การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง Continuous Ambulatory

Download Report

Transcript การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง Continuous Ambulatory

การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง
Continuous
Ambulatory
Peritoneal
Dialysis
Academic in service
นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ 483150042-1
นศ.ภ. สลีลา เบ็ญจวิไลกุล 483150187-5
เนื้อหาการนาเสนอ
1
Introduction of kidney
2
ภาวะไตวาย (Renal Failure)
3
Introduction of CAPD
4
Method of CAPD & Other
Introduction of kidney
1 Endocrine function
โครงสร้ างและหน้ าที่ของไต
▪ หลัง่ สาร renin ที่เซลล์ Juxta Glomerular Apparatus
▪ สร้างและเมตาบอลิซึมสาร Prostaglandins และ
Kinins
▪ สร้างและหลัง่ Erythropoietinที่กระตุน้ การเจริ ญของ
เม็ดเลือดแดงในไขกระดูก
2 Metabolic function
▪ Activated vitamin D3 ให้อยูใ่ นรู ปที่ active ซึ่ งมี
บทบาทในการควบคุม Ca&PO4 balance
▪ Gluconeogenesis
▪ เมตาบอลิซึมของ Exogenous compound เช่น insulin
และ steroid
3 Excretory function
▪ ขับ metabolic waste product
▪ ควบคุมสมดุลของน้ า Electrolyte และกรดเบส
Introduction of kidney(cont.)
ประสิทธิภาพการทางานของไต
• บ่ งชี้ได้ จากค่ า GFR
[ GFR เป็ นค่าปริ มาณพลาสมาที่กรองผ่าน Glomerulus ต่อหน่วยเวลา(L/hr, ml/min) ]
• โดยปกติจะใช้ ค่า Serum Creatinine(SCr) เป็ นตัววัดหาค่ า GFR
[ SCr เป็ นสารที่มีอยูใ่ นร่ างกาย เกิดจากการเมตาบลิซึม ของ Creatine และ
Phosphocreatine ของกล้ามเนื้อ มันจะถูกขับออกทางปัสสาวะโดยการกรองที่ไตในส่ วน
ของ Glomerulus 100% ซึ่งมันจะไม่ถูกดูดกลับเข้าร่ างกาย ] (ค่า SCr = 0.5-1.5 mg/dl)
• อัตราการขับออกของ SCr ขึน้ กับอัตราการกรองที่ Glomerulus (GFR)
ถ้ าหากไตมีความผิดปกติเกิดขึน้ โดยทาให้ ค่า GFR ลดลง จะส่ งผลทาให้ ค่า
SCr เพิม่ ขึน้ ด้ วย
ภาวะไตวาย(Renal Failure)
● ภาวะไตวายเฉียบพลัน (Acute Renal Failure)
● ภาวะไตวายเรื้ อรัง (Chronic Kidney Disease)
Stage of CKD
Stage
Description
GFR (ml/min/1.73 m2 )
1
Kidney damage with normal or increased GFR
≥ 90
2
Kidney damage with mild decreased GFR
60-89
3
Moderate decreased GFR
30-59
4
Severe decreased GFR
15-29
5
Kidney failure
<15 or on dialysis
การรักษาภาวะไตวายเรื้ อรัง
♦ การควบคุมอาหาร
และการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
♦ การฟอกเลือดด้วย
เครื่ องไตเทียม
(Hemodialysis)
♦ การรักษาด้วยยา
♦ การล้างไตทางช่อง
ท้อง (Peritoneal dialysis)
♦ ภายหลังการปลูกถ่าย
ไต ผูร้ ับบริ จาคไตทุก
ชนิดต้องรับประทานยา
กดภูมิคุม้ กันไปตลอด
เพื่อป้ องกันการต่อต้าน
ไตใหม่ของร่ างกาย
การล้างไตทางช่องท้อง(Peritoneal Dialysis)
♠ การฟอกไตทางช่องท้องที่มีน้ ายาอยูใ่ นช่องท้องตลอดเวลา
(continuous peritoneal dialysis)
Continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD)
Continuous cyclic peritoneal dialysis (CCPD)
♠ การฟอกไตทางช่องท้องชนิดที่มีน้ ายาอยูใ่ นช่องท้องเพียงบางช่วงของ
วันหรื อเพียงบางวัน
(intermittent PD: IPD หรื อ automated PD: APD)
การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง
(Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis)
Introduction of CAPD
เป็ นการฟอกไตทางช่ องท้ องอย่ างต่ อเนื่องโดยการเปลีย่ นถ่ ายนา้ ยาด้ วยตนเองโดยเปลี่ยนตอน
กลางวัน 3 ครั้ง และก่ อนนอนอีก 1 ครั้ง อย่ างไรก็ตามความถี่ ในการเปลีย่ นถ่ ายนา้ ยา รวมถึงปริมาตรนา้ ยา
ทีใ่ ช้ จะปรับให้ เหมาะสมกับผู้ป่วยโดยจะพิจารณาจาก residual renal function และคุณสมบัติของเยือ่ บุ
ช่ องท้ องในการแลกเปลีย่ นสาร
C = Continuous
นา้ ยาล้ างไตจะอยู่ในช่ องท้ องตลอดเวลา
A = Ambulatory
ผู้ป่วยสามารถเคลือ่ นไหวได้ อย่ างอิสระและสามารถทากิจวัตรประจาวันได้ ในระหว่ างการ
เปลีย่ นถ่ ายนา้ ยา
P = Peritonial
peritoneum คือ membrane ภายในช่ องท้ อง ทางานเหมือนเป็ นตัวกรองในการถ่ ายของ
เสี ยออกจากเลือด
D = Dialysis
เลือดภายในร่ างกายจะถูกกรองและถ่ ายของเสี ย,นา้ ออก
Introduction of CAPD (cont.)
ข้ อบ่ งชี้และข้ อห้ ามในการฟอกไตทางช่ องท้ องแบบถาวร
Indication
♦ ผู้ป่วยต้ องการฟอกไตทางช่ องท้ องหรือไม่ สามารถฟอกเลือด
ทดแทนได้
♦ ไม่ สามารถทนต่ อการเปลีย่ นแปลงของปริมาณเกลือแร่ และนา้ ใน
ร่ างกายได้ ในระยะเวลาอันสั้ น เช่ น CHF,IHD
♦ vascular access problem
♦ ผู้ป่วยต้ องการฟอกไตทดแทนทีบ่ ้ านแต่ ขาดผู้ช่วยทาการฟอก
เลือดแบบ home hemodialysis
♦ ผู้ป่วยเด็กเล็ก
Introduction of CAPD (cont.)
Absolute contraindication
♦ Extensive intra peritoneal fibrosis
♦ ผู้ป่วยไม่ สามารถทาการฟอกไตด้ วยตนเองได้ และปราศจากผู้ช่วยที่
เหมาะสม
♦ Uncorrected hernia,Omphalocele,Gastrochisis และ Bladder extrophy
Method of CAPD
อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการเปลีย่ นถ่ ายนา้ ยา
▪ สายส่ งนา้ ยา (peritoneal catheter)
▪ นา้ ยา dialysis
▪ สายเชื่อมระหว่ างถุงและสายส่ งนา้ ยา dialysis (Transfer set)
นา้ ยา dialysis
ประกอบด้ วยสารละลายผสม 3 กลุ่ม คือ
▪ สารที่ทาหน้ าทีเ่ ป็ น osmotic agent ดึงนา้ เข้ าหาตัว
▪ สารที่ทาหน้ าทีเ่ ป็ นบัฟเฟอร์ ได้ แก่ lactate และ HCO3▪ สารละลายเกลือแร่ ได้ แก่ โชเดียม คลอไรด์ แคลเซียม และแมกนีเซียม
Method of CAPD
ขั้นตอนการฟอกหน้ าท้ อง
Infusion (fill) period
Dwell period
Drainage period
แบ่ งออกเป็ น 3 ขั้นตอน คือ
ภาวะแทรกซ้อนจากการทา CAPD
1 การติดเชื้อของช่องทางออกและอุโมงค์ (exit site and tunnel infection)
2 การติดเชื้อในช่องท้อง (peritonitis)
3 ภาวะ ultrafiltration failure
4 การเสื่ อมของเยือ่ บุผนังช่องท้อง
เป้ าหมายในการฟอกไตทางช่ องท้ อง
ผูป้ ่ วยปราศจากอาการและอาการแสดงของภาวะยูรีเมียรวมทั้งสามารถลด
อัตราการเจ็บป่ วยและอัตราการตายลง
ปัจจัยอื่นๆ : สมดุลน้ าในร่ างกายและภาวะการติดเชื้อในช่องท้อง
National Kidney Foundation-Dialysis
Outcome Quality Initiative (NKF-DOQI) quideline
-total weekly Kt/V มากกว่าหรื อเท่ากับ 2
-total weekly CCr มากกว่าหรื อเท่ากับ 50 ลิตรต่อ 1.73 ตารางเมตร
การเตรี ยมสถานที่ และ อุปกรณ์สาหรับทา CAPD
ถังขยะและภาชนะรองรับถุงนา้ ยา
บริเวณเก็บนา้ ยาต้ องไม่ ร้อน,ชื้น
ไม่ โดนแสงแดด
โต๊ ะวางอุปกรณ์ และกล่องเก็บอุปกรณ์
ที่เช็ดทาความสะอาดได้
ห้ องปิ ดมิดชิดและแสงสว่างเพียงพอ
ควรมีอ่างล้างมือใกล้บริเวณ
เปลีย่ นถ่ ายนา้ ยา
อุปกรณ์ ที่ใช้ แขวนถุงนา้ ยาและนาฬิ กา
Advantages and disadvantages
Advantages
Disadvantages
General
Compared to HD
-สามารถทาได้ ด้วยตนเอง ที่บ้าน
-ไม่ ต้องแทงเข็มบ่ อยๆ
-ช่ วยรักษา,คงภาวะการทางานของ
ไตได้ ดกี ว่า จากการกาจัดนา้ และ
ของเสีย(ชะลอความเสื่อมของไต)
-มีการเปลีย่ นแปลงของสารนา้ และ
ของเสียภายในเลือดอย่ างค่อยเป็ น
ค่อยไป
-สามารถเรียนรู้ วธิ ีการ
ทาได้ ง่าย (3-5วัน)
- ได้ รับความพึงพอใจ
สู ง จากผู้ป่วย
General
- Peritonitis การติดเชื้อในช่ อง
ท้ อง (มักเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย)
- Exit site infection เป็ นการติด
เชื้อบริเวณผิวทีต่ ่ อกับ catheter :
ป้ องกันได้ โดย รักษาเสื้อผ้ าให้
สะอาดเสมอ , ล้างทาความสะอาด
มือและทาให้ แห้ งก่อนมีการสั มผัส
catheter และบริเวณทีเ่ ชื่อมต่ อ