การปกครองสมัยอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา - ผลงานนักเรียน ชั้นม.6 ภาคเรียนที่ 1

Download Report

Transcript การปกครองสมัยอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา - ผลงานนักเรียน ชั้นม.6 ภาคเรียนที่ 1

การเมืองการปกครองของไทย
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
นายทักษ์
ทราปัญ
เลขที่
นายนคริ นทร์
หวายบุตร
เลขที่
นายณัฐสิ ทธิ์
จันทร์เปล่งแสง เลขที่
นางสาวกุลธิดา มาแสน
เลขที่
นางสาวเจนจิรา รุ จิวรกุล
เลขที่
นางสาวปพิชญา งอกขึ้น
เลขที่
นางสาวปาริ ฉตั ร อินทยุง
เลขที่
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/4
เสนอ ครู สายพิน วงษารัตน์
4
5
14
15
16
21
23
ในอดี ต ประเทศไทยมี ก ารปกครองระบอบสมบู ร ณาญาสิ ทธิ ร าชย์ โดยมี
พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุขทรงมีพระราชอํานาจโดยสมบูรณ์แต่เพียงประองค์เดียว กล่าว
ได้ว่า พระมหากษัตริ ยใ์ นระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์น้ ัน ทรงอยู่เหนื อรั ฐธรรมนู ญและ
กฎหมายใดๆ พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นผูต้ รากฎหมาย ทรงตัดสิ นและพิจารณาอรรถคดี ทรง
บริ หารประเทศ
ที่ผ่านมาประเทศไทยได้มีรูปแบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ ใน 4
สมัยดังนี้ คือ
1. สมัยอาณาจักรสุ โขทัย (พ.ศ. 1800-1921)
2. สมัยอาณาจักรกรุ งศรี อยุธยา (พ.ศ. 1893-2310)
3. สมัยอาณาจักรกรุ งธนบุรีและ สมัยอาณาจักรรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น
4. สมัยการปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 จนกระทัง่ ถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
วันที่24 มิถุนายน พ.ศ. 2475
การปกครองสมัยอาณาจักรสุ โขทัย
ในสมัยนี้มีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ หรื อราชาธิ ปไตย
ซึ่ งเป็ นรู ปแบบการปกครองที่พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นผูใ้ ช้อาํ นาจอธิปไตยอันเป็ น
อํานาจสู งสุ ดในการปกครองและทรงใช้อาํ นาจนี้ ในการออกกฎหมายเรี ยกว่าอํานาจนิติ
บัญญัติทรงบริ หารกิจการบ้านเมืองเรี ยกอํานาจนี้ วา่ อํานาจบริ หารราชการแผ่นดิน และ
ทรงพิจารณาอรรถคดีทรงพิพากษาและตัดสิ นคดีความต่าง ๆ ทุกวันธรรมะสาวนะด้วย
พระองค์เอง เรี ยกอํานาจนี้วา่ อํานาจตุลาการ จะเห็นได้วา่ พระมหากษัตริ ยท์ รงใช้อาํ นาจ
นี้เพียงพระองค์เดียว และทรงใช้อาํ นาจบนพื้นฐานของหลักธรรมประชาชนอยูร่ ่ มเย็น
เป็ นสุ ข
ในสมัยอาณาจักรสุ โขทัยมีลกั ษณะการปกครองโดยใช้คตินิยมในการปกครอง
แบบครอบครัวหรื อ“พ่อปกครองลูก” มาเป็ นหลักในการบริ หารประเทศ โดยในสมัย
นั้นพระมหากษัตริ ยใ์ กล้ชิดกับประชาชนมาก ประชาชนต่างก็ เรี ยกพระมหากษัตริ ย ์ ว่า
“พ่อขุน ” ซึ่ งมีลกั ษณะเด่นที่สาํ คัญ ดังต่อไปนี้
• พ่อขุนเป็ นผูใ้ ช้อาํ นาจอธิ ปไตย โดยปกครองประชาชนบนพื้นฐานของความรัก
ความเมตตาประดุจบิดาพึงมีต่อบุตร บางตําราอธิ บายว่าเป็ นการปกครองแบบพ่อ
ปกครองลูกหรื อแบบ “ ปิ ตุราชาประชาธิปไตย ”
• พ่อขุนอยูใ่ นฐานะผูป้ กครองและประมุขของประเทศที่มี อํานาจสู งสุ ดแต่เพียงผู ้
เดียว
• ประชาชนมีสิทธิและเสรี ภาพในการดําเนินชีวิตพอสมควร
นอกจากจะทรงวางรากฐานทางการปกครองแล้วในสมัยสุ โขทัยยังทรง
ประดิษฐ์อกั ษรไทยเปิ ดโอกาสให้คนได้เรี ยนรู้ภาษา รู้ธรรมและกษัตริ ยบ์ างพระองค์กไ็ ด้
ชื่อว่าเป็ นกษัตริ ยแ์ บบธรรมราชา การปกครองจึงมีรูปแบบธรรมราชาด้วย ซึ่ งมีหลักการ
คือ ความเชื่อที่วา่ พระราชอํานาจของกษัตริ ยจ์ ะต้องถูกกํากับด้วยหลักธรรมะ ประชาชน
จงจะอยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข เมื่อสิ้ นพระชนม ก็จะได้ไปสู่ สวรรค จึงเรี ยกว่า สวรรคตหลักธรรม
สําคัญที่กาํ กับพระราชจริ ยวัตร คือ ทศพิธราชธรรม และจักรวรรดิวตั ร 12 ประการ
การปกครองสมัยอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา
พระเจ้าอู่ทองทรงเป็ นพระมหากษัตริ ยพ์ ระองค์แรกของอาณาจักร
กรุ งศรี อยุธยา เป็ นช่วงของการก่อร่ างสร้างเมืองทําให้ตอ้ งมีผนู ้ าํ ในการ
ปกครองเพื่อรวมรวมอาณาจักรให้แผ่ขยาย มีการติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน
ในเรื่ องการค้าและศาสนา และในช่วงเวลานั้นมีการเผยแพร่ ของลัทธิ ฮินดูและ
ขอมเข้ามามีบทบาทในอาณาจักร ดังนั้นในสมัยกรุ งศรี อยุธยาจึงได้รับ
วัฒนธรรมการปกครองแบบขอมและฮินดูเข้ามาใช้เรี ยกการปกครองแบบนี้วา่
“การปกครองแบบเทวสิ ทธิ์ ” หรื อ“สมมติเทพ ” โดยมีหลักการสําคัญ คือ
• กษัตริ ยเ์ ปรี ยบเสมือนเทพเจ้าที่มีอาํ นาจสู งสุ ด ทรงเป็ นเจ้าชีวิต คือ พระมหากษัตริ ย ์
ทรงมีพระราชอํานาจเหนือชีวิตของบุคคลที่อยูใ่ นสังคมทุกคน และทรงเป็ นพระเจ้า
แผ่นดิน คือ ทรงเป็ นเจ้าของแผ่นดินทัว่ ราชอาณาจักรและพระมหากษัตริ ยจ์ ะทรง
พระราชทานให้ใครก็ได้ตามอัธยาศัย
• การที่พระมหากษัตริ ยท์ รงอยูใ่ นฐานะเป็ นสมมุติเทพ ตามคตินิยมของพราหมณ์จง
ต้องมี ระเบียบพิธีการต่าง ๆ มากมายแม้แต่ภาษาที่ใช้กบั พระมหากษัตริ ยก์ ไ็ ด้บญั ญัติ
ขึ้นใช้เฉพาะกับพระมหากษัตริ ยเ์ ท่านั้นที่เราเรี ยกว่า“ราชาศัพท์ ”
• กษัตริ ยใ์ นสมัยกรุ งศรี อยุธยาต้องเข้าพิธีปราบดาภิเษก ซึ่ งถือว่าเป็ นการขึ้นสู่ ราช
บัลลังก์โดยชอบธรรม
• เกิดระบบทาสขึ้นหมายถึง บุคคลที่ใช้แรงงาน โดยทาสในสมัยกรุ งศรี อยุธยาอนุญาต
ให้เสนาบดีขา้ ราชบริ พารและประชาชนที่ร่ ํารวยมีทาสได้
จากการที่อาณาจักรกรุ งศรี อยุธยา ได้รับแนวคิดทางการเมืองการปกครอง
จากเขมรมากขึ้น ส่ งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านการปกครองและในด้าน
สังคมไม่วา่ จะเป็ น พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นเทวราชหรอเทวดาโดยสมมุติ , การเกิด
ระบบศักดินาขึ้นนครแรกในสังคมไทย , การเกิดการปกครองแบบนายกับบ่าว, มี
การแบ่งชนชั้นทางสังคมชัดเจน นอกจากนี้ในสมัยอยุธยายังต้องทําศึกสงคราม
เกือบตลอดเวลา จึงมีความจําเป็ นที่จะต้อง มีการเกณฑ์ไพร่ พลเพื่อป้ องกันประเทศ
จึงเกิดระบบไพร่ และมูลนายด้วยเช่นกัน
การปกครองสมัยอาณาจักรกรุ งธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี เป็ นอาณาจักรของคนไทยในช่วงเวลาสั้น ๆ ระหว่าง
พ.ศ. 2310 - 2325 มีพระมหากษัตริ ยป์ กครองเพียงพระองค์เดียว คือ สมเด็จพระ
เจ้ากรุ งธนบุรี ภายหลังจากที่อาณาจักรอยุธยาล่มสลายไปพร้อมกับการปล้นกรุ ง
ศรี อยุธยาของกองทัพพม่า ทว่า ในเวลาต่อมา สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริ ยศ์ ึก
ได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็ นกษัตริ ย ์ และทรงย้ายเมืองหลวงไปยังฝั่งตะวันออก
ของแม่น้ าํ เจ้าพระยา คือ กรุ งเทพมหานครในปั จจุบนั
การปกครองในสมัยกรุ งธนบุรียงั คงมีรูปแบบเหมือนกับสมัยอยุธยาตอนปลาย
พอสรุ ปได้ดงั นี้
การปกครองส่ วนกลาง หรื อ การปกครองในราชธานีมีพระมหากษัตริ ย ์
เป็ นประมุขสูงสุ ดเปรี ยบเสมือนสมมุติเทพ มีเจ้าฟ้ าอินทรพิทกั ษ์ดาํ รงดําแหน่ง
พระมหาอุปราช มีตาํ แหน่งอัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหารหรื อสมุหพระกลาโหม
มียศเป็ นเจ้าพระยามหาเสนา และอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรื อนหรื อสมุหนายก
(มหาไทย) มียศเป็ นเจ้าพระยาจักรี เป็ นหัวหน้าบังคับบัญชาเสนาบดีจตุสดมภ์
4 กรมได้แก่
1. กรมเมือง (นครบาล) มีพระยายมราชเป็ นผูบ้ งั คับบัญชา ทําหน้าที่
เกี่ยวกับการปกครองภายในเขตราชธานี การบําบัดทุกข์บาํ รุ งสุ ขของราษฎรและ
การปราบโจรผูร้ ้าย
2. กรมวัง (ธรรมาธิกรณ์) มีพระยาธรรมาเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาทําหน้าที่
เกี่ยวกับกิจการภายในราชสํานักและพิพากษาอรรถคดี
3. กรมพระคลัง (โกษาธิบดี) มีพระยาโกษาธดีเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาทํา
หน้าที่เกี่ยวกับการรับจ่ายเงินของแผ่นดิน และติดต่อ ทําการค้ากับต่างประเทศ
4. กรมนา (เกษตราธิการ) มีพระยาพลเทพเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาทําหน้าที่
เกี่ยวกับเรื อกสวนไร่ นาและเสบียงอาหารตลอดจน ดูแลที่นาหลวง เก็บภาษีค่านา
เก็บข้าวขึ้นฉางหลวงและพิจารณาคดีความเกี่ยวกับเรื่ องโค กระบือ และที่นา
การปกครองส่ วนภูมิภาค หรื อ การปกครองหัวเมือง
การปกครองส่ วนภูมิภาคแบ่งออกเป็ น หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก
หัวเมืองประเทศราช
หัวเมืองชั้นใน จัดเป็ นเมืองระดับชั้นจัตวา มีขนุ นางชั้นผูน้ อ้ ยเป็ นผูด้ ูแล
เมือง ไม่มีเจ้าเมือง ผูป้ กครองเมืองเรี ยกว่า ผูร้ ้ ัง หรื อ จ่าเมือง อํานาจในการปกครอง
ขึ้นอยูก่ บั เสนาบดีจตั ุสดมภ์ หัวเมืองชั้นในสมัยกรุ งธนบุรี ได้แก่ พระประแดง
นนทบุรี สามโคก(ปทุมธานี)
หัวเมืองชั้นนอก หรื อเมืองพระยามหานคร เป็ นเมืองที่อยูน่ อกเขตราชธานี
ออกไป กําหนดฐานะเป็ นเมืองระดับชั้น เอก โท ตรี จัตวา ตามลําดับ หัวเมืองฝ่ ายเหนือ
ขึ้นอยูก่ บั อัครมหาเสนาบดีฝ่ายสมุหนายก ส่ วนหัวเมืองฝ่ ายใต้และหัวเมืองชายทะเลภาค
ตะวันออก ขึ้นอยูก่ บั กรมท่า(กรมพระคลัง) ถ้าเป็ นเมืองชั้นเอก พระมหากษัตริ ย ์ จะส่ ง
ขุนนางชั้นผูใ้ หญ่ ออกไปเป็ นเจ้าเมือง ทําหน้าที่ดูแลต่างพระเนตรพระกรรณ
หัวเมืองประเทศราชเป็ นเมืองต่างชาติต่างภาษาที่อยูห่ ่างไกลออกไปติด
ชายแดนประเทศอื่น มีกษัตริ ยป์ กครอง แต่ตอ้ งได้รับการแต่งตั้งจากกรุ งธนบุรี ประเทศ
เหล่านั้น ประมุขของแต่ละประเทศจัดการปกครองกันเอง แต่ตอ้ งส่ งต้นไม้เงินต้นไม้
ทองและเครื่ องราชบรรณาการมาให้ตามที่กาํ หนด
เอกสารอ้ างอิง
http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=2520.0;wap2
http://www.learners.in.th/blogs/posts/414226
https://sites.google.com/site/kruranang/sm44
http://thanchanok-k.blogspot.com/2010/05/3-1.html
http://joy-sasicha.blogspot.com/2010/06/blog-post.html
จบการนําเสนอ