โดย อ.จีรพร ทองเวียง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี อาณาจักรสุ โขทัย ก่ อตั้งขึน้ ประมาณ พ.ศ.1792 โดย พ่ อขุนบางกลางหาว กับ พ่ อขุนผาเมือง.

Download Report

Transcript โดย อ.จีรพร ทองเวียง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี อาณาจักรสุ โขทัย ก่ อตั้งขึน้ ประมาณ พ.ศ.1792 โดย พ่ อขุนบางกลางหาว กับ พ่ อขุนผาเมือง.

โดย
อ.จีรพร ทองเวียง
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี
อาณาจักรสุ โขทัย ก่ อตั้งขึน้ ประมาณ พ.ศ.1792
โดย พ่ อขุนบางกลางหาว กับ พ่ อขุนผาเมือง
1) ขอมเสื่อมอำนำจลง เนื่ องจำกพระเจ้ำชัยวรมันที่ 7 สวรรคต
2) ควำมเข้มแข็งของผูน้ ำและควำมสำมัคคีของคนไทย
3) ทำเลที่ตงั ้ กรุงสุโขทัยเหมำะสม อยู่บนฝังแม่
่ น้ำยม
กำรคมนำคมสะดวก
1) พ่อขุนศรีอินทรำทิตย์
2) พ่อขุนบำนเมือง
3) พ่อขุนรำมคำแหงมหำรำช
4) พระยำเลอไทย
5) พระยำงัวน
่ ำถุม
6) พระมหำธรรมรำชำที่ 1 (ลิไทย)
7) พระมหำธรรมรำชำที่ 2
8) พระมหำธรรมรำชำที่ 3 (ไสยลือไทย)
9) พระมหำธรรมรำชำที่ 4 (บรมปำล)
กำรปกครองในช่วงแรก สุโขทัยปกครองแบบพ่อปกครองลูก
กษัตริยม์ ีคำนำหน้ ำพระนำมว่ำ “พ่อขุน” ผูค้ นเดือดร้อนสัน่
กระดิ่งที่หน้ ำประตูวงั พ่อขุนรำมคำแหงมหำรำช จะเสด็จออก
ตัดสินด้วยพระองค์เอง
การปกครองแบบพ่อปกครองลกู
- พ่อขุน อยูใ่ นฐานะผูป้ กครอง มีอานาจสูงสุ ดเด็ดขาดหรื อ
อธิปไตย
- พ่อขุนใช้อานาจอธิปไตยนี้ ปกครองประชาชนบนพื้นฐานของ
ความรัก ความ เมตตา ประดุจบิดาพึงมีต่อบุตร
- ผูป้ กครองกับประชาชนผูอ้ ยูใ่ ต้การปกครองอยูใ่ นฐานะเท่าเทียม
กันต่างก็อยูใ่ นฐานะมนุษย์
เมืองประเทศราช
เมืองลูกหลวง
เมืองพระยามหานคร
เมืองหลวง
ผมรู้ ครับ ฮ่ ะ ฮ่ ะ คุณยาย
เคยเล่าให้ ฟัง
เมืองหลวง ปกครองโดยพระมหากษัตริย์
เมืองลกู หลวง ปกครองโดยราชโอรส
เมืองพระยามหานคร ปกครองโดยขุนนางชั้นผู้ใหญ่
เมืองประเทศราช ปกครองโดยเจ้ าเมืองนั้นๆ แต่ ต้องส่ งเรื่องราชบรรณาการ
การจัดแบ่ งส่ วนการปกครอง
การแบ่งส่ วนการปกครองแบ่งเป็ น 2 ส่ วน คือ
1. การปกครองส่ วนกลาง เป็ นการปกครองใน
ราชธานีหรื อเมืองหลวง คือ สุ โขทัยเป็ นศูนย์กลางการ
ปกครองของอาณาจักร
2. การปกครองส่ วนภูมิภาค เป็ นการปกครองเมือง
ต่างๆ นอกเมืองหลวงออกไป แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
2.1 เมืองลูกหลวง หรือเมืองหน้ าด่ าน ระยะทางเดิน
เท้ า 2 วันจากเมืองหลวง พระมหากษัตริย์จะแต่ งตั้งเจ้ านาย
เชื้อพระวงศ์ ไปปกครอง อยู่รอบราชธานีท้งั 4 ทิศ คือ
- ทิศเหนือ ได้ แก่ เมืองศรีสัชนาลัย (สวรรคโลก)
- ทิศใต้ ได้ แก่ เมืองสระหลวง (พิจติ ร)
- ทิศตะวันออก ได้ แก่ เมืองสองแคว (พิษณุโลก)
- ทิศตะวันตก ได้ แก่ เมืองนคร (กาแพงเพชร)
2.2 เมืองพระยามหานคร พระมหากษัตริ ยจ์ ะทรง
แต่งตั้งเจ้าเมืองไปปกครองดูแล ในสมัยพ่อขุนรามคาแหง
มหาราช มีหลายเมืองเช่น เมืองพระบาง เชียงทอง บางพาน
เป็ นต้น
2.3 เมืองประเทศราช เจ้าเมืองเดิมปกครองแต่ตอ้ งส่ ง
เครื่ อง ราชบรรณาการมาถวายต่อกษัตริ ยส์ ุ โขทัย และส่ งทัพและ
เสบียงไปช่วยในยามสงคราม ในสมัยพ่อขุนรามคาแหง ได้แก่
เมืองแพร่ น่าน นครศรี ธรรมราช มะละกา เวียงจันทร์
หลวงพระบาง ทวาย เมาะตะมะ และ เมืองหงสาวดี
กำรเมืองกำรปกครองช่วงนี้ ได้รบั อำรยธรรมตะวันออกมำจำก
แหล่งต่ำงๆ เช่น อินเดีย ลังกำ มอญ เขมร จึงมีกำรปกครองแบบ
“ธรรมรำชำ ” คำนำหน้ ำพระนำมพระมหำกษัตริยเ์ ปลี่ยนจำก
“พ่อขุน” มำเป็ น “พระยำ” (พญำ) หรือ “พระมหำธรรมรำชำ”
สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) จึงให้ความสาคัญ
ของความเป็ น “ธรรมราชา”
แผนทีแ่ สดงอาณาจักรสุโขทัย
สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
ล้านนา
จีน
สุ โขทัย
ญวน
ขอม
นครศรีธรรมราช
อยู่ทำงด้ ำนเหนื อของสุโขทัย พญำเม็งรำยแห่ งล้ ำน
นำนเป็ นเพื่ อนสนิทกับพ่อขุนรำมคำแหงมหำรำช
พระเจ้ าฟ้ ารั่ว(มะกะโท) มีฐานะเป็ นราชบุตรเขยของพ่ อขุนราม
มหาราช เมือ่ สิ้นสมัยพ่ อขุนรามฯ ก็แยกตัวเป็ นอิสระ
พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงนาพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
จากนครศรีธรรมราชมาประดิษฐานในกรุงสุ โขทัย
มีความสั มพันธ์ กบั สุ โขทัยทางด้ านวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาท ลัทธิลงั กาวงศ์
มีความสั มพันธ์ กบั สุ โขทัยในลักษณะการค้ าในระบบบรรณาการ
พื้นฐานทางเศรษฐกิจอยูท่ ี่การเกษตรเป็ นหลัก และมี
การค้ากับเครื่ องสังคโลกเป็ นองค์ประกอบ
ชลประทาน
บริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ า โดยเฉพาะแม่น้ า
ยม และแม่ น้ า น่ า น แต่ น้ า มัก ท่ ว ม ให้
ผลผลิ ตน้อย ส่ วนบริ เวณที่ ราบเชิ งเขา
เป็ นที่ดอน ไม่มีน้ า ด้วยเหตุน้ ี สุ โขทัย
จึ ง ต้ อ งสร้ า งระบบชลประทานเพื่ อ
ควบคุมน้ าให้ใช้ประโยชน์ได้สูงสุ ด
สุ โขทัยสร้างสรี ดภงส์ หรื อทำนบ
พระร่ วงซึ่ งเป็ นเขื่ อ นดิ น ขนาด
ใหญ่ไว้ทางทิ ศตะวันตกเฉี ยงใต้
ของตัวเมื องเพื่อกัก เก็บน้ าไว้ใช้
ในฤดูแล้ง มีการสร้างเหมืองฝาย
และขุดคลองส่ งน้ าเป็ นแนวยาว
ผ่ า น ศ รี สั ช น า ลั ย - สุ โ ข ทั ย ก าแพงเพชร เกิ ดเป็ นผื น ดิ น
กว้างใหญ่สาหรับเพาะปลูก
พืชสาคัญ คือ ข้าว มะม่วง มะพร้าว มะขาม ขนุน หมากพลู
พืชไร่ และไม้ผลอื่นๆ แต่ผลิตได้ปริ มาณน้อย บางปี สุ โขทัย
ต้องซื้อข้าวจากแถบลพบุรีไปเลี้ยงประชากรในอาณาจักร
เครื่ องสังคโลก
เป็ นสิ นค้าที่สุโขทัยรับช่วงมาจาก
จีน สุ โขทัยส่ งเครื่ องสังคโลกไป
ขายโดยล่องแม่น้ าไปออกทะเลที่
เมาะตะมะ และอ่าวไทย ซึ่งทา
รายได้ให้อาณาจักรมากพอสมควร
เตาทีใ่ ช้เผาเครือ่ งสังคโลกเรียกว่า
“เตาทุเรียง” การเผาจะใช้ความ
ร้อนสูง สังคโลกเป็ นภาชนะดินเผาเคลือ
มีการเขียนสี นถ้วยชาม แล้วเคลือ
อย่างสวยงาม
ในสมัยสุโขทัย มีการผลิตเงิน
พดด้วงเป็ นครัง้ แรก มาตราเงินใช้
ตาลึง าท สลึง ส่วนตราทีป่ ระทั
ได้แก่..ตราช้าง สังข์ ราชสีห์ ฯลฯ
นอกจากนี้ยงั ใช้เ ย้ี เป็ นเงินตราด้วย
ซึง่ เ ย้ี ทีน่ ิยม คือ เ ย้ี จัน่
1. มีแม่น้ำ ปิง วัง ยม และ น่ ำน ไหลผ่ำน
2. มีกำรจัดระบบชลประทำน มี ทำนบกักเก็บน้ำ(สรีดภงส์)
ขุดสระน้ำ(ตระพัง) รอบเมืองสุโขทัย และเมืองสำคัญ
1. สินค้ำออกที่สำคัญคือ เครื่องสังคโลก พริกไทย น้ำตำล งำช้ำง
2. สินค้ำเข้ำที่สำคัญ คือ ผ้ำไหม ผ้ำทอ อัญมณี
3. ตลำดปสำน คือ ตลำดประจำหมู่บำ้ น เป็ นที่แลกเปลี่ยนสินค้ำ
4. จกอบ(จังกอบ) คือ ภำษี ผำ่ นด่ำน ซึ่งไม่มีกำรเก็บ ทำให้มี
ปริมำณสินค้ำมำก รำคำถูก
งำนหัตถกรรมที่มีชื่อเสียงของสุโขทัยคือ กำรทำ
เครือ่ งปัน้ ดินเผำเครือ่ งสังคโลกที่เผำโดยใช้เตำทุเรียงซึ่งที่
มีผลิตมำกคือ ถ้วยชำม รองลงมำคือ แจกัน คนโฑ และ
ตุก๊ ตำต่ำงๆ
เครื่องสั งคโลก
เครื่องสั งคโลก
1. เจดียแ์ บบสุโขไทยแท้ ฐำนเป็ นสี่เหลี่ยมสำมชัน้ ตัง้
ซ้อนกัน องค์เจดียเ์ ป็ นทรงกลม ยอดเจดียพ์ ่มุ ข้ำว
บิณฑ์(ดอกบัวตูม)
2. เจดียท์ รงกลมแบบลังกำ( คล้ำยระฆัง)
3. เจดียแ์ บบศรีวิชยั ฐำนเป็ นสี่เหลี่ยม องค์ระฆังสูง
มีลกั ษณะเด่นคือ พระเกศมีรศั มีเปลวเพลิง พระเกศำขมวด
เป็ นก้นหอย พระพักตร์รปู ไข่ พระนำสิกแหลมงุ้ม พระโอษฐ์
ยิ้มเล็กน้ อย พระอังสะใหญ่ ครองจีวรห่มเฉลียง ชำยจีวรยำว
จรดพระนำภี
พระพุทธรูปปางลีลา
เป็ นอาการกริยาทีพ่ ระพุทธเจ้าทรง
เสด็จลงจากสวรรค์ หลังจากทรง
โปรดพระมารดาของพระองค์
ทีส่ วรรคชัน้ ดาวดึงส์
สมัยสุ โขทัย พบภาพจิตกรรมทั้งลายเส้ นและภาพสี ฝุ่นตาม
ฝาผนัง สี นิยมใช้ เป็ นสี กลุ่มดาแดง ทีเ่ รียกว่ า “สี เอกรงค์ ”
เป็ นพระรำชนิพนธ์ ของพระมหำธรรมรำชำ
ที่ 1 (ลิไทย) ซึ่งเกี่ยวกับพระพุทธศำสนำ
มุ่งเน้ น ให้ทำควำมดี ชี้ให้เห็นถึงบำปบุญ
นรก สวรรค์
ประเพณีลอยกระทง
พระราชพิธีจองเปรี ยงต่อมาภายหลังจึง
เรี ยกว่าลอยกระทงทรงประทีป และถ้า
เป็ นพิธีของชาวบ้านราษฎรทัว่ ไป
เรี ยกว่า ลอยกระทง
ประเพณีกรานกฐินเดือนสิ บสอง
ที่เกี่ยวเนื่องในวันทางศาสนาพุทธ คือ
วันออกพรรษา ชาวสุ โขทัยจะพากัน
มาร่ วมขบวนแห่ เพื่อนาองค์กฐินไป
ยังวัดอรัญญิก เพื่อร่ วมถวายผ้ากฐิน
1) ควำมไม่เข้มแข็งของกษัตริยส์ โุ ขทัยบำงพระองค์
2) กำรแย่งชิงอำอำจกันเองในหมูผ่ นู้ ำของสุโขทัย
3) กำรประกำศตนเป็ นอิสระของอำณำจักรอยุธยำ
4) กำรตัง้ ตนเป็ นอิสระของหัวเมืองมอญ
แม้ ว่าอาณาจักรสุ โขทัยจะเจริญรุ่ งเรือง
ได้ นานถึง 200 ปี ด้ วยเหตุปัจจัยหลายๆ
อย่ างข้ างต้ น ทาให้ อาณาจักรสุ โขทัยต้ อง
ล่ มสลายลงในทีส่ ุ ด
จาไว้ นะคะในฐานะทีเ่ ราเป็ นคนไทย ไม่ ว่าจะอยู่
ในแผ่ นดินของราชวงศ์ ไหนก็ขอให้ เราปฏิบัติตน
เป็ นคนดีของสั งคม ของแผ่ นดิน เพือ่ ทดแทน
พระคุณของแผ่ นดินกันนะคะ