LOGO “ อาณาจักรสุโขทัย ” LOGO การเมืองการปกครองสมัยสุ โขทัย ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์หรื อราชาธิ ปไตยเป็ น รู ปแบบการปกครองที่ องค์พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นผูใ้ ช้อานาจอธิ ปไตย ซึ่ งเป็ นอานาจ สู.

Download Report

Transcript LOGO “ อาณาจักรสุโขทัย ” LOGO การเมืองการปกครองสมัยสุ โขทัย ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์หรื อราชาธิ ปไตยเป็ น รู ปแบบการปกครองที่ องค์พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นผูใ้ ช้อานาจอธิ ปไตย ซึ่ งเป็ นอานาจ สู.

LOGO
“ อาณาจักรสุโขทัย ”
LOGO
การเมืองการปกครองสมัยสุ โขทัย
ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์หรื อราชาธิ ปไตยเป็ น
รู ปแบบการปกครองที่ องค์พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นผูใ้ ช้อานาจอธิ ปไตย ซึ่ งเป็ นอานาจ
สู งสุ ดในการปกครองและทรงใช้อานาจนี้ ในการออกกฎหมาย เรี ยกว่า “อานาจนิติบญ
ั ญัติ”
ทรงบริ หารกิ จการบ้านเมืองเรี ยกอานาจนี้ ว่า อานาจบริ หารราชการแผ่ นดิน
และ
ทรงพิ จ ารณาอรรถคดี ท รงพิ พ ากษาและตัด สิ นคดี ค วามต่ างๆ ทุ กวันธรรมะสวนะด้ว ย
พระองค์เอง เรี ยกอานาจนี้ ว่า อานาจตุลาการ จะเห็นได้ว่าพระมหากษัตริ ยท์ างใช้อานาจนี้
เพียงพระองค์เดียว และทรงใช้อานาจบนพื้นฐานของหลักธรรม ประชาชนอยูร่ ่ มเย็นเป็ นสุ ข
LOGO
การเมืองการปกครองสมัยสุ โขทัย
ในสมัยอาณาจักรสุ โขทัยมีลกั ษณะการปกครองโดยใช้คตินิยมในการ
ปกครองแบบครอบครั ว หรื อ พ่ อ ปกครองลู ก มาเป็ นหลัก ในการบริ ห าร
ประเทศ คติการปกครองสมัยอาณาจักรสุ โขทัยเรี ยกว่าการปกครองแบบพ่อ
ปกครองลู ก หรื อการปกครองแบบบิ ด าปกครองบุ ต ร โดยในสมัย นั้ น
พระมหากษั ต ริ ย์ ใ กล้ ชิ ดกั บ ประชาชนมาก ประชาชนต่ า งก็ เ รี ยก
พระมหากษัตริ ยท์ ี่ใกล้ชิดประชาชนว่า “พ่ อขุน”
LOGO

มีลกั ษณะเด่ นทีส่ าคัญดังต่ อไปนี้
 พ่ อขุนเป็ นผู้ใช้ อานาจอธิปไตยโดยมีรูปแบบปกครองประชาชนบนพืน
้ ฐานความรัก
ความเมตตาประดุจบิดาพึงมีต่อบุตร
 พ่ อขุนอยู่ในฐานะผู้ปกครองและประมุขของประเทศทีม
่ อี านาจสู งสุ ดแต่ เพียงผู้เดียว
 ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพในการดาเนินชี วต
ิ พอสมควร ดังนั้นจะเห็นได้จากศิลาจารึ ก
อธิบายว่า “...ใครใคร่ คา้ ค้า เอาม้ามาค้าเอาข้าวมาขาย...”
 รู ปแบบการปกครองเป็ นไปแบบเรียบง่ าย
LOGO

มีลกั ษณะเด่ นทีส่ าคัญดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
 ความสั มพันธ์ ระหว่ างผู้ปกครอง
 ความสั มพันธ์ ระหว่ างผู้ปกครองกับประชาชนผู้อยู่ภายใต้ การปกครอง
 มีการพิจารณาคดีโดยใช้ หลักประกันความยุติธรรม
 ทรงปกครองบ้ านเมืองแบบเปิ ดเผยบนพระแท่ นในวันธรรมดา
LOGO
หลัก การของระบอบธรรมราชาธิ ป ไตย คื อ ความเชื่ อ ที่ ว่า พระราช
อานาจของกษัตริ ยจ์ ะต้องถูกกากับด้วยหลักธรรมะ ประชาชนจึ งจะอยูเ่ ย็นเป็ น
สุ ข เมื่อสิ้ นพระชนม์ก็จะได้ไปสู่ สวรรค์จึงรี ยกว่า สวรรคต ธรรมสาคัญที่กากับ
พระราชจริ ยวัตรคือ ทศพิธราชธรรม 10 ประการและจักรวรรดิวตั ร 12 ประการ
และมี หลักการปกครองปรากฏในไตรภูมิพระร่ วงที่ พระมหาจักรพรรดิราชจะ
ใช้สั่งสอนท้าวพระยาทั้งหลายให้ปฏิบตั ิตามอีกมาก
LOGO


การจัดระเบียบการปกครองในสมัยสุ โขทัย
ในสมัยสมเด็จพ่อขุนรามคาแหงมหาราชทางจัดระเบียบการปกครองอาณาจักรกรุ ง
สุ โขทัยโดยแบ่งลักษณะอาณาจักรหรื อเมืองออกเป็ นชั้นๆ โดยถืออาณาจักรกรุ งสุ โขทัยเป็ น
ศูนย์กลางและได้แบ่งการปกครองออกเป็ น 4 ชั้นดังนี้
ชั้ นที่ 1 ได้ แก่ เมืองหลวงหรื อราชธานี หมายถึ งอาณาจักรสุ โขทัย เป็ นศูนย์ก ลางในการ
ปกครองประเทศมีอานาจเด็ดขาดครอบคลุมออกไปถึงเมืองอุปราชและเมืองลูกหลวงหรื อ
เมืองหน้าด่าน อานาจการสัง่ การทั้งหมดอยูท่ ี่อาณาจักรสุ โขทัย
ชั้ นที่ 2 ได้ แก่ เมืองอุปราช หรื อเมืองลูกหลวงหรื อเมืองหน้ าด่ าน หมายถึง เมืองที่ต้ งั อยู่ราย
รอบสี่ ทิศรอบๆ อาณาจักรสุ โขทัย ซึ่ งเมืองหน้าด่านแต่ละเมืองมี ระยะห่ างจากเมืองหลวง
โดยใช้ประมาณจากการเดินทางโดยทางเท้าใช้เวลาไม่เกินสองวัน เมืองหน้าด่านหรื อเมือง
อุปราชเป็ นเมืองที่สร้างขึ้นเพื่อฝึ กหัดให้เชื่อพระวงศ์ที่มีความสามารถมีความชานาญในการ
ปกครองบ้านเมือง และเมืองอุปราชก็ใช้ในแง่ของเมืองยุทธศาสตร์ โดยใช้เป็ นเมืองหน้าด่าน
ของเมืองหลวงหรื อราชธานีอีกด้วย
LOGO


การจัดระเบียบการปกครองในสมัยสุ โขทัย
ชั้ นที่ 3ได้ แก่ เมืองพระยามหานคร หมายถึง เมืองใหญ่ ๆที่ต้ งั อยูห่ ่ างราชธานี ออกไปและมี
ประชาชนในเมืองเป็ นคนไทย พระมหากษัตริ ยจ์ ะทรงแต่งตั้งให้เจ้านายหรื อเชื้ อพระวงศ์
หรื อข้าราชการชั้นผูใ้ หญ่ไปปกครอง เมืองพระยามหานครจัดว่าเป็ นหัวเมืองชั้นนอก เช่น อู่
ทอง ราชบุรี เพชรบุรี ตะนาวศรี เพชรบูรณ์ เป็ นต้นฯ
ชั้นที่ 4 ได้ แก่ เมืองประเทศราช หรือเมืองออกหรือเมืองขึน้ หมายถึง ประเทศที่ยอมอ่อนน้อม
ต่ออาณาจักรกรุ งสุ โขทัยเป็ นเมืองที่เข้ามาขอพึ่งพระบรมโพธิ สมภาร โดยการส่ งดอกไม้เงิน
ดอกไม้ทองมาให้ รวมไปถึงถวายเครื่ องราชบรรณาการเป็ นประจาทุกปี หรื ออาจทุกสามปี
โดยเมืองเหล่านี้ยงั ปกครองกันเอง ให้เจ้าเมืองหรื อราชวงศ์ของเมืองนั้น ๆ ทาการปกครองกัน
แต่ในยามที่มีศึกสงครามเมืองประเทศราชหรื อเมืองขึ้นก็ตอ้ งส่ งกองทัพมาช่วย หรื ออาจส่ ง
เสบียง อาหาร เครื่ องยุทธ์และปัจจัยต่างๆ ที่จาเป็ นแก่อาณาจักกรุ งสุ โขทัย
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
สภาพทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจของสุ โขทัยเป็ นแบบเกษตรกรรมเพราะมีพ้ืนที่อุดมสมบูรณ์มากเป็ นแบบยัง
ชีพที่เลี้ยงตนเองได้ ผลผลิตสาคัญ คือ ข้าว ดังคากล่าวที่วา่ “ในน้ามีปลา ในนามีข้าว” แต่ไม่มี
การส่ งข้าวออกไปขาย มีแต่เตรี ยมเสบียงอาหารไว้ไม่ให้ขาดแคลน แม้ในยามศึกสงคราม
นอกจานั้นก็ยงั มีการปลูกพืชอื่นๆ อีกมากมายมีตลาดการค้าหรื อตลาดนัดเรี ยกว่า ตลาดปสาน
และสุ โขทัยยังมีการสร้างระบบชลประทาน สร้างเขื่อนหรื อทานบกั้นน้ า เรี ยกว่า “สรีดภงค์ ”
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
สภาพทางเศรษฐกิจ
ในด้านการค้าขายเปิ ดโอกาสให้คา้ ขายได้อย่างเสรี มีเงินตราที่ใช้ คือ เงินพดด้วง เบี้ย
หอยต่างๆ ในการแลกเปลี่ยนสิ นค้า การค้ามีท้ งั ในประเทศและต่างประเทศ มีสินค้ามากมาย
แต่ที่มีชื่อเสี ยงมาก คือ เครื่ องสังคโลก ที่พบเตาเผามากมายในหลายเมือง
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
ด้ านการเกษตร
การเกษตรอาณาจักรสุ โขทัยมีสภาพพื้นที่ราบที่ใช้ในการเพาะปลูกแบ่งอย่างกว้างๆ
ได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ ที่ราบลุ่มแม่น้ าและที่ราบเชิงเขาบริ เวณที่ราบลุ่มที่สาคัญ คือ ที่ราบลุ่ม
แม่น้ ายมและแม่น้ าน่าน และเนื่องจากลาน้ ายมและลาน้ าน่านมีปริ มาณน้ าจานวนมากไหลบ่า
มาจากภูเขาทางภาคเหนื อ ทาให้การระบายน้ าลงสู่ แม่น้ าเจ้าพระยาตอนล่างไม่ทนั ยังผลให้มี
น้ าท่วมที่ราบลุ่มแม่น้ ายมและแม่น้ าน่านนี้ ซึ่ งบริ เวณนี้ควรจะมีการเพาะปลูกได้ดี กลับได้ผล
ไม่ดีเท่าที่ควรทาให้เกษตรในอาณาจักรสุ โขทัยต้องใช้ระบบชลประทานเข้ามาช่วยด้วย
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
ด้ านการเกษตร
ด้านรัฐบาลได้สนับสนุ นให้ประชาชนทาการเพาะปลูกด้วยกายยกกรรมสิ ทธิ์ ที่ ดิน
ให้แก่ผหู้ ักร้างถางพงทาการเกษตรในผืนดิ นต่างๆ และที่ดินนั้นยังเป็ นมรดกตกทอดมาถึง
ลูกหลานได้อีกด้วย ดังปรากฏในความตอนหนึ่งของศิลาจารึ กหลักที่ 1 ว่า
“ สร้ างป่ าหมากผ่ าพลูทวั่ เมืองนีท้ ุกแห่ ง ป่ าพร้ าวก็หลายในเมืองนีป้ ่ าลาง
ก็หลายในเมืองนี.้ ....ใครสร้ างได้ ไว้ แก่ มนั ”
“ ไพร่ ฟ้าหน้ าใส ลูกเจ้ าลูกขุนผู้ใดแล้ ล้มตายหายหว่ า เหย้ าเรื อนพ่ อเชื้อเสื้อคามันช้ าง
ขอ ลูกเมียเยียข้ าวไพร่ ฟ้าข้ าไทป่ าหมากป่ าพลูพ่อชื้อมันไว้ แก่ ลูกมันสิ้น ”
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
สภาพทางสั งคม
การจัดระเบียบสังคมไทยในสมัยสุ โขทัย แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1. ชนชั้นผูป้ กครอง ได้แก่ พระมหากษัตริ ย ์ พระบรมวงศานุวงศ์ และขุนนางข้าราชการ
2. ราษฎร ได้แก่ ไพร่ หรื อไพร่ ฟ้า และทาส ส่ วนชาวต่างชาติสมัยนี้กม็ ิได้รังเกียจที่
จะเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยูแ่ ละจากนั้นพระสงฆ์ยงั ได้รับการยกย่องให้สูงกว่าคน
ธรรมดาด้วย
ลักษณะทางสั งคม
สังคมสุ โขทัยประกอบด้วยชนชั้นต่างๆ ดังนี้
1.พระมหากษัตริ ย ์
2.เจ้านายและขุนนาง
3.พระสงฆ์
4.ประชาชน
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
ทางวัฒนธรรม
ลักษณะทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมแสดงให้เห็นถึงความเจริ ญของบ้านเมืองโดยได้รับวัฒนธรรมมาจากอิ นเดีย
หลายอย่างผสมผสานกับ พุทธศาสนา จนกลายเป็ นรากฐานของมรดกของไทยมาจนถึ ง
ปั จจุบนั เช่ น ประเพณี ต่างๆ ได้แก่ พิธีวนั วิสาขบูชา พิธีทาบุญเข้าพรรษา ออกพรรษา การ
ทอดกฐิ น พิธีจองเปรี ยง(ลอยพระประที ป ) ซึ่ งทากันให้วนั เพ็ญเดื อน 12 เดิ มเป็ นพิธีของ
พราหมณ์ หรื อ ปั จ จุ บ ัน เรี ย กว่ า การเผาเที ย นเล่ น ไฟ พิ ธี จ รดพระนัง คัล พิ ธี ส งกรานต์
ตรี ยาปวาย(การโล้ชิงช้า) เป็ นต้น
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
ลักษณะทางศาสนา
สมัย พ่ อ ขุ น รามค าแหงมหาราชได้นิ ม นต์
พระสงฆ์จากนครศรี ธรรมราชนาพุทธศาสนาแบบ
เถรวาส(หิ น ยาน) ลัทธิ สัง กาวงศ์มาเผยแผ่ย งั กรุ ง
สุ โขทัย และรับนับถือสื บต่อมา สมัยพระมหาธรรม
ราชาที่ 1(ลิไทย) พุทธศาสนาเจริ ญรุ่ งเรื องมาก ได้มี
การพระราชนิ พ นธ์ ห นัง สื อ ทางศาสนาขึ้ น ชื่ อ ว่า
ไตรภูมิพระร่ วง(เตภูมิกถา) และยังส่ งพระไปเผยแผ่
พุทธศาสนายังดิ นแดนอาณาจักรใกล้เคี ยงอี กด้วย
และสมัย สุ โ ขทัย นั้น ถื อ ว่ า วัด เป็ นศู น ย์ก ลางของ
ชุมชนในทุกๆ ด้าน
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
ด้ านการค้ า
พระมหากษัตริ ยใ์ นสมัยสุ โขทัยทางสนับสนุนการค้าขาย ยกเว้นการเก็บภาษีผ่านด่าน
ที่เรี ยกว่า “จังกอบ” หรื อ “จกอบ” เปิ ดโอกาสให้ประชาชนประกอบอาชี พได้โดยเสรี ดัง
ปรากกฎในศิลาจารึ กหลักที่ 1 ว่า “...เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่ ลู่ทาง เพื่อนจูงวัวไปเค้าขี่มา้
ไปขาย ใครใคร่ คา้ ม้า ค้า ใครใครค้าช้าง ค้า”
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
ด้ านการค้ า
การค้ าในประเทศ
การติดต่อค้าขายระหว่างเมืองต่างๆ ภายในอาณาจักรอาศัยแม่น้ าลาคลองและทาง
เกวียน ถนนพระร่ วงซึ่ งเชื่อมโยงเมืองศรี สชั นาลัย สุ โขทัย และเมืองกาแพงเพชรระยะเวลา
ประมาณ 123 กิโลเมตร ช่วยให้การติดต่อสะดวกยิง่ ขึ้น ลักษณะการค้าแบบ “จูงวัวไปค้ า
ขีม่ ้ าไปขาย” คงจะใช้ววั ต่าง ม้าต่าง หรื อช้างต่าง เป็ นพาหนะนาผลิตผลไปจาหน่ายที่กรุ ง
สุ โขทัย มีตลาดสาหรับประชาชนจากท้องถิ่นต่างๆ ได้แลกเปลี่ยนสิ นค้ากันในย่านชุมชน
เรี ยกว่า “ปสาน” มีลกั ษณะเป็ นห้องเรี ยงกันเป็ นแถว การค้าส่ วนใหญ่เป็ นการแลกเปลี่ยน
สิ นค้ากัน
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
ด้ านการค้ า
การค้ ากับต่ างประเทศ
เนื่องจากที่ต้งั ของกรุ งสุ โขทัยอยูล่ ึกเข้าไปในแผ่นดิน และอยูห่ ่างจากทะเล จึงต้องใช้
เส้นทางการค้าที่สาคัญ 2 เส้นทาง คือ
- เส้นทางจากกรุ งสุ โขทัย ผ่านเมืองกาแพงเพชร เมืองตาก ไปยังเมืองเมาะตะมะ ซึ่ งเป็ นเมือง
ท่าสาคัญในขณะนั้น พ่อค้าจากสุ โขทัยจะซื้อขายแลกเปลี่ยนกับพ่อค้าจากอินเดีย เปอร์เซีย
และอาหรับ
- เส้นทางจากสุ โขทัยสู่ อ่าวไทย โดยล่องเรื อผ่านแม่น้ าเจ้าประยา และลาน้ าสาขาต่างๆ
เส้นทางนี้ใช้ติดต่อค้าขายกับพ่อค้าจีน มลายู อินโดนีเซี ย และฟิ ลิปปิ นส์
สิ นค้าที่ส่งออกไปขายต่างประเทศได้แก่ผลผลิตของป่ า เช่น ครั่ง กายาน ยางรัก น้ าผึ้ง
ขนสัตว์ หนังสัตว์ ไม้ฝาง ไม้กฤษณา และเครื่ องสังคโลกด้วย ส่ วนสิ นค้าขาเข้าได้แก่ ผ้าแพร
ผ้าไหม ผ้าต่วน เครื่ องเหล็ก และอาวุธต่างๆ
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
วรรณกรรม
สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงคิดประดิษฐ์ตวั อักษรไทยขึ้น เมื่อปี พ.ศ.1826
เรี ยกว่า ลายเสื อไทย โดยดัดแปลงมาจากอักษรขอมและมอญมาเป็ นอักษรไทย ซึ่ งวิธีเขียน
พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ จะอยูบ่ รรทัดเดียวกัน ต่อมาจึงดัดแปลงมาเป็ นแบบปั จจุบนั
วรรณกรรมทีส่ าคัญ
1. ศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหงมหาราช หรื อศิลาจารึ กหลักที่ 1 ซึ่งมีท้งั หมด 4 ด้าน ศิลาจารึ ก
เกี่ยวกับการประดิษฐ์ตวั อักษรไทย ประวัติพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช ความอุดมสมบูรณ์ของ
สุ โขทัย การเมืองการปกครองเศรษฐกิจ สังคมต่างๆ ของสุ โขทัย
2. ไตรภูมิพระร่ วง หรื อ เตภูมิกตา พระราชนิพนธ์ของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) เป็ น
หนังสื อเกี่ยวกับพุทธศาสนา
3.ตารับนางนพมาศ แต่งโดยนางนพมาศหรื อท้าวศรี จุฬาลักษณ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ขนบธรรมเนียมประเพณี และเรื่ องของสตรี สมัยสุ โขทัย
LOGO
สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม สมัยสุ โขทัย
ศิลปกรรม
สมัยสุ โขทัย ศิลปกรรมมีแรงบันดาลใจมาจากพุทธศาสนา ซึ่ งในระยะแรกๆ ก็ได้รับ
อิทธิพลมาจากขอม แต่ต่อมาก็ดดั แปลกงเป็ นแบบของสุ โขทัยเอง ที่สาคัญที่สุด คือ
1.สถาปั ต ยกรรม ได้แก่ เจดี ยแ์ บบสุ โขทัย แท้ ยอดเป็ นทรงพุ่มข้าวบิ ณ ฑ์หรื อดอก
บัวตูม และเจดียท์ รงกลมแบบลังกา หรื อแบบโอ่งควา่ หรื อทรงระฆังควา่
2.ประติมากรรม นิ ยมหล่อพระพุทธรู ปด้วยสาริ ด(ทองแดงผสมดี บุก) ซึ่ งมีลกั ษณะ
อ่อนช้อย งดงามประณี ตมาก ที่สาคัญ คือพระพุทธรู ปปางลีลา
3.จิ ต รกรรม เป็ นภาพลายศิ ล ปกรรมมี แ รงบัน ดาลใจมาจากพุ ท ธศาสนา ซึ่ งใน
ระยะแรกๆ ก็ได้รับอิทธิ พลมาจากขอม แต่ต่อมาก็ดดั แปลงเป็ นแบบของสุ โขทัยเองเส้นและ
ภาพสี ฝนุ่ เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับชาดก ตามฝาผนังตามวัดต่างๆ ใช้สีกลุ่มดาแดงเรี ยกว่า สี เอกรงค์
เช่น ที่วดั เจดียเ์ จ็ดแถว เมืองศรี สชั ชนาลัย
LOGO
การศึกษาสมัยสุ โขทัย
เป็ นการศึกษาแบบสื บทอดวัฒนธรรมประเพณี เป็ นมาอย่างไร ก็ถ่ายทอดกันต่อมาใน
ลักษณะเดิมการศึกษาเป็ นหน้าที่ของราษฎรจะต้องขวนขวายหาเอง การศึกษายุคนี้มีวงั และวัด
เป็ นศูนย์กลางชุ มชน สถานศึ กษาส่ วนใหญ่คือบ้าน สถานศึ กษาอื่ นได้แก่ สานักสงฆ์ สานัก
ปราชญ์ราชบัณฑิต และราชสานัก
พระมหากษัตริ ยท์ ี่มีพระราชกรณี ยกิจ อันเป็ นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาของประเทศ
ไทยในสมัยต่อมามี 2 พระองค์ คือ พระเจ้ารามคาแหง และพระมหาธรรมราชาลิไท ซึ่ งกล่าวถึง
เป็ นข้อ ๆ ดังนี้
1.ประกาศให้พทุ ธศาสนาเป็ นศาสนาประจาชาติ
2.การประดิษฐ์อกั ษรไทย พ.ศ.1826 พ่อขุนรามคาแหงได้คิดประดิษฐ์อกั ษรไทยขึ้นใหม่
3.การประดิษฐ์ถว้ ยชามสังคโลก
4.การส่ งเสริ มทางประติมากรรมและศิลปกรรม
5.การบารุ งพุทธศาสนาในรัชการพระยาลิไท ในรัชสมัยนี้พทุ ธศาสนาได้รับการทานุ
บารุ งมากยิง่ ขึ้น
LOGO
การศึกษาสมัยสุ โขทัย
การศึกษาในสมัยสุ โขทัย(พ.ศ.1781 พ.ศ.1921) มีลกั ษณะการจัด ดังนี้
1.รูปแบบการจัดการศึกษา แบ่งออกเป็ น 2 ฝ่ าย กล่าวคือ “ฝ่ ายอาณาจักร” แบ่งออกเป็ น
2 ส่ วน ได้แก่ ส่ วนที่หนึ่ง เป็ นการจัดการศึกษาสาหรับผูช้ ายที่เป็ นทหาร เช่น มวย กระบี่ กระบอง
และอาวุธต่างๆ ตลอดจนวิธีการบังคับม้า ช้าง ตาราพิชยั ยุทธ์ซ่ ึ งเป็ นวิชาขั้นสู งของผูท้ ี่จะเป็ นแม่ทพั
นายกอง และส่ วนที่สอง พลเรื อน เป็ นการจัดการศึกษา ให้แก่พลเรื อน ผูช้ ายเรี ยนคัมภีร์ไตรเวท
โหราศาสตร์ เวชกรรม ฯลฯ ส่ วนพลเรื อนผูห้ ญิงให้เรี ยนวิชาช่างสตรี การปัก การย้อม การเย็บ การ
ถักทอ นอกจากเน้นมีการอบรมบ่มนิสยั กิริยามารยาท การทาอาหารการกินเพื่อเตรี ยมตัวเป็ น
แม่บา้ นแม่เรื อนที่ดีต่อไป “ฝ่ ายศาสนาจักร” เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาการจัด
การศึกษาในสมัยสุ โขทัยจึงเป็ นการจัดการศึกษาที่เน้นพุทธศาสนา และศิลปะศาสตร์ สมัยนี้พอ่ ขุน
รามคาแหงได้นาช่างชาวจีนเข้ามาเผยแพร่ การทาถ้วยชามสังคโลกให้แก่คนไทย
LOGO
การศึกษาสมัยสุ โขทัย
2.สถานศึกษา สาหรับสถานศึกษาในสมัยนี้ ประกอบด้วย
(1)บ้ าน เป็ นสถาบันสังคมพื้นฐานที่ช่วยทาหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ดา้ นอาชีพตาม
บรรพบุรุษ การก่อสร้างบ้านเรื อนศิลปะการป้ องกันตัวสาหรับลูกผูช้ ายและการบ้านการเรื อน เช่น
การจีบพลู การทาอาหาร และการทอผ้าสาหรับลูกผูห้ ญิง เป็ นต้น
(2)สานักสงฆ์ เป็ นสถานศึกษาที่สาคัญของราษฎรทัว่ ไป เพื่อหน้าที่ขดั เกลาจิตใจและ
แสวงหาธรรมะต่างๆ
(3)สานักราชบัณฑิต เป็ นบ้านของบุคคลที่ประชาชนยกย่องว่ามีความรู ้สูง บางคนก็เป็ น
ขุนนางมียศถาบรรดาศักดิ์ บางคนก็เห็นบวชเรี ยนแล้วจึงมีความรู ้ แตกฉานในแขนงต่างๆ
(4)พระราชสานัก เป็ นสถานศึกษาของพระราชวงศ์ และบุตรหลานของขุนนางในราช
สานักมีพราหมณ์หรื อบัณฑิตเป็ นครู สอน
LOGO
การศึกษาสมัยสุ โขทัย
3.วิชาทีส่ อน ไม่ได้กาหนดตายตัว พอแบ่งออกได้ดงั นี้
(1)วิช าความรู้ สามัญ สันนิ ษฐานว่า ในช่ ว งต้นสุ โขทัย ใช้ภ าษาบาลี และสัน สฤตใน
การศึกษา ต่อมาในสมัยหลังจากที่พ่อขุนรามคาแหงได้ทรงประดิษฐ์อกั ษรไทยขึ้นใช้เมื่อ พ.ศ.1826
จึงมีการเรี ยนภาษาไทยกัน
(2)วีชาชีพ เรี ยนกันตามแบบ อย่างบรรพบุรุษ ตระกูลใดมีความชานาญด้านใดลูกหลาน
จะมี ความถนัดและประกอบอาชี พตามแบบอย่างกันมา เช่ น ตระกูลใดเป็ นแพทย์ก็จะสอนบุตร
หลานให้เป็ นแพทย์
(3)วิ ช าจริ ย ศึ ก ษา สอนให้เ คารพนับ ถื อ บรรพบุ รุ ษ การรู้ จ ัก กตัญ ญู รู้ คุ ณ การรั ก ษา
ขนบธรรมเนียมประเพณี ด้ งั เดิม และการรู้จกั ทาบุญให้ทาน ถือศีลในระหว่างเข้าพรรษาเป็ นต้น
(4)วิช าศิ ล ปะป้ องกัน ตั ว เป็ นการสอนให้รู้ จกั การใช้อ าวุธ การบัง คับสัต ว์ ที่ ใ ช้เ ป็ น
พาหนะในการออกศึกและตาราพิชยั ยุทธ
LOGO
สรุป
กษัตริ ย์แห่ งกรุ งสุ โขทัย ได้ ครองราชย์ สืบต่ อกันมาเป็ นเวลาราว 200 ปี คือตั้งแต่ พ.ศ.
1780 – พ.ศ. 1981 แต่ ในราวปี พ.ศ. 1983 กลุ่มคนไทยทางตอนใต้ กรุ งสุ โขทัย ได้ สถาปนาอาณาจักร
บริเวณลุ่มแม่ น้าเจ้ าพระยาตอนล่ างขึน้ โดยมีพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้ าอู่ทอง) เป็ นปฐมกษัตริ ย์
ของอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาซึ่ งมีทาเลที่ต้ังดี มีกษัตริ ย์ที่เข้ มแข็งได้ ขยายเพิ่มขึ้นตามลาดับและ
สามารถยึดครองอาณาจักรสุ โขทัยเป็ นประเทศราชได้ ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 2 และต่ อมาใน
ปี พ.ศ.1981 ก็ได้ รวมเข้ าเป็ นส่ วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา