แนวคิดในการจัดตั้งคลินิกดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (CKD Clinic Model)

Download Report

Transcript แนวคิดในการจัดตั้งคลินิกดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (CKD Clinic Model)

การจัดตัง้ คลินิกดูแลผู้ป่วยไตเรือ้ รัง
พญ.เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง
อายุรแพทย์ โรคไต รพ.พระนครศรีอยุธยา
แนวคิดในการจัดตั้งคลินิกดูแลผูป้ ่ วยโรคไตเรื้ อรัง
(CKD Clinic Model)
1. จานวนผูป้ ่ วยโรคไตเรื้ อรังเพิ่มขึ้นมากในปัจจุบนั
2. ค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง
3. Burden ต่อผูป้ ่ วย ,ครอบครัว และสังคม
วัตถุประสงค์ของคลินิกดูแลผูป้ ่ วยโรคไตเรื้ อรัง มีดงั นี้
1. เพื่อป้ องกันหรื อชะลอการเกิดไตวายเรื้ อรังระยะสุ ดท้าย
2. เพื่อควบคุม และให้การรักษาภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่เกิดขั้นจาก
โรคไต เรื้ อรัง
3. เพื่อป้ องกัน หรื อลดปั จจัยเสี่ ยงในการเกิดโรคร่ วมต่างๆ โดยเฉพาะ
โรคทางระบบหลอดเลือดหัวใจ
4. เพื่อเตรี ยมผูป้ ่ วยให้พร้อมกับการบาบัดทดแทนไต
5. เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผูป้ ่ วยโรคไตเรื้ อรัง
ระยะความรุ นแรง
อัตราการกรองทีไ่ ต
(มิลลิลติ ร/นาที/1.73
ตารางเมตร ของพืน้ ที่ผวิ กาย)
โรคไตเรื้ อรังระยะที่ 1 ไตยังทางานปกติ แต่ตรวจพบความ
ผิดปกติของไต เช่น ปัสสาวะมีตะกอนผิดปกติ อาจจะเรี ยก
ได้วา่ “ไตเริ่ มผิดปกติ”
ไตทางานเหลือ > 90%
โรคไตเรื้ อรังระยะที่ 2 มีร่องรอยการเกิดโรคไตและอัตรา
การกรองที่ไตลดลงเล็กน้อย “ไตเรื้ อรังระยะเริ่ มต้น”
ไตทางานเหลือ 60 – 90%
โรคไตเรื้ อรังระยะที่ 3 อัตราการกรองที่ไตลดลงปานกลาง
“ไตเรื้ อรังระยะปานกลาง”
ไตทางานเหลือ 30 – 60%
โรคไตเรื้ อรังระยะที่ 4 อัตราการกรองที่ไตลดลงมาก
“ไตเรื้ อรังเป็ นมาก”
ไตทางานเหลือ 15 – 30%
โรคไตเรื้ อรังระยะที่ 5 ภาวะไตวายระยะรุ นแรง “ไตวาย”
ไตทางานเหลือน้อยกว่า 15%
การประเมินค่ า estimated GFR
การดูแลรักษาโรคไตเรื้อรังระยะต่ างๆ
ระยะของโรคไต
การดูแลรักษา
โรคไตเรื้อรังระยะที่ 1
งดสู บบุหรี่ รักษาควบคุมโรคที่เป็ น
สาเหตุของโรคไตเรื้อรัง
โรคไตเรื้อรังระยะที่ 2
จากัดอาหารเค็ม
โรคไตเรื้อรังระยะที่ 3
จากัดอาหารโปรตีน
โรคไตเรื้อรังระยะที่ 4
จากัดการกินผลไม้
โรคไตเรื้อรังระยะที่ 5
เตรียมตัวรับการล้างไตหรือผ่ าตัด
ปลูกถ่ ายไต
องค์ประกอบของคลินิกดูแลผูป้ ่ วยโรคไตเรื้ อรัง
1.การดูแลผูป้ ่ วยที่หอ้ งตรวจโรคผูป้ ่ วยนอกโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ
2. การให้สุขศึกษา
การดูแลรักษาผูป้ ่ วยที่หอ้ งตรวจโรคผูป้ ่ วยนอก
โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ
ผูป้ ่ วยโรคไตเรื้ อรัง ทีมสหสาขาวิชาชีพ
สถานที่ตรวจ
เอกสารและอุปกรณ์
การติดตามการรักษา
ผูป้ ่ วยโรคไตเรื้ อรังในคลินิกดูแลผูป้ ่ วยโรคไตเรื้ อรัง
- ผูป้ ่ วย GFR ลดลงปานกลาง (stage 3) GFR 30-59 ml/min/1.73 m2
- ผูป้ ่ วยไตผิดปกติ GFR ลดลงเล็กน้อยหรื อปกติ (stage 1,2)
ที่มี - Uncontrolled hypertension
- Hematuria
- Proteinuria
- Structural Lesion
การคัดเลือกผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็ น
โรคไตเรื อ้ รังเข้ ารักษาในคลินิกโรคไตเรื อ้ รัง
- Check list
โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิ ตสูง
โรคภูมิแพ้ตนเอง (autoimmune disease)
โรคติดเชื้อในระบบ (systemic infection)
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะซ้ าหลายครั้ง
การคัดเลือกผูป้ ่ วยที่มีความเสี่ ยงสูงต่อการเป็ นโรค
ไตเรื้ อรังเข้ารักษาในคลินิกโรคไตเรื้ อรัง (ต่อ)
ได้รับสารพิษหรื อยาที่ทาลายไต
อายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไป
มีมวลเนื้อไตลดลง ทั้งที่เป็ นมาแต่กาเนิ ดหรื อเป็ นภายหลัง
มีประวัติโรคไตเรื้ อรังในครอบครัว
ตรวจพบนิ่วในไต
- จากการส่ งต่อผูป้ ่ วย
- จากการค้นหาจากระบบข้อมูลของทางโรงพยาบาล
- ผูป้ ่ วยที่รับการดูแลในคลินิกโรคไตอยูแ่ ล้ว
ทีมสหสาขาวิชาชีพ
-
อายุรแพทย์โรคไต
พยาบาล
นักกาหนดอาหาร
เภสัชกร
อายุรแพทย์ โรคไต
- ประเมินระยะของโรคไตจาก eGFR
- ประเมินโรคร่ วมพื้นฐาน และปัจจัยเสี่ ยงที่จะทาให้เกิดโรค
หลอดเลือด หัวใจ
- ประเมินความรุ นแรงของภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากโรคไต
เรื้ อรัง
- กาหนดแผนการรักษาในผูป้ ่ วยแต่ละราย ตามระยะของโรคไต
- บริ หารจัดการทรัพยากรและบุคลากรใน CKD Clinic
- ประเมินประสิ ทธิภาพของ CKD Clinic ในการดูแลผูป้ ่ วยโรคไต
อายุรแพทย์ โรคไต (ต่ อ)
- เผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับการคัดกรองและกาหนดแนวทางการส่ งต่อ
ผูป้ ่ วยมายัง CKD Clinic
- ร่ วมกาหนดหัวข้อที่จะให้สุขศึกษาแก่ผปู ้ ่ วย และเอกสารวัสดุ อุปกรณ์
การสอน
พยาบาล
- การดูแลผูป้ ่ วย
- การประสานงาน (Coordination
management)
- การจัดการข้อมูลและสื่ อสาร (Information and
communication)
- การจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change
management)
- การจัดการด้านการเงิน (Financial management)
บทบาทของเภสั ชกร
นักกาหนดอาหาร
- ให้ความรู ้ทางด้านโภชนาการ อาหารที่เหมาะสมสาหรับผูป้ ่ วย
โรคไตเรื้ อรัง
- ช่วยแนะนาอาหารที่มี ส่ วนประกอบของเกลือโซเดียม
โปตัสเซี่ยม ฟอสฟอรัส ปริ มาณไขมันสูง เพื่อให้ผปู ้ ่ วยที่มี
ภาวะแทรกซ้อนนั้นๆ หลีกเลี่ยงหรื อลดอาหารจาพวกนี้
- ช่วยประเมินภาวะบกพร่ องทางโภชนาการ(Mulnutrition)และ
กาหนด ปรับเปลี่ยนสัดส่ วนของอาหารให้เหมาะสมแก่ผปู ้ ่ วยนั้นๆ
นักกาหนดอาหาร(ต่ อ)
- ช่วยประเมินภาวะโรคอ้วนและกาหนดปรับเปลี่ยนสัดส่ วนของ
อาหารให้เหมาะสมเพื่อช่วยให้ผปู ้ ่ วยลดน้ าหนัก
- ร่ วมจัดกิจกรรมให้ความรู ้แก่ผปู ้ ่ วยโรคไตเรื้ อรัง
กิจกรรมผู้ป่วยสั มพันธ์
Take Home Message





คัดกรองผูป้ ่ วยกลุ่มเสี่ ยงเพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาตั้งแต่ระยะต้น
รักษาโรคต้นเหตุอย่างมีประสิ ทธิภาพและมีการป้ องกันไม่ให้เกิด
โรคไตเรื้ อรัง
มีการส่ งต่อผูป้ ่ วยตามลาดับของโรค
การทางานร่ วมกันของสหสาขาวิชาชีพ
ลดจานวนผูป้ ่ วยที่ตอ้ งมาทาการบาบัดทดแทนไต
THANK YOU
FOR
YOUR ATTENTION