Ebola Virus Disease - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

Download Report

Transcript Ebola Virus Disease - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

Ebola Virus Disease
วิเชฎฐ์ ยาทองไชย
นายสั ตวแพทย์ ชานาญการพิเศษ
สานักงานปศุสัตว์ จังหวัดสกลนคร
ตระกูลและสายพันธุ์
Family:
Filoviridae
Filovirus
Genus: Marburgvirus
Ebolavirus
Cuevavirus
Nakayama, E., & Saijo, M., 2013
2
Marburgvirus
• 1967
• Marburg ในเยอรมนี และ ยูโกสลาเวีย
• พบในคนที่ทางานในห้ องปฏิบัติงานซึ่งสั มผัสกับลิง
(Africal green vervet monkey) ที่ส่งมาจากประเทศยูกานดา
• มีผู้ป่วยทั้งหมด 31 ราย เสี ยชีวติ 7 ราย
3
ตระกูลและสายพันธุ์
Family:
Filoviridae
Filovirus
Genus: Marburgvirus
Ebolavirus
Cuevavirus
Nakayama, E., & Saijo, M., 2013
4
Cuevavirus
• 2010
•
•
•
•
“Lloviu cuevavirus”
พบในค้ างคาว ผลไม้ Miniopterus schreibersii
ถา้ ในประเทศสเปน โปรตุเกส และฝรั่งเศส
เป็ น filovirus ตัวแรกทีพ่ บต้ นกาเนิดในยุโรป
ไม่ ก่อโรคในมนุษย์
5
ตระกูลและสายพันธุ์
Family:
Filoviridae
Filovirus
Genus: Marburgvirus
Ebolavirus
Cuevavirus
Nakayama, E., & Saijo, M., 2013
6
Ebola Virus
Genus Ebolavirus is 1 of 3 members of the Filoviridae family (filovirus).
•Genus Marburg virus and genus Cueva virus.
•Comprises 5 distinct species:
–Bundibugyo ebolavirus (BDBV)
–Zaire ebolavirus (EBOV)
–Reston ebolavirus (RESTV)
–Sudan ebolavirus (SUDV)
–Taï Forest ebolavirus (TAFV)
Ebola Virus Disease
• BDBV EBOV และ SUDV นั้นเกี่ยวข้องกับการระบาดของ EVD
ในแอฟริ กา
• ส่ วน RESTV นั้นพบในประเทศฟิ ลิปปิ นส์และสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนจีน ซึ่งสามารถติดในมนุษย์ได้โดยไม่มี
อาการป่ วยหรื อตายแต่อย่างใด
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
Ebola Virus Disease : EVD
• เป็ นโรคอุบัตใิ หม่ /อุบัตซิ ้า ทีร่ ้ ายแรงมาก ทาให้ มกี าร
ป่ วยตายในมนุษย์ และสั ตว์ ตระกูลลิง
• อัตราการตาย 50-90%
เชื้อโรคนีต้ ิดต่ อกันทางการสั มผัสเลือด
สารคัดหลัง่ ของเหลวจากอวัยวะหรือส่ วน
ต่ างๆของร่ างกายของสั ตว์ ที่ติดเชื้อ
Ebola Virus Disease
• ในแอฟริกานั้นมีรายงานการติดเชื้อจากการ
สั มผัสสั ตว์ ที่มีเชื้ออย่ าง ลิงชิมแปนซี กอริลลา
ค้ างคาวผลไม้ ลิง ละมั่งป่ า เม่ น โดยพบว่าสัตว์
เหล่านี้จะมีอาการป่ วยและตายอยูใ่ นป่ าดิบชื้น
Ebola Virus Disease
• ระยะฟักตัวของโรค 2-21 วัน โดยพบได้ทุกกลุ่ม
อายุ อาการ ไข้สูง อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ
เจ็บคอ ตามด้วยอาการท้องเสี ย อาเจียน ผืน่ ไตและตับไม่
ทางาน บางรายมีเลือดออกทั้งภายในและภายนอก ตรวจ
เลือดพบเม็ดเลือดขาวต่า
• พบเชื้อได้ ในค้ างคาวผลไม้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สายพันธุ์ Hypsignathus
monstrosus (hammer-headed fruit bat), Epomops
franqueti (Franquet's epauletted bat) และ Myonycteris
torquata (little collared fruit bat) ซึ่งเป็ นที่อยู่ (host) ของไวรัส
อีโบลา การกระจายตัวทางสภาพภูมิศาสตร์ของไวรัสอีโบลาอาจเกิด
จากแนวทับซ้อนของค้างคาวผลไม้
Hypsignathus monstrosus (hammer-headed fruit bat)
Epomops franqueti (Franquet's epauletted bat)
Myonycteris torquata (little collared fruit bat)
การระบาดครัง้ แรก
• 1976
– ประเทศซูดาน มีผเ้ ู สียชีวิต 151 รายจากผูป้ ่ วย 284 ราย (53%)
อีโบลา-ซ ูดาน (Sudan; SEBOV)
– ประเทศคองโก (เดิม: ซาอีร)์ มีผเ้ ู สียชีวิต 280 รายจากผูป้ ่ วย
318 ราย (88%)
อีโบลา-ซาอีร ์ (Zaire; ZEBOV)
1976
18
Feldmann & Geisbert, 2010
อีโบลา-ซาอีร ์
1976
• ผูป้ ่ วย
สงสัยมาลาเรีย
รพ. ยัมบูก ุ
• ฉีดยา Chloroquin
กลับบ้าน
5 วัน ป่วยซ้า
รพ. ยัมบูก ุ
7 วัน เสียชีวิต
• ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
• ผูต้ ิดเชื้อ 82 ราย ตัง้ ครรภ์ (25% แท้งบ ุตรก่อนที่จะเสียชีวิต)
• เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลซึ่งรับการฉีดวัคซีนป้องกัน
โรคทัยฟอยด์
19
อีโบลา-ซ ูดาน
1976
เมือง Nzara
128 กม.
เมือง Maridi
• คนงานโรงงานฝ้าย
ช ุมชน
เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล
• การระบาดภายนอกโรงพยาบาลสงบลงเองโดยไม่ได้ดาเนิน
มาตรการควบค ุมใดๆ
20
แผนภาพแสดงการแพร่ระบาดของอีโบลา-ไทฟอร์เรสต์
1994
1994
21
แผนภาพแสดงการแพร่ระบาดของอีโบลา-บูนดิบเู กียว
ยูกนั ดา
2007 ตาย 34%
22
แผนภาพแสดงการแพร่ระบาดของอีโบลา-เรสตัน
2014
1992
1989
2008
1989
23
• RESTV เป็ นสาเหตุการระบาดอย่ างรุ นแรงของ EVD ในลิงแสม
(macaque monkeys: Macaca fascicularis)
ในฟาร์ มประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ และตรวจพบในลิงของฟิ ลปิ ปิ นส์ที่นาเข้ าไปในประเทศ
สหรัฐอเมริ กา โดยพบในสถานีกกั กันโรคเมืองเรสตัน รัฐเวอร์ จิเนีย เป็ นลิงแสมที่สง่ ไป
จากฟาร์ ม ชานกรุงมะนิลา ลิงที่เพาะไว้ จาหน่ายเพื่อใช้ เป็ นสัตว์ทดลองที่ฟาร์ มแห่ง
หนึง่ บนเกาะมินดาเนา ลิงจะถูกกักกันไว้ ก่อนส่งต่อไปยังห้ องปฏิบตั ิการต่างๆ เพื่อให้
แน่ใจว่าไม่นาโรคจากป่ ามาแพร่ในเมือง โดยเฉพาะแพร่สนู่ กั วิจยั ในระหว่างกักกันลิง
ได้ ล้มเจ็บลงหลายตัวเกือบทังฝู
้ ง และมีอตั ราตายสูง การสอบสวนและตรวจชันสูตร
ทางห้ องปฏิบตั ิการพบว่าเป็ น “ไวรัสอีโบลา” หากลิงติดเชื ้อ โรคจะเกิดแก่ลงิ ที่มีความ
รุนแรงมาก อัตราตายสูง แม้ วา่ จะก่อให้ เกิดการติดเชื ้อในมนุษย์ได้ เหมือนกัน
(พิสจู น์ได้ จากการตรวจเลือดผู้สมั ผัสใกล้ ชิดเช่นผู้เลี ้ยงและสัตวแพทย์ผ้ ดู แู ลสุขภาพลิง)
แต่กลับไม่ก่อโรคที่มีอาการป่ วยดังเช่นสายพันธุ์ซาอีร์และสายพันธุ์ซูดานจึงเรี ยกชื่อสาย
พันธุ์ไม่นี ้ ว่า“สายพันธุ์เรสตัน” หรื อ Ebola-R) โดยพบในปี ค.ศ. 1989, 1990
และ 1996 และลิงที่นาเข้ าไปยังประเทศอิตาลีในปี 1992
Year
Country
Ebolavirus species
Case fatality
2012
Democratic Republic of Congo
Bundibugyo
51%
Uganda
Sudan
57%
Uganda
Sudan
71%
Uganda
Sudan
100%
Democratic Republic of Congo
Zaire
44%
Uganda
Bundibugyo
25%
Democratic Republic of Congo
Zaire
71%
Congo
Zaire
83%
Sudan
Sudan
41%
2003 (Nov-Dec)
Congo
Zaire
83%
2003 (Jan-Apr)
Congo
Zaire
90%
Congo
Zaire
75%
Gabon
Zaire
82%
2012
2012
2011
2008
2007
2007
2005
2004
2001-2002
2001-2002
2000
1996
Uganda
Sudan
53%
South Africa (ex-Gabon)
Zaire
100%
1996 (Jul-Dec)
Gabon
Zaire
75%
1996 (Jan-Apr)
Gabon
Zaire
68%
Democratic Republic of Congo
Zaire
81%
Cote d'Ivoire
Taï Forest
0%
Gabon
Zaire
60%
Sudan
Sudan
65%
Democratic Republic of Congo
Zaire
100%
Sudan
Sudan
53%
Zaire
88%
1995
1994
1994
1979
1977
1976
1976
Democratic Republic of Congo
WHO, 2014
25
2. อีโบลา ที่กาลังระบาดอยูเ่ ป็นสายพันธใุ์ ด ???
การตรวจวินิจฉัยโรคอีโบลา ทาได้อย่างไร??
ช่วงเวลาของการติดเชื้อ
ระยะเวลา 2-3 วันหลังจากแสดงอาการ
ระยะต่อมาหรือหลังจากหายป่วยแล้ว
ชันสูตรจากผูเ้ สียชีวิต

การตรวจวินิจฉัย
Antigen-capture enzyme-linked
immunosorbent assay (ELISA) testing

IgM ELISA

RT-PCR/ real-time RT-PCR


Virus isolation
IgM and IgG antibodies
Immunohistochemistry testing

RT-PCR/ real-time RT-PCR

Virus isolation

การตรวจโรคอีโบลา ต้องทาในห้องปฏิบตั ิการ
ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับใด???
•
Texas Biomedical Research Institute
การวินิจฉัย
• การวินิจฉัยโดยการตรวจ antigen-RNA หรื อ genes ของไวรัส
จากตัวอย่างเลือด หรื อ ตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัส หรื อ แยกเพาะ
เชื้อไวรัส การตรวจตัวอย่างเหล่านี้ มีความเสี่ ยงต่อการติดเชื้อมาก ต้อง
ทาในห้องปฎิบตั ิการที่มีการป้ องกันระดับสูง
(สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค, 2557)
อีโบลา ถูกทาลายได้ หรือไม่ อย่ างไร ???
• ความทนทานของเชื้อ
อีโบลาสามารถอยู่ในของเหลวหรือสารแห้ ง (dried material) เป็ นเวลา
หลายวัน เชื้อไวรัสยังมีความสามารถในการติดเชื้อได้ นอกโฮสต์ ที่
อุณหภูมิห้อง หรือ 4°C เป็ นเวลาหลายวัน
• การทาลายเชื้อไวรัสอีโบลา
-ความร้ อน 60°C เป็ นเวลา 30-60 นาที หรือต้ มในนา้ เดือดนาน 5 นาที
-ฉายด้ วยรังสี แกมมา
-สารละลายไขมัน ฟอร์ มาลีน 1% เบตา-โปรปี โอแลคโตน กรดอะซิติค3%
ยาฆ่ าเชื้อพวกสารประกอบ phenolic นา้ ยาโซเดียมไฮโปคลอไรด์
มียารักษาทีไ่ ด้ ผล และวัคซีนสาหรับอีโบลาหรือไม่ ???
• ยังไม่ มียารักษาจาเพาะและวัคซีนป้องกันโรคในคน
• ยังไม่ มีวัคซีนป้ องกันโรคที่ขนึ้ ทะเบียนสาหรับสั ตว์
• ผู้ป่วยต้ องได้ รับการดูแลแบบพยุงอาการ โดยให้ สารนา้ และ อิเล็กโตรไลท์
ทางหลอดเลือด ยาปฏิชีวนะ สารช่ วยให้ เลือดแข็งตัว
บทบาทของกรมปศุสัตว์
• กรมปศุสัตว์ ดาเนินการจัดประชุ มรับมือโรคอีโบลา ร่ วมกับกรมอุทยานฯ
องค์ การสวนสั ตว์ ม.มหิดล สั ตวแพทยสมาคม
• สถาบันสุ ขภาพสั ตว์ แห่ งชาติ. เตรียมพร้ อมตรวจตัวอย่ างทาง
ห้ องปฏิบัติการ
• กองสารวัตรฯ กรมปศุสัตว์ ออกมาตรการชะลอสิ นค้ าปศุสัตว์ นาเข้ าทั้ง
ทางบก เรือ และทางอากาศ
บทบาทของกรมปศุสัตว์
• ออกคาสัง่ ชะลอการนาเข้าสิ นค้าตามกฏหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์จากประเทศที่
มีรายงานการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ตามหนังสื อเลขที่ กษ ๐๖๒๑/
๖๔๗ และมีการควบคุมการนาเข้าทั้งทาง ท่าอากาศยาน ท่าเรื อ และชายแดน ดังนี้
– ชะลอการนาเข้าสิ นค้าตามกฏหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์จากประเทศที่มีรายงานการ
ระบาด
– เพิ่มความเข้มงวดและเฝ้ าระวัง การนาเข้าสิ นค้าฯจากประเทศที่มีความเสี่ ยง รวมถึงการ
ป้ องกันการลักลอบนาเข้าสิ นค้าและปฏิบตั ิตามระเบียบการนาเข้าสัตว์และซากสัตว์ของกรม
ปศุสตั ว์อย่างเข้มงวด
– ประสานงานขอความร่ วมมือให้สายการบินหรื อเรื อสิ นค้าที่มาจากประเทศที่มีรายงานการ
ระบาดหรื อประเทศกลุ่มเสี่ ยงจอดที่ท่าเทียบเดียวกัน
– ดาเนินการทาลายเชื้อโรคยานพานะจากประเทศที่มีการระบาดและประเทศกลุ่มเสี่ ยง
ความเสี่ ยงของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในสั ตว์ ในประเทศไทย
• จากข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยืนยันได้วา่ ประเทศไทยยังไม่พบ
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในสัตว์และสัตว์ป่า และการนาเข้าสัตว์มีชีวิต
และสิ นค้าปศุสตั ว์ที่มีความเสี่ ยง มีข้นั ตอนที่เข้มงวดและมีประสิ ทธิภาพ
ทาให้ความเสี่ ยงของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในประเทศมีระดับต่า
มาตรการป้ องกันโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ด้ านสั ตว์ และสั ตว์ ป่า
ระยะสั้ น
เพิม่ ศักยภาพการตรวจโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาของสภาบันสุ ขภาพสัตว์
แห่งชาติ
– ชะลอการนาเข้าสิ นค้าปศุสัตว์จากประเทศที่มีการระบาดของโรคฯ
– เพิ่มความเข้มงวดการนาเข้าสิ นค้าปศุสัตว์จากประเทศที่มีความเสี่ ยง
– การสื่ อสารความเสี่ ยงต้องชัดเจน โดยเฉพาะสายพันธุ์เรสตันที่ไม่ส่งผลกระทบ
ต่อปศุสัตว์และมนุษย์
– เสนอให้กรมอุทยานฯ ชะลอการนาเข้าสัตว์ป่าทุกชนิด
– เฝ้ าระวังติดตามสถานการณ์การระบาดของโรคอย่างใกล้ชิด
– ประสานงานร่ วมระหว่างกรมปศุสัตว์ กรมควมคุมโรค กรมอุทยานฯ และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายใต้ One Health
• ระยะยาว
• จัดทาเอกสารองค์ความรู ้ในการป้ องกันโรคในสัตว์และสัตว์ป่า
สาหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิงานและประชาชนทัว่ ไป
• เฝ้ าระวังการเกิดโรคในต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง
• ควรจะมีการประสานงานหรื อเครื อข่ายในลักษณะนี้ร่วมกัน เมื่อ
เกิดการระบาดของโรคที่สาคัญที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและ
สังคม
สร ุป
• อีโบลาเป็ นโรคอันตราย ทาให้ เกิดโรครุนแรงในมนุษย์ และสั ตว์
ตระกูลลิง ทาให้ มีอตั ราการป่ วยตายสู ง มีค้างคาวผลไม้ เป็ น แหล่ง
กักเก็บเชื้อโรค ( reservoir host)
• อีโบลาสายพันธุ์เรสตันพบในลิงและสุ กร แต่ ไม่ ก่อโรคในคนที่สัมผัส
เชื้อ แต่ อาจเกิดการกลายพันธุ์ขณะอยู่ในสุ กรได้
• ยังไม่ มีวัคซีนและการรักษาที่จาเพาะต่ อโรค
• การระบาดส่ วนใหญ่ เกิดขึน้ ในแอฟริกา ยังไม่ พบรายงานในไทย แต่
จาเป็ นต้ องมีมาตรการรองรับ
37
เอกสารอ้างอิง
• Center of Disease Control and Prevention (CDC), 2014
• World Health Organization website (WHO): Ebola factsheet
• Takada, A. (2012). Filovirus tropism: cellular molecules for viral entry. Frontiers in
microbiology, 3.
• Nakayama, E., & Saijo, M. (2013). Animal models for Ebola and Marburg virus
infections. Frontiers in microbiology, 4.
• Rouquet, P., Froment, J. M., Bermejo, M., Kilbourn, A., Karesh, W., Reed, P., ... &
Leroy, E. M. (2005). Wild animal mortality monitoring and human Ebola outbreaks,
Gabon and Republic of Congo, 2001-2003. Emerging infectious diseases, 11(2).
• http://followtheoutbreak.wordpress.com/2014/04/30/re- emergence-of-ebolafocuses-need-for-global-surveillance- strategies/
• https://microbewiki.kenyon.edu/index.php/Infection_Mechanism_of_Genus_Ebolavirus
39