การสอบสวน ทางระบาดวิทยา

Download Report

Transcript การสอบสวน ทางระบาดวิทยา

การสอบสวน
ทางระบาดวิทยา
(Epidemiological investigation)
การสอบสวนทางระบาดวิทยา
เป็ นการค้นหาข้อเท็จจริ งของเหตุการณ์การระบาด

โดยการรวบรวมข้อมูลต่างๆ อธิบายรายละเอียด
ของปัญหา ค้นหาสาเหตุ เพื่อนาไปสู่การควบคุม
ป้ องกันปัญหาการระบาดครั้งนั้น ๆ และครั้งต่อไป

2
เพื่อตอบคาถามว่าเกิดอะไรขึ้น เกิดกับใคร เกิดที่
ไหน เกิดเมื่อไหร่ และเกิดอย่างไร
ทาไมต้ องทาการสอบสวนทางระบาดวิทยา
เพื่อการควบคุมและป้ องกันโรค
 เป็ นโอกาสในการวิจย
ั สร้างความรู ้ใหม่
 เพื่อการฝึ กอบรม
 มีความสาคัญในแง่ความสนใจของประชาชน การเมือง
กฎหมาย
 ประเมินมาตรการป้ องกันและควบคุมโรคที่ดาเนิ นไป
แล้ว

3
ยืนยันการเกิดโรค
ป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่กระจาย
ของโรคต่อไป
เข้าใจถึงลักษณะการเกิดโรคใน
ผูป้ ่ วยแต่ละราย
รวบรวมข้อมูลการป่ วยของผูป้ ่ วย
ค้นหาขอบเขตการกระจายของโรค
ในคน
การเก็บวัตถุตวั อย่างส่งตรวจ
ควบคุมโรค
เขียนรายงาน
ซักประวัติ อาการ
การวินิจฉัยของแพทย์
ผลการตรวจทางห้องชันสูตร
สภาพแวดล้อมของผูป้ ่ วย
ปั จจัยอื่นๆ ทางระบาดวิทยา
7
ผูส้ มั ผัส
ในครอบครัว
ในชุมชน
ในสถานที่ทางาน
ผูป้ ่ วยรายอื่น
8
เพือ่ ให้แน่ใจว่า เกิดการระบาดขึ้ น
หรือไม่ หากมีลกั ษณะว่าเกิดการระบาด
จะต้องเปลีย่ นเป็ น สอบสวนการระบาดแทน
จากผูส้ มั ผัส และสิง่ แวดล้อม
ซึ่งสัมพันธ์กบั โรคที่พบในผูป้ ่ วยที่เป็ น
index case โดยอาศัยข้อมูลการวินิจฉัยโรค
ของผูป้ ่ วยเป็ นหลัก ในการพิจารณาตัดสินใจว่าจะ
เก็บ ตัวอย่างอะไร จากที่ไหน ส่งตรวจด้วยวิธีใด
9
หลักการเก็บวัตถุตวั อย่างส่งตรวจทาง
ห้องปฏิบตั ิการ
10
๏จะเลือกเก็บตัวอย่างอะไร
๏บริเวณไหนทีจ่ ะมีโอกาสพบเชื้ อสูง
๏ช่วงระยะเวลาทีเ่ ก็บ เมือ่ ใด
๏ใส่ภาชนะอะไร
๏อาหารเก็บรักษาเชื้ อทีเ่ หมาะสม
๏การนาส่งวัตถุตวั อย่างไปตรวจ อย่างไร
๏ข้อมูลของคนไข้
เมือ่ ทาการสอบสวนจนทราบถึงขอบเขตการปนเปื้ อน
ในสิง่ แวดล้อม และกลุ่มผูส้ มั ผัสแล้ว ต้องรีบ
ดาเนินการทาลายเชื้ อ เพือ่ ควบคุมโรคไม่ให้มีการ
แพร่กระจายต่อไปจนอาจเกิดการระบาดขึ้ น
11
เป็ นการเสนอรายละเอียดการ
ดาเนินงานทั้งหมดให้ ผ้ ูเกี่ยวข้ องได้ ทราบ ข้ อมูลการ
สอบสวนผู้ป่วยแต่ละรายนี้ เมื่อนามารวบรวมและ
วิเคราะห์ จะทาให้ เห็นลักษณะการเกิดโรค ที่อาจมี
การเปลี่ยนแปลงไปตามช่วงเวลา ในปัจจัยต่างๆ ซึ่ง
แตกต่างไปจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ จากระบบ
เฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา
12
13
อหิวาตกโรค
อุจจาระร่วงที่เสียชีวิต
โปลิโอ คอตีบ ไอกรน บาดทะยักใน
เด็กแรกเกิด
โรคพิษสุนัขบ้า
โรคหัด (เฉพาะผูป้ ่ วยใน)
โรคอื่น ๆ ที่สาคัญ หรือน่าสนใจ
การสอบสวนการระบาดของโรค
(Outbreak Investigation)
การระบาด

การทีม่ ีเหตุการณ์เกิด มากกว่าปกติ ในพื้ นที่เดียวกัน
เมือ่ เปรียบเทียบกับระยะเวลาเดียวกันในปี ก่อนๆ
หรือ

15
เหตุการณ์ทีเ่ กิดขึ้ นกับคนตั้งแต่ 2 คนขึ้ นไปใน
ระยะเวลาอันสั้น หลังจากร่วมกิจกรรมด้วยกันมา
อย่ างไรจึงจะเรียกว่ า “มากกว่าปกติ”
16

โดยทั่วไปใช้ วิธเี ปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของจานวน
ผู้ป่วยย้ อนหลัง 3-5 ปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ของพื้นที่
เดียวกัน

“ค่าเฉลี่ยของจานวนผู้ป่วย” อาจใช้ ค่ามัธยฐาน
(median) หรือค่าเฉลี่ยเลขคณิต (mean) + 2 S.D.
จานวนผูป้ ่ วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน จ. สกลนคร
ปี พ.ศ. 2545 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง
จานวน
1600
2545
1480
1436
1400
1269
1200
1244
1406
1330 1333
1267
มัธยฐาน 5 ปี (2539-2544)
1225
1141
1114
1032
1000
800
725
596
600
560
444
454
468
กย
ตค
พย
400
200
0
มค
17
กพ
มีค
เมย
พค
มิย
แหล่งข้ อมูล : สานักระบาดวิทยา
กค
สค
ธค
เดือน
ผูป้ ่ วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน อ. อากาศอานวย จ. สกลนคร
พ.ศ. 2545 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง
จานวน
200
2545
180
161
มัธยฐาน 5 ปี (2539-2544)
150
122
100
97
96
78
66
50
48
80
70
61
45
35
23
14
18
กย
ตค
18
17
0
มค
18
กพ
มีค
เมย
พค
มิย
แหล่งข้ อมูล : สานักระบาดวิทยา
กค
สค
พย
ธค
เดือน
การระบาด
ผูป้ ่ วยหนึง่ ราย แต่ป่วยด้วย
โรคทีไ่ ม่เคยพบมาก่อน
A 3-year old boy, case of Avian
Flu (H5N1) in Hongkong alerted
the public health people
around the world to start a full
scale investigation.
ชนิดของการระบาด (Outbreak patterns)
๏ ชนิดแหล่งโรคร่ วม (Common source outbreak)

Point: มีการแพร่โรคในช่วงเวลาสั้นๆ
 Continuous: มีการแพร่โรคแบบต่ อเนือ
่ง
๏ ชนิดแหล่งโรคแพร่ กระจาย (Propagated source outbreak)
20
การระบาดชนิดมีแหล่งโรคร่วม
Common source outbreak
ลักษณะกราฟเส้ นโค้ งการระบาด
(Epidemic Curve) ของแหล่งโรคร่ วม
จานวนผูป้ ่ วย
10
9
8
เวลาทีร่ ับปั จจัยเสีย่ ง
7
6
5
4
3
2
1
0
22
วันเริม่ ป่ วย
การระบาดชนิดแหล่งโรคแพร่ กระจาย
23
ลักษณะกราฟเส้ นโค้ งการระบาด (Epidemic Curve)
ของแหล่ งโรคแพร่ กระจาย
จานวนผูป้ ่ วย
30
25
20
15
10
5
0
วันเริม่ ป่ วย
ประโยชน์ ของ Epidemic curve
๏บอกชนิดของการระบาด
๏ใช้ คาดประมาณระยะเวลาที่
ได้ รับเชื้อ (Exposure period)
25
การคาดประมาณช่วงเวลาที่สมั ผัสปั จจัย
จานวนผู้ป่วย
10
9
8
7
6
5
4
3
2
1
0
26
Max. IP
Median. IP
Min. IP
(Point source outbreak)
วันเริ่มป่ วย
ตัวอย่ าง: โรคไวรัสตับอักเสบ เอ มีระยะฟักตัวสั้ นทีส่ ุ ด 15 วัน ยาวสุ ด 45 วัน
ระยะฟักตัวเฉลีย่ 30 วัน
จานวนผู้ป่วยโรคตับอักเสบ เอ ในโรงงานแห่ งหนึ่ง
จานวนผูป้ ่ วย
16
ระยะฟักตัวที่ยาวที่สุด
ระยะฟักตัวเฉลีย่
14
12
10
ระยะฟักตัว
ที่ส้นั ที่สุด
8
6
4
2
0
18 22 26 30 4
กันยายน
8 12 16 20 24 28 1
ตุลาคม
วันเริม่ ป่ วย
5
9
13 17 21 25 29
พฤศจิกายน
ประโยชน์ของการทราบชนิดการระบาด
28
แหล่งโรคร่ วม
กาจัดแหล่ งโรค
แหล่งโรคแพร่ กระจาย
ให้ สุขศึกษา
ปรับปรุงสุ ขาภิบาล
การค้นหาการระบาด

ข้ อมูลในระบบเฝ้ าระวัง
การวิเคราะห์ทีเ่ ป็ นประจาสมา่ เสมอ ทันเวลา เช่น การ
รายงานโรครายสัปดาห์พบจานวนผูป้ ่ วยมากผิดปกติหรือมี
กลุ่มผูป้ ่ วยในบางสถานที่

ข้ อมูลนอกระบบเฝ้ าระวัง
สือ่ สารมวลชน อินเตอร์เน็ต การแจ้งโดยหน่วยงาน เอกชน
การแจ้งโดยไม่เป็ นทางการ
29
ระบบเฝ้ าระวังสามารถบอกการระบาดได้
รายงานโรคอุจจาระร่วงอย่างแรงในจังหวัด “A”
ม.ค. 2538 - ก.ค. 2542
80
70
60
50
40
30
20
10
0
Jan Mar May July Sep Nov Jan Mar May July Sep Nov Jan Mar May July Sep Nov Jan Mar May July Sep Nov Jan Mar May July
2538
30
2539
2540
2541
2542
สือ่ มวลชน เป็ น
แหล่งข่าวการระบาด
ที่สาคัญอีกแหล่งหนึง่
เหตุการณ์ ทมี่ กั จะพบ
เริม่ มีผปู ้ ่ วย
รายแรก
ทราบผล
การตรวจ
วันทีร่ ายงานโรค
วันทีผ่ ปู ้ ่ วย
มาพบแพทย์
ส่งตรวจ
ทางห้องปฏิบตั ิการ
ดาเนินมาตรการ
ควบคุมโรค
100
80
จานวน
ผูป้ ่ วย
ช่วงเวลาที่มีโอกาส
ในการควบคุมโรค
60
40
20
0
1
5
9
13
17
21
จานวนวัน
25
29
33
37
“อุดมคติ”- การออกสอบสวนเร็ว
ดาเนินมาตรการ
ควบคุมโรค
เริม่ มีผปู ้ ่ วย
รายแรก
100
80
จานวนผูป้ ่ วยที่
ป้องกันได้
จานวน
60
ผูป้ ่ วย
40
20
จานวนวัน
39
37
35
33
31
29
27
25
23
21
19
17
15
13
11
9
7
5
3
1
0
หลักเกณฑ์ในการออกสอบสวนโรค

มีผ้ ูป่วยจานวนมาก หรือมีอาการรุนแรง/ เสียชีวิต
 เป็ นโรคใหม่ท่ไ
ี ม่เคยพบมาก่อน
 ไม่ทราบสาเหตุของการระบาด
 ไม่สามารถควบคุมได้
 เพื่อการฝึ กอบรม
 ผู้บริหารให้ ความสาคัญ หรือได้ รับความสนใจจาก
ประชาชนมาก
34
ขั้นตอนการสอบสวนโรค
1. เตรี ยมการปฏิบตั ิงานภาคสนาม
2. ตรวจสอบยืนยันการวินิจฉัยโรค
3. ตรวจสอบยืนยันการระบาด
4. กาหนดนิยามผูป้ ่ วย และค้นหาผูป้ ่ วยเพิ่มเติม
5. ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา -การมีผปู้ ่ วยตาม เวลา สถานที่ บุคคล
6. สร้างสมมุติฐานการเกิดโรค
7. ศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ -ทดสอบสมมุติฐาน
8. มีการศึกษาเพิ่มเติม ถาจ
้ าเป็ น
9. ควบคุมและป้ องกันโรค
10. นาเสนอผลการสอบสวน
35
1. เตรียมการปฏิบัติงานภาคสนาม
๏ เตรียมความรู้เกีย่ วกับโรค
๏ เตรียมทีมสอบสวนโรค
นักระบาดวิทยา
 นักวิชาการสุ ขาภิบาล/ นักวิชาการควบคุมโรค
 นักสุขศึกษา
 เจ้ าหน้ าทีส
่ าหรับตรวจทางห้ องปฏิบัติการ
 แพทย์ ผ้ ูเชี่ ยวชาญเฉพาะทาง (ในบางกรณี)
๏ เตรียมประสานงานกับห้องปฏิบัติการ

36
2. ตรวจสอบยืนยันการวินิจฉัยโรค
37
ตรวจสอบยืนยันการวินิจฉัยโรค
๏ ดูจากอาการ อาการแสดง และการตรวจทางห้องปฏิบัตกิ าร
๏ ในกรณีทยี่ งั ไม่รู้ว่าเป็ นโรคอะไร การพยายามตรวจให้ทราบ
ชนิดของโรคต้ องเป็ นวัตถุประสงค์ หนึ่งในการสอบสวน
38
3. การยืนยันการระบาดของโรค
๏ เป็ นขั้นตอนที่จาเป็ น เพือ่ ให้ แน่ใจว่าเป็ นการระบาดจริง ไม่ใช่
ข่ าวลือ หรือเป็ นโรคทีพ่ บเป็ นประจาอยู่แล้ วในฤดูกาลนั้นๆ
๏ มักใช้ วธิ ีสอบถามข้อมูลจากเจ้าหน้าทีใ่ นพืน้ ทีเ่ กีย่ วกับจานวน
ผู้ป่วยรวมทั้งรายละเอียดอืน่ ๆ เพือ่ ช่ วยในการตัดสิ นใจว่ าควร
จะออกสอบสวนโรคหรือไม่
39
4. การค้นหาผูป้ ่ วยเพิม่ เติม &
การกาหนดนิยามผู้ป่วย
การค้นหาผูป้ ่ วยเพิม่ เติม
การค้นหาเชิงรับ
การค้นหาเชิงรุก
(Passive case detection)
(Active case detection)
ผูป้ ่ วยทีม่ ารับการรักษาที่
โรงพยาบาลโดยผ่านการ
วินิจฉัยของแพทย์ ส่วน
ใหญ่ผูป้ ่ วยจะมีอาการหนัก
และชัดเจน
เป็ นผูป้ ่ วยทีย่ งั อยู่ในชุมชน
อาจจะมีอาการไม่มาก
หรืออาจจะมีเชื้ อแต่ไม่มี
อาการ พร้อมทีจ่ ะแพร่เชื้ อ
ไปสู่ผูอ้ ื่นได้
รายงานโรค
ไป รพ.
มีอาการแต่ไม่ไป รพ.
ติดเชื้ อ ...
เสีย่ ง
42
นิยามผูป้ ่ วย (Case definition)
อาการทางคลินิก
อาการ
ที่ยืนยัน
จากการ
เกิดโรค
จริงใน
ขณะนั้น
อาการ
ตาม
ทฤษฎี
ในกรณี
ที่รูว้ ่าสิง่
ก่อโรค
คืออะไร
จากการ
ปรึกษา
ผูเ้ ชี่ยว
ชาญ
สถานที่
บุคคล
พื้นที่ที่
เกิดโรค
หรือ
คนทีร่ ่วม
ใน เหตุ
การณ์
หรือกลุ่ม
ทีเ่ สีย่ งต่อ
โรค
พื้นที่
เสี่ยง
เวลา
ระยะ
เวลาที่
ทาการ
ค้นหา
ผูป้ ่ วย
ตัวอย่าง นิยามผูป้ ่ วย
การสอบสวนโรคผิวหนังอักเสบจากแมลง
นิยามผูป้ ่ วย คือผูท้ ีเ่ ข้าพักในทีพ่ กั นักกีฬาเขต 7
ในช่วงระหว่างวันที่ 11 ถึง 19 กุมภาพันธ์ 2529
และมีรอยผืน่ แดง (erythema) ร่วมกับอาการ
แสบร้อนขึ้ นอย่างเฉียบพลัน โดยไม่เคยมีอาการ
เช่นนี้ มาก่อน
44
นิยามผู้ป่วย (Case definition)
๏Confirmed case :
อาการ/อาการแสดงชัดเจน
ร่ วมกับมีผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการที่เฉพาะ
เจาะลงกับโรคนั้นยืนยัน
๏Probable case : อาการ/อาการแสดงชัดเจนว่า
น่าจะเป็ นโรคนั้นๆ
๏Suspected case : อาการ/อาการแสดงไม่ชดั เจน
มากนัก
45
โรคคอตีบ (Diptheria)
๏Confirmed case:
ผู้ป่วยทีม่ ีไข้ มีแผ่ นเยือ่ สี ขาวเทาใน
ลาคอ ร่ วมกับผลเพาะเชื้อจากลาคอพบ C. diphtheriae,
toxigenic strain
๏Probable case: ผู้ป่วยมีไข้และแผ่นเยือ่ สีขาวเทาในลาคอ
โดยทัว่ ไปนิยามผูป้ ่ วยจะไม่รวมปั จจัยเสีย่ งเข้าไปด้วย
46
5. ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
๏ การกระจายของผูป้ ่ วยตาม เวลา สถานที่ บุคคล
๏ บุคคล - อายุ เพศ อาชีพ ประวัติกิจกรรม
๏ เวลา - epidemic curve มีลกั ษณะเป็ นการระบาดชนิดใด
ประมาณระยะเวลาการได้รับเชื้อ
๏ สถานที่ - พื้นที่ใดมีอตั ราป่ วยสูงสุด พื้นที่ใดมีการป่ วยก่อนหลัง
สัมพันธ์กบั กิจกรรมใดหรื อไม่
47
การวิเคราะห์การกระจายตามบุคคล
หากได้พยายามแยกผูป้ ่ วยออกตามเพศ
กลุม่ อายุ อาชีพ แล้วหาอัตราป่ วยตามตัวแปร
นั้นๆ (Specific attack rate) จะสามารถ
บอกให้ทราบถึง
ลักษณะของกลุม่ ประชากร
ที่เสี่ยงต่อโรคได้
48
จานวนผู้ป่วย และอัตราป่ วย ด้ วยไข้ หัดเยอรมันในแผนกกลางและ
แผนกขายส่ง จาแนกตามกลุ่มอายุและเพศ ม.ค.-ก.พ. 2537
กลุ่มอายุ
( ปี )
20 - 24
25 - 29
30 - 34
35 - 39
40 – 44
45 – 49
50 +
รวม
จานวนผูป้ ่ วย
ชาย หญิง
0
0
2
0
0
0
0
2
1
3
2
1
1
0
0
8
จานวนเจ้าหน้าที่
ชาย
หญิง
0
8
8
1
4
3
3
27
6
29
22
11
4
0
2
74
Attack rate (%)
ชาย
หญิง
0
0
25
0
0
0
0
7.4
16.67
10.34
9.09
9.09
25.00
0
0
10.81
วิเคราะห์การกระจายตามเวลา
จากข้อมูล เวลาเริ่มป่ วยของผูป้ ่ วยแต่ละราย นามา
วิเคราะห์ความถี่ของการป่ วยตามหน่วยเวลาที่เหมาะสม
แล้วนาเสนอด้วย Histogram จะได้กราฟแสดงลักษณะ
การระบาด มีชื่อเฉพาะเรียกว่า “Epidemic Curve” ซึ่ง
แสดงให้เห็นว่าผูป้ ่ วยรายแรกเริ่มเมื่อไร และรายต่อๆมา
เกิดในช่วงเวลาใด และสามารถช่วยบอกถึงชนิดของแหล่ง
โรคที่เป็ นสาเหตุของการระบาดครั้งนั้นๆได้
50
จานวนผูป้ ่ วยโรคบิด ตามวันเริ่มป่ วย ต.คูตนั อ.กาบเชิง จ.
สุรินทร์ พ.ค. – ส.ค. 2531
จานวน (ราย)
10
8
ผูป้ ่ วย 1 ราย
6
4
2
0
19 21 24 27 30 2
พ.ค.
51
5 8 11 14 17 20 23 26 29 2 5 8 11 14 17 20 23 26 29 1
มิ.ย.
ก.ค.
วันเริ่มป่ วย
ส.ค.
การวิเคราะห์การกระจายตามสถานที่
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของจานวน
ผูป้ ่ วยกับสถานที่ที่เริ่มป่ วย แล้วนาเสนอ
ข้อมูลในรูปแผนที่ (mapping) จะช่วยให้
เห็นลักษณะ ทิศทาง การกระจายของโรคใน
พื้นที่ได้
52
การกระจายของผู้ป่วยโรคอัมพาตใบหน้ า (facial palsy)
อาเภอ A ระหว่ างวันที่ 1 มค. – 22 กย. 2542
อาเภอ A
แม่ นา้
ผู้ป่วย 1 ราย
เส้ นเขตตาบล
Cases
25
1200
1000
Person
800
Place
20
Time
15
600
400
10
200
5
0
0-4
'5-14 '15-44 '45-64
'64+
0
1
Age Group
2
3
4
5
6
7
Evaluate information
Pathogen?
Source?
Transmission?
ตั้งสมมติฐาน: จากข้อมูลทั้งหมดของการระบาด
8
9
10
6. ตัง้ สมมติฐานของการเกิดโรค
• โรคแพร่ได้อย่างไร (Transmission)
• แหล่งแพร่เชื้ออยูท่ ี่ใด (Source)
• ปั จจัยเสี่ยงของบุคคล (Risk factor)
55
7. ศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์


56
เพือ
่ พิสจ
ู นสมมุ
ตฐิ านทีไ่ ดจาก
้
์
การศึกษาเชิงพรรณนา
เป็ นการเปรียบเทียบปัจจัยเสี่ ยง
ที่สงสัยเป็ นสาเหตุของการระบาด ระหว่างกลุ่ม
ผูป้ ่ วยและกลุ่มที่ไม่ป่วย
การพิสูจน์สมมติฐาน
โดยการมีกลุม่ เปรียบเทียบ วิธีการศึกษาที่ใช้บ่อยคือ
 Case-control study โดยเปรียบเทียบดูว่า ผูป้ ่ วย
และผูไ้ ม่ป่วยมีประวัตกิ ารได้รบั ปั จจัยเสี่ยงแตก
ต่างกันกี่เท่า
 Cohort study เปรียบเทียบดูว่า ผูท้ ี่ได้รบั ปั จจัย
เสี่ยง กับผูท้ ี่ไม่ได้รบั ปั จจัยเสี่ยง มีโอกาสป่ วย
แตกต่างกันกี่เท่า
57
8. การศึกษาเพิม่ เติม



58
การศึกษาทางห้องปฏิบตั ิการ-การเพาะเชื้อ การตรวจ
ทางซีโรโลยี ฯลฯ
การศึกษาทางสภาพแวดล้อม-การตรวจคุณภาพน้ า การ
สารวจพื้นที่ ฯลฯ
การศึกษาวิจยั อื่น ๆ
9. หลักการควบคุมโรค
๏ การควบคุมแหล่งโรค:
•กาจัดแหล่งโรค
•เคลือ่ นย้ายคนออกจากพื้ นทีเ่ สีย่ ง
•แยกผูป้ ่ วยและให้การรักษา
•ทาลายเชื้ อ
๏ ตัดวงจรการถ่ายทอดโรค:
•ปรับปรุงสุขาภิบาลสิง่ แวดล้อม
•ควบคุมพาหะนาโรค
•ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์
๏ เพิม่ ภูมิคุม้ กันในคน:
•ให้วคั ซีนหรือให้ยาป้องกัน
59
10. นาเสนอผลการสอบสวนโรค
หัวข้อในการนาเสนอแบบสรุป
- ความเป็ นมา/ วิธีการศึกษา
- ผลการศึกษา
- สิง่ ที่ได้ดาเนินการไปแล้ว
- ข้อเสนอแนะ
60
ส่งกลับให้ผูเ้ กีย่ วข้องได้ใช้ประโยชน์
* กลุ่มผูบ้ ริหารที่มีหน้าที่ในการควบคุมโรค
* กลุ่มเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่มีหน้าที่เฝ้ าระวัง
และควบคุมโรคในชุมชน
* กลุ่มประชาชนและชุมชนที่เกิดโรคหรือ
ประชาชนทัว่ ไป
61