กำจัดของเสีย : ส่งกำจัด

Download Report

Transcript กำจัดของเสีย : ส่งกำจัด

Chemical Waste Management Training Program
Mahidol University
Chemical Safety Committee and
Center for Occupational Safety, Healthy and Environment Management
MU Chem Waste Tracking System
Objectives
 Creating a useful tracking system for chemical waste management in the
university.
 Collecting data used to management and disposal.
 Reduce the risks of chemical waste accumulation.
MU Chem Waste Tracking System
แนวทางดาเนินการแบ่ งเป็ น 2 ส่ วน
ส่ วนที่ 1 การจัดทาระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารจัดการของเสี ยสารเคมี
ส่ วนที่ 2 การดาเนินงานระยะเตรี ยมการใช้งานระบบ
จัดการฝึ กอบรมความรู้การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารจัดการของเสี ยสารเคมีต่อ
ตัวแทนจากส่ วนงานภายในมหาวิทยาลัยมหิ ดล
จัดเตรี ยมคู่มือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดเก็บและส่ งกาจัดของเสี ยสารเคมี
MU Chem Waste Tracking System
ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ
1.มีระบบสารสนเทศในการบันทึก รวบรวม และวิเคราะห์ขอ้ มูลสารเคมีและของเสี ยสารเคมี
จากห้องปฏิบตั ิการในส่ วนงานต่างๆ ของมหาวิทยาลัย
2.มีขอ้ มูลสารเคมีและของเสี ยสารเคมีจากห้องปฏิบตั ิการมาบริ หารจัดการกาจัดหรื อส่ งกาจัด
3.การปฏิบตั ิงานในห้องปฏิบตั ิการมีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สินอันอาจจะเกิดขึ้นจาก
การสะสมของเสี ยสารเคมีมากยิง่ ขึ้น
4.ช่วยลดค่าใช้จ่ายของส่ วนงานในการส่ งของเสี ยสารเคมีไปกาจัด
5.ช่วยส่ งเสริ มและยกระดับความปลอดภัยในการทางานในห้องปฏิบตั ิการของมหาวิทยาลัยสู่
มาตรฐานสากล
หลักการและแนวทางปฏิบัติในการจัดการของเสี ยในห้ องปฏิบัติการ
1.
2.
3.
4.
5.
การแยกประเภท/ชนิดของเสี ย
จัดเก็บของเสี ยโดยวิธีมาตรฐาน
Reuse, Recycle, Waste Exchange
บาบัดของเสี ย : บาบัดเอง/ส่ งบาบัด
กาจัดของเสี ย : ส่ งกาจัด
MU Chem Waste Tracking System
1. แยกเป็ นกลุ่มตาม Incompatibility chart
2. แยกเป็ นประเภทตามวิธีการบาบัด/กาจัด
หลักการแยกประเภทสารเคมี
ของเสี ยส่ งกาจัด
ของเสี ยสารเคมี
1.
2.
3.
4.
5.
6.
Hydrocarbon
Halogen
Inorganic
Heavy Metal
High Toxic
Acid
7. Base
8. Oxidizing
9. Reducing
10. Unknown
11. Solid Chemical
12. ภาชนะปนเปื้ อน
(เอกสารการแบ่งกลุ่มของเสี ยสารเคมี)
ขยะพิษจากชุ มชน
1.
2.
3.
4.
5.
หลอดไฟ
ถ่ายไฟฉาย
แบตเตอรี่ มือถือ
กระป๋ องสี
กระป๋ องสเปรย์
ประเภทของเสี ยสารเคมี
ลำดับที่
กลุ่ม
รำยละเอียด
ตัวอย่ ำง
เช่น Hexane, Methanol, Acetone,
MEK, IPA, THF, Ethyl Acetate,
Acetaldehyde เป็ นต้น
1
Hydrocarbon Solvent
ของเสี ยที่มี Hydrogen (H) และ Carbon (C)
เป็ นองค์ประกอบหลักในโมเลกุล รวมไปถึงสารใน
Functional Group ด้วย ได้แก่ Alkane, Alkene, Alkyne,
Alcohol, Ester, Ether, Ketone, Oil เป็ นต้น
2
Halogen Solvent
ของเสี ยที่มีธาตุ Halogen ได้แก่ Chlorine (Cl), Bromine เช่น NaCl, KBr, CH2Cl2, TCE,
(Br), Iodine (I), Fluorine (F)
PCE เป็ นต้น
เป็ นองค์ประกอบในโมเลกุล
3
Inorganic Compound
ของเสี ยที่เป็ นสารอนินทรี ยใ์ นกลุ่ม Carbonate,
Sulphate, Phosphate รวมถึงของเสี ยทีมีองค์ประกอบ
ของน้ าสู งและสารซักล้างทาความสะอาด
เช่น K2CO3, Na2SO4 เป็ นต้น
4
Heavy Metal Compound
ของเสี ยที่มีไออนของโลหะหนักเป็ นองค์ประกอบ
ได้แก่ โครเมียม ปรอท แคดเมียม ตะกัว่ ทองแดง เหล็ก
แมงกานีส สังกะสี โคบอลต์ นิกเกิล เงิน ดีบุก พลวง
ทังสเตน และ วานาเดียม
เช่น COD Waste, Hg2Cl2, FeSO4,
PbCl2, K2Cr2O7 เป็ นต้น
ประเภทของเสี ยสารเคมี
ลำดับที่
กลุ่ม
รำยละเอียด
ตัวอย่ ำง
5
High Toxic Solution
ของเสี ยที่มีความเป็ นพิษต่อสุ ขภาพสู ง เป็ นสารก่อมะเร็ง เช่น Cyanide Waste, Chloroform,
หรื อมีผลกระทบต่อระบบพันธุกรรม
CCl4, EtBr, Formaldehyde,
Acrylate, Pyridine เป็ นต้น
6
Acid Solution
ของเสี ยที่มีค่า pH ต่ากว่า 7
เช่นกรดอินทรี ย,์ กรดไนตริ ก,
กรดซัลฟิ วริ ก, กรดไฮโดรคลอริ ก,
กรดฟอสฟอริ ก เป็ นต้น
7
Base Solution
ของเสี ยที่มีค่า pH สู งกว่า 7
เช่น แอมโมเนีย สารประกอบ
ไฮดรอกไซด์ เช่น NaOH, KOH,
NH4OH เป็ นต้น
8
Oxidizing Agent
สารที่ทาหน้าที่รับอิเล็กตรอนจากสารอื่น
เช่น KMnO4, H2O2, KClO4,
NaOCl เป็ นต้นเป็ นต้น
ประเภทของเสี ยสารเคมี
ลำดับที่
กลุ่ม
รำยละเอียด
ตัวอย่ ำง
9
Reducing Agent
สารที่ทาหน้าที่ให้อิเล็กตรอนแก่สารอื่น ได้แก่ สารใน
กลุ่ม Hydride
เช่น LiAlH4, NaBH4 เป็ นต้น
10
Unknown
ของเสี ยที่ไม่สามารถระบุได้วา่ เป็ นสารเคมีอะไร มาจาก
ที่ไหน เป็ นต้น
-
11
Solid Waste
ของเสี ยทุกชนิดที่มีสถานะเป็ นของแข็ง
-
12
Contaminated Packing
เศษแก้ว อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองที่ปนเปื้ อนสารเคมี
-
ตัวอย่ างจัดเก็บของเสี ยสารเคมีในห้ องปฏิบัตกิ าร
หลักการจัดเก็บของเสี ยสารเคมีในห้ องปฏิบัติการ
1.
2.
3.
4.
ระบุประเภทของเสี ยที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ อย่างชัดเจน
จัดเตรี ยมภาชนะจัดเก็บให้ถกู ต้องตามประเภทของเสี ย
ติดฉลากระบุประเภทของเสี ย และระบุชื่อผูร้ ับผิดชอบ
มีถาดรองรับของเสี ยรั่วไหลได้ร้อยละ 10 ของถัง และถาดต้องทาจากวัสดุ
ที่ทนต่อการกัดกร่ อนหรื อไม่เสี ยรู ปเมือสัมผัสของเสี ย
5. ไม่ควรวางภาชนะของเสี ยที่เข้ากันไม่ได้ไว้ดว้ ยกัน
6. เตรี ยมอุปกรณ์ป้องกันภัยเฉพาะบุคคล (PPE) เช่น ถุงมือ แว่น เสื้ อกาวน์
แขนยาว
หลักการจัดเก็บของเสี ยสารเคมีในห้ องปฏิบัติการ
การเลือกสถานที่จัดเก็บของเสี ยสารเคมี
1.
2.
-
สถานทีจ่ ัดเก็บภายในห้ องปฏิบัติการ
แบ่งแยกออกมาจากส่ วนที่ปฏิบตั ิการ
อยูใ่ นบริ เวณที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก
ไม่อยูใ่ กล้แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า และสถานที่ต้ งั ต้องไม่กีดขวางทางเดิน
แบ่งแยกของเสี ยที่อยูร่ วมกันกับของเสี ยอื่นไม่ได้
สถานทีจ่ ัดเก็บของเสี ยประจาอาคาร
ควรเป็ นสถานที่ ที่อยูช่ ้ นั ล่างสุ ดของอาคาร
มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก
ไม่อยูใ่ กล้แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า และสถานที่ต้ งั ต้องไม่กีดขวางทางเดิน
แยกของเสี ยที่อยูร่ วมกันกับของเสี ยอื่นไม่ได้
กาจัดของเสี ย : ส่ งกาจัด
การส่ งกาจัดของเสี ยสารเคมีจะต้องสอดคล้องตามกฎกระทรวง ที่ออกตามความใน
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ซึ่ งจะจาแนกโรงงานอุตสาหกรรมที่ประกอบ
กิจการการจัดการกากอุตสาหกรรมไว้ 3 ประเภท
ประเภท 101 โรงงานปรับคุณภาพของเสี ยรวม
ประเภท 105 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการคัดแยกหรื อฝังกลบสิ่ งปฏิกลู
หรื อวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนดไว้ใน กฎกระทรวงฉบับที่ 2 พ.ศ.
2535 แยกเป็ น โรงงานคัดแยกของเสี ย และ โรงงานฝังกลบของเสี ย
ประเภท 106 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ไม่
ใช้แล้วหรื อของเสี ยจากโรงงาน มาผลิตเป็ นวัตถุดิบหรื อผลิตภัณฑ์ใหม่โดยผ่าน
กรรมวิธีทางอุสาหกรรม
การดาเนินการจัดเก็บของเสี ยสารเคมี
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการของเสี ยสารเคมี
กรอกข้ อมูลของเสี ยสารเคมี
รายงานผล
ต้ องการส่ งกาจัด
คานวณราคาส่ งกาจัด
ยืนยันการส่ งกาจัด
การดาเนินการจัดเก็บของเสี ยสารเคมี
ส่ วนงานภายในมหาวิทยาลัย
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการของเสี ยสารเคมี
นัดวันส่ งกาจัด
บริษัทเข้ ารับของเสี ยสารเคมี
ออกใบแจ้ งหนี้
ส่ งเงินคืนมหาวิทยาลัย โดยวิธีการตัดโอน
อัตราการค่ าส่ งกาจัดของเสี ยสารเคมี
อัตราการค่ าส่ งกาจัดของเสี ยสารเคมี
ลาดับที่
ประเภท
ราคา (บาท)
ราคา/กิโลกรัม (บาท)
1
ของเสียสารเคมี ปริมาณ 1 ตัน
53,500
53.5
2
ของเสียสารเคมี ปริมาณ 3 ตัน
115,560
38.52
3
ของเสียสารเคมี ปริมาณ 6 ตัน
211,860
35.31
4
ของเสียอันตรายจากชุมชน
ปริมาณ 1 ตัน
26,750
26.75
บริษทั เอ็น-เทคโนโลยี คอนซัลแตนท์ จำกัด
การดาเนินการจัดเก็บของเสี ยสารเคมี
การดาเนินการจัดเก็บของเสี ยสารเคมี
การดาเนินการจัดเก็บของเสี ยสารเคมี