้ล้างและเก็บภาชนะอุปกรณ์
•สถานที่จาหน่ ายอาหาร
•การจาหน่ ายอาหาร
ในที/่ ทางสาธารณะ
ผูจ้ ดั ตัง้ /เจ้าของสถานที่จาหน่ายอาหาร
กรณี ที่มีพ้ ืนที่เกินกว่า
200 ตร.ม. และมิใช่
การขายของในตลาด
ขออนุญาต
กรณี ที่มีพ้ ืนที่ไม่เกิน
200 ตร.ม. และมิใช่
การขายของในตลาด
ปฏิบตั ิตาม
ข้อกาหนดของท้องถิ่น
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
แจ้ง
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ข้อกาหนดของ
ท้องถิ่น(ม.40)
สุขลักษณะสถานที่จาหน่ ายอาหาร
๏ ที่ตงั้ การใช้ การดูแลรักษาสถานที่
๏ อาหาร กรรมวิธีการจาหน่ าย ทา
ประกอบ ปรุง เก็บ สะสมอาหาร
๏ สุขลักษณะส่วนบุคคล
๏ ภาชนะ อุปกรณ์ น้ าใช้ และของใช้อ่ืนๆ
๏ การป้องกันเหตุราคาญ
และการป้องกันโรคติดต่อ
ผู้จาหน่ ายอาหารในทีห่ รือทางสาธารณะ
ผู้จาหน่ ายอาหารในที/่
ทางสาธารณะ
ต้ อง
ปฏิบัติ
ตาม
ถ้ าเปลีย่ น
แปลง
ขออนุญาต
• ชนิด/ประเภทสิ นค้ า
• ลักษณะการจาหน่ าย
• สถานทีข่ าย
• เงื่อนไขอืน่ ๆ
ต้ องแจ้ ง
ข้ อกาหนดของท้ องถิน่
เจ้ า
พนักงาน
ท้ องถิ่น
มีอานาจ
ประกาศเขต
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ข้อกาหนดของท้องถิ่น(ม.43)
สุ ขลักษณะเกีย่ วกับ
• ผู้ขาย/ผู้ช่วยขาย
• กรรมวิธีการจาหน่ าย ทา ประกอบ
ปรุง เก็บ/ สะสม
• ความสะอาดภาชนะ นา้ ใช้ ของใช้
• การจัดวาง/ การเร่ ขาย
• เวลาจาหน่ าย
• ป้องกันเหตุราคาญ/ โรคติดต่ อ
ร่วมกับ
เจ้าพนักงานจราจร
ประกาศเขต(ม.42)
• ห้ ามขายหรือซื้อโดยเด็ดขาด
• ห้ ามขายสิ นค้ าบางชนิด
• ห้ ามขายสิ นค้ าตามกาหนด เวลา
• เขตห้ ามขายตามลักษณะ
• กาหนดเงื่อนไขการจาหน่ าย
ปิ ดทีส่ านักงานฯ และบริเวณทีก่ าหนดเป็ นเขต
และระบุวนั บังคับ โดยไม่ น้อยกว่ า 15 วัน นับแต่ วนั ประกาศ
หลักเกณฑ์ในการขอใบอนุญาตตาม พรบ.
ต้องขออนุญาตต่อราชการส่วนท้องถิน่ ที่เป็ นที่ตงั้ ของสถานประกอบการ
(ม.54)
ต้องทาคาขอตามหลักเกณฑ์ เงือ่ นไข ที่ราชการส่วนท้องถิน่ กาหนด (ม.54)
โดยเจ้าพนักงานสาธารณสุขเป็ นผูต้ รวจสอบ
เมื่อได้รบั อนุญาต ต้องเสียค่าธรรมเนียม (ม.65)
ใบอนุญาตที่ได้รบั
# ใช้ได้เฉพาะในเขตท้องถิน่ นัน้
# มีอายุหนึง่ ปี นับแต่วนั ออก ต้องต่ออายุก่อนสิ้นอายุ (ม.55)
# ต้องแสดงไว้โดยเปิ ดเผย ณ สถานประกอบการตลอดเวลา (ม.57)
# กรณีท่ีสญ
ู หาย/ชารุด ในสาระสาคัญต้องขอใบแทนภายใน 15 วัน
(ม.58)
มาตรการควบคุมกิจการที่ตอ้ งขออนุญาต
ม.72 โทษจาคุก > 6 เดือน ปรับ >10,000บาท
1.ไม่ได้รบั
ใบอนุญาต
ม.77 โทษปรับ >2,000บาท
สัง่ ให้ปรับปรุง/แก้ไข
2. ไม่ปฏิ บตั ิตาม
• พรบ.
จพถ.มี
• กฎกระทรวง
อ
านาจ
่
• ข้อกาหนดของท้องถิน
• เงื่อนไขในใบอนุญาต
สัง่ พักใช้ใบอนุญาต
* ครัง้ ละไม่เกิน 15 วัน
สัง่ เพิกถอนใบอนุญาต
* ถูกพักใช้ 2 ครัง้ ขึ้นไป
* ต้องคาพิพากษาว่าผิ ด
* มีอนั ตรายร้ายแรง
หลักปฏิบัตสิ าหรับผู้ได้ รับหนังสื อรับรองการแจ้ ง
ต้ องแสดง
หนังสื อรับรองการแจ้ ง ไว้ ในทีเ่ ปิ ดเผย
ณ สถานที่ดาเนินกิจการ ตลอดเวลา
ที่ดาเนินกิจการ (ม.49)
กรณีสูญหาย
ถูกทาลาย ชารุด
ในสาระสาคัญ
ต้ องยืน่ คาขอรับใบแทน ภายใน 15
วัน นับแต่ วนั ทีท่ ราบ หลักเกณฑ์
ตามข้ อกาหนดของท้ องถิ่น (ม.50)
กรณีจะเลิก
หรือโอนกิจการ
ให้ แจ้ งให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่น
ทราบ (ม.51)
มาตรการควบคุมกิจการทีต่ ้ องแจ้ง
1. ผู้ใดประกอบ
กิจการโดยไม่ แจ้ ง
(ม.72 ว.2) โทษจาคุกไม่ เกิน 3 เดือน
หรือปรับไม่ เกิน 5,000 บาท
2. กรณีดาเนิน
สั่ งให้ หยุดกิจการ
กิจการโดยไม่ แจ้ ง
ถ้ าฝ่ าฝื นอีก
แล้ วเคยได้ รับโทษ
เพราะไม่ แจ้ งมา สั่งห้ ามดาเนินกิจการ
แล้ วครั้งหนึ่ง
ตามเวลาที่กาหนด
แต่ ไม่ เกิน 2 ปี
(ม.80) โทษจาคุก
ไม่ เกิน 6 เดือน
หรือปรับไม่ เกิน
10,000 บาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
และปรับอีกวันละ
ไม่ เกิน 5,000 บาท
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ข้อกาหนดของท้องถิ่น
สุขลักษณะส่วนบุคคลของผูส้ มั ผัสอาหาร
๏ ต้องตรวจสุขภาพและมีหนังสือรับรองจากแพทย์ก่อนจะเป็ น
ผูส้ มั ผัสอาหาร และตรวจอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้
๏ มีความรูด้ า้ นสุขาภิบาลอาหาร โดยผ่านการอบรมหรือผ่าน
การทดสอบความรู ้ และติดบัตรประจาตัวผูส้ มั ผัสอาหาร
๏ ต้องปฏิบตั ิตนในขณะปฏิบตั ิงาน เช่น การแต่งกาย(ผ้ากันเปื้ อน
หมวก/ตาข่ายคลุมผม) มือ-เล็บต้องสะอาด ใช้อุปกรณ์หยิบจับ
อาหาร(แยกระหว่างอาหารดิบ-สุก) หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่
เหมาะสมในขณะปฏิบตั ิงาน(การไอ จาม สูบบุหรี่ เป็ นต้น)ฯลฯ
๏ อื่นๆตามข้อกาหนดของท้องถิ่น
มาตรการควบคุมสุขลักษณะส่วนบุคคล
ของผูส้ มั ผัสอาหาร
1.ผูส้ มั ผัสอาหารใน
สถานที่จาหน่ ายอาหาร
ผูใ้ ดฝ่ าฝื นข้อกาหนด
ของท้องถิ่น
ม. 73 ระวางโทษ
ปรับไม่เกิน 5,000 บาท
2. ผูส้ มั ผัสอาหารที่
ม. 77 ระวางโทษ
ปรับไม่เกิน 2,000 บาท
จาหน่ ายอาหารในที่หรือ
ทางสาธารณะผูใ้ ดฝ่ าฝื น
ข้อกาหนดของท้องถิ่น
ขาย/ซื้อในเขตห้ามขาย/ซื้อโดยเด็ดขาด
ม. 78 ระวางโทษ
ปรับไม่เกิน 1,000 บาท
การคุ้มครองประชาชนของกฎหมายสาธารณสุข
กิจการที่ตอ้ งควบคุมตามกฎหมาย
•สถานที่สะสมอาหาร
• กิจการตลาด
• กิจการร้านอาหาร • การเลี้ยงสัตว์หรือปล่อยสัตว์
• กิจการเก็บ ขน/กาจัดสิ่งปฏิกูล/มูลฝอย(ธุรกิจ)
• กิจการที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ (135 ประเภท)
• การขายสินค้าในที่/ทางสาธารณะ
ประกาศเพิ่ม
กิจการทัว่ ไป
• บ้าน/ ครัวเรือน/ ชุมชน
• โรงเรียน/ สถานศึกษา
• วัด/ ศาสนสถาน
• สถานีขนส่ง/ สถานีรถไฟ
• สถานพยาบาล
• สถานประกอบกิจการอื่น ๆ
ก่ อนประกอบการ
ต้ องขอ
อนุญาต /
แจ้ ง
ต้ องปฏิบัติ
ให้ ถูก
สุขลักษณะ
เจ้ าพนักงานท้ องถิ่น
ราชการส่ วนท้ องถิ่น
ต้ องกาจัด
สิ่งปฏิกูล/
มูลฝอย
ข้ อกาหนดของท้ องถิ่น
ต้ องดูแล
อาคารให้ ถูก
สุขลักษณะ
ต้ องไม่ ก่อ
เหตุราคาญ
พ.ร.บ.รักษาความสะอาดและความเป็ นเรียบร้ อย
ของบ้ านเมือง พ.ศ. 2535
ขอบเขตการใช้บงั คับ



เขตเทศบาล
กรุงเทพมหานคร
เมืองพัทยา

อบจ. ให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศใช้

อบต. ให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศใช้
การควบคุมของพระราชบัญญัตริ ักษาความสะอาดฯ
 การรักษาความสะอาดในที่สาธารณะและ
สถานสาธารณะ
 การดูแลรักษาสนามหญ้าและต้นไม้ในถนน
และสถานสาธารณะ
 การห้ามทิ้งสิ่งปฏิกลู มูลฝอยในที่สาธารณะและ
สถานสาธารณะ
 การรักษาความเป็ นระเบียบเรียบร้อย
บทบัญญัตทิ ผี่ ู้จาหน่ ายอาหารต้ องปฏิบัติ
มาตรา 20 ห้ามมิให้ผูใ้ ด
(1) ปรุงอาหาร ขายหรือจาหน่ ายสินค้าบนถนน
หรือในสถานสาธารณะ
(2) ใช้รถยนต์หรือล้อเลื่ อนเป็ นที่ปรุงอาหารเพื่อ
ขายหรือจาหน่ ายให้แก่ประชาชนบนถนน
หรือในสถานสาธารณะ
ยกเว้นถนนส่วนบุคคลหรือบริเวณที่ประกาศผ่อนผัน
ฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตาม ระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
บทบัญญัตทิ ผี่ ู้จาหน่ ายอาหารต้ องปฏิบัติ
มาตรา 24
เจ้าของร้านจาหน่ ายอาหารหรือเครื่องดื่ มซึ่งจัด
สถานที่สาหรับบริการลูกค้า ในขณะเดียวกัน
ไม่ตา่ กว่า 20 คนต้องจัดให้มีสว้ มที่ตอ้ ง
ด้วยสุขลักษณะ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตาม ระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
และปรับอีกวันละ 100 บาท เรียงรายวันจนกว่าจะได้ปฏิ บตั ิ
ให้ถกู ต้องตามกฎกระทรวง
จานวนส้ วมตามกฎกระทรวงทีอ่ อกตามกฎหมายว่ าด้ วยการควบคุมอาคาร
จานวนส้วมของ
ร้านจาหน่ ายอาหาร
และเครื่องดื่ม
1) จน.ที่นงั่ ตัง้ แต่ 20 ที่นงั่ ข้ น
ไป ไม่เกิน 30 ที่นงั่
(ใช้รวมกันระหว่างชาย-หญิง)
2) จน.ที่นงั่ ตัง้ แต่ 31 ที่นงั่ ข้ น
ไป ไม่เกิน 50 ที่นงั่
ห้ องส้ วม
ห้ องนา้ อ่างล้ างมือ
ทีถ่ ่ าย ทีถ่ ่ าย
อุจจาระ ปัสสาวะ
1
1
-
1
ก) สาหรับผูช้ าย
1
1
-
-
ข) สาหรับผูห้ ญิง
2
-
-
1
พระราชบัญญัตอิ าหาร พ.ศ. 2522
อาหาร หมายความว่า...
ของกินหรือเครื่องค้าจุนชีวิต ได้แก่
1. วัตถ ุท ุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสูร่ า่ งกาย
ไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ หรือในร ูปลักษณะใดๆ แต่ไม่รวมถง
ยา วัตถ ุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท/ยาเสพติด
2. วัตถ ุที่ม่งุ หมายสาหรับใช้ /ใช้เป็นส่วนผสมใน
การผลิตอาหาร รวมถงเจือปนอาหาร สี
และเครือ่ งปร ุงแต่งกลิ่นรส
การควบค ุมตามพระราชบัญญัติอาหาร
ตัง้ โรงงานผลิตอาหารเพื่อจาหน่ าย
ขออนุญาต
นาเข้าอาหารเพื่อจาหน่ าย
อาหารไม่ บริสุทธิ์
อาหารปลอม
อาหารผิดมาตรฐาน
อาหารอืน่ ทีร่ ัฐมนตรีกาหนด
อาหารที่ตอ้ งมีฉลาก
(ยกเว้น ไส้กรอก แหนม หมูยอ
กุนเชียง ลูกชิ้น)
ห้ามผลิ ต นาเข้าเพื่อ
จาหน่ าย หรือจาหน่ าย
อาหารที่ตอ้ งมีเครื่องหมาย อย.
เลขสารบบอาหาร(เลข อย.)
การแสดงฉลากอาหาร
“ฉลาก” หมายถึง รู ปรอยประดิษฐ์ เครื่องหมาย หรือ
ข้ อความใดๆที่แสดงไว้ ที่อาหาร ภาชนะบรรจุอาหาร หรือหีบ
ห่ อของภาชนะที่บรรจุอาหาร
ฉลากอาหารมีความสาคัญ คือ
 เป็ นสื่ อระหว่ างผู้ผลิตกับผู้บริ โภค
 เป็ นสื่ อแสดงรายละเอียดเกีย
่ วกับผลิตภัณฑ์ และให้ ความรู้
ทางโภชนาการ(กรณีที่มกี ารแสดงฉลากโภชนาการ)
 เป็ นเครื่ องมือในการเลือกซื้อของผู้บริ โภค
 เป็ นสื่ ออ้ างอิงในการดาเนินการตามกฎหมายกับผู้ฝ่าฝื น
 เป็ นปัจจัยหรื อสิ่ งดึงดูดใจผู้ซื้อ
พระราชบัญญัตโิ รคติดต่อ พ.ศ. 2533
โรคติดต่อแบ่งเป็น 3 ประเภท
1) โรคติดต่อทัว่ ไป
2) โรคติดต่ออันตราย
3) โรคติดต่อต้องแจ้งความ
เกิดโรคข้ น/มีเหต ุสงสัย
ว่าได้เกิดโรคนี้ข้ นให้
เจ้าของสถานที่จาหน่าย
อาหาร/เจ้าบ้าน/
ผูค้ วบค ุมด ูแลบ้าน ฯลฯ
แจ้ งต่ อเจ้ าพนักงานสาธารณสุ ข/พนักงานเจ้ าหน้ าที่ แห่ งท้ องที่
ภายใน 24 ชั่วโมง นับแต่ เริ่มมีการป่ วย/มีเหตุสงสั ย/ที่ได้ มีการ
ชันสู ตรทางการแพทย์ พบว่ าอาจมีเชื้ออันเป็ นเหตุโรคติดต่ อ
โรคติดต่อที่เกี่ยวข้องกับผูส้ มั ผัสอาหาร
ผูส้ มั ผัสอาหารต้องไม่เจ็บป่วยด้วย
โรคที่สามารถติดต่อไปยังผูบ้ ริโภค โดยมี
น้าและอาหารเป็นสื่อ เช่น...
อหิวาตกโรค ไข้รากสาดน้อย บิด ไข้ส ุกใส หัด คางทูม
วัณโรคในระยะอันตราย โรคเรื้อนในระยะติดต่อ โรค
ผิวหนังที่น่ารังเกียจ ไวรัสตับเอ ไข้หวัดใหญ่ (รวมถงที่
ติดต่อจากสัตว์) และโรคอื่นๆตามประกาศกระทรวงสธ.
และโรคตามที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกาหนด
หากเจ็บป่วยให้หย ุดปฏิบตั ิงานจนกว่าจะรักษาให้หายเป็นปกติ
พ.ร.บ.คุม้ ครองสุขภาพของผูไ้ ม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535
สถานที่จาหน่ายอาหาร เครือ่ งดื่ม อาหารและเครือ่ งดื่ม
ตามประกาศกระทรวงสาธารณส ุข
(ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2553
มีผลใช้บงั คับ 28 มิ.ย. 53
1) บริเวณที่มีระบบปรับอากาศ
2) บริเวณที่ไม่มีระบบปรับอากาศ
เฉพาะบริเวณที่ให้บริการอาหาร
เครือ่ งดื่ม หรืออาหารและ
เครือ่ งดื่ม
จัดเป็นเขตปลอดบ ุหรี่
ทัง้ หมด
และไม่สามารถจัด
“เขตสูบบ ุหรี”่
เป็นการเฉพาะได้
เขตปลอดบุหรี่ ต้องมีสภาพและลักษณะ
(1) ต้องมีเครื่องหมายเขตปลอดบุหรี่ตามที่กระทรวง สธ.ประกาศ
(2) ไม่มีการสูบบุหรี่
(3) ไม่มีอุปกรณ์ หรือสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับการสูบบุหรี่
การควบคุมผูไ้ ม่ปฏิ บตั ิตามที่ พ.ร.บ. นี้ กาหนด
1) ไม่จดั ให้มีเขตสูบบุหรี่และเขตปลอดบุหรี่ ปรับไม่เกิน 20,000 บ.
2) ไม่จดั ให้มีเขตสูบบุหรี่ที่มีสภาพ ลักษณะและมาตรฐานตามที่รฐั มนตรี
กาหนด
ปรับไม่เกิน 10,000 บ.
3) ไม่จดั ให้มีเครื่องหมายในเขตสูบบุหรี่/เขตปลอดบุหรี่ตามหลักเกณ์์
และวิธีการที่รฐั มนตรีกาหนด
ปรับไม่เกิน 2,000 บ.
4) ห้ามผูใ้ ดสูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่
ปรับไม่เกิน 2,000 บ.
พระราชบัญญัตคิ วบคุมแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551
ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่จาหน่ ายอาหาร
1)สถานที่/บริเวณที่หา้ มขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(ม.27)
(1) วัด/สถานที่สาหรับปฏิบตั พ
ิ ิธีกรรมทางศาสนา
(2) สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สถานพยาบาล
(3) สถานที่ราชการ ยกเว้นที่จดั ไว้เป็ นร้านค้า/สโมสร
(4) หอพัก (5) สถานศึกษา (6) สถานบริการน้ ามันฯ
(7) สวนสาธารณะของทางราชการ
2) ห้ามมิให้ผใู ้ ดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัน/เวลา
ที่รฐั มนตรีประกาศกาหนด(ม. 28)
ระวางโทษจาคุก
ไม่เกิน 6 ด. /ปรับ
ไม่เกิน 10,000 บ.
/ทั้งจาทั้งปรับ
พระราชบัญญัตคิ วบคุมแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551
ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่จาหน่ ายอาหาร
3) ห้ามมิให้ผใู ้ ดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
แก่บุคคลดังต่อไปนี้ (ม. 29)
(1) บุคคลซึ่งมีอายุต ่ากว่า 20 ปี บริบูรณ์
(2) บุคคลที่มีอาการมึนเมาจนครองสติไม่ได้
ระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี /
ปรับไม่เกิน 20,000 บ./ทั้งจาทั้งปรับ
องค์ประกอบการใช้มาตรการตามกฎหมาย
เจ้ า
พนักงาน
ผู้ประ
กอบการ
ตัวบท
กฎหมาย
วิถีประชา
ประชาชน
WEB SITE
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ถนนติวานนท์ อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
โทร. 0-2590-4175, 0-2590-4225,
0-2590-4252, 0-2590-4256
โทรสาร 0-2591-8180