การจัดเก็บและให้บริการหนังสืองานศพ

Download Report

Transcript การจัดเก็บและให้บริการหนังสืองานศพ

การจัดเก็บและให้บริการหนังสืองานศพ : กรณี ศึกษาศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Thai Cremation Books Storage and Services : A Case Study of
Center for Library Resources and Educational Media
Walailak University
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรจน์ บัณฑิตย์ และ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ดิชิตชัย เมตตาริกานนท์
ศูนยบรรณสารและสื
่ อการศึ กษา เป็ นหน่วยงานหนึ่งทีไ่ ดด
้
์
้ าเนินงานกอตั
่ ง้ โครงการพิเศษขึน
ซึง่ อยูภายใต
โครงการอุ
ทยานการศึ กษาเฉลิมพระเกียรติ
่
้
โดยมีวต
ั ถุประสงคเพื
่ จัดเก็บและให้บริการสารสนเทศลักษณะพิเศษ
์ อ
ซึง่ ประกอบดวยโครงการย
อยทั
ง้ หมด 4 โครงการ ดังนี้
้
่
1. โครงการเทิดพระเกียรติ
2. โครงการธรรมนิทศั น์
3. โครงการเอกสารทักษิณคดีและหนังสือหายาก
มีวตั ถุประสงค์เพื่อรวบรวมจัดเก็บ และเป็ นแหล่งค้นคว้าเผยแพร่ ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทสิ่ งพิมพ์หายากที่เกี่ยวกับข้อมูลท้องถิ่นภาคใต้
โดยเฉพาะจังหวัดนครศรี ธรรมราช และหนังสื อที่เกี่ยวกับบุคคลสาคัญในท้องถิ่นทั้งในและต่างประเทศ
เช่น หนังสื ออนุสรณ์งานศพ หนังสื อชีวประวัติ หนังสื อรวบรวมผลงาน เป็ นต้น
• โดยเลขเรียกหนังสือใช้ สัญลักษณ์ พเิ ศษ คือ WT
• มีจานวนทรัพยากรกว่ า 7,000 รายการ
* เฉพาะหนังสืออนุสรณ์ งานศพมีทรัพยากรประมาณกว่า 3,500 รายการ
4. โครงการห้ องสารสนเทศสมเด็จพระเจ้ าลูกเธอ เจ้ าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ศูนย์บรรณสารและสื่ อการศึกษามีหนังสื ออภินนั ทนาการที่เป็ น Special Collection
ไว้ให้บริ การแก่ผใู้ ช้ ซึ่งได้รับอภินนั ทนาการมาจาก 4 แหล่งด้วยกันคือ
1. สารสนเทศขุนอาเทศคดีศึกษา (Collection of Khun Ates)
2. สารสนเทศจีนศึกษา (Collection of Hanban)
3. สารสนเทศ รองศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ ศิริประชั
(Collection Dr.Somboon Siriprachai)
4. ธรรมนิพนธ์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
• สำหรับงำนวิจยั ในเรื่ องนี ้มุง่ เน้ นศึกษำเฉพำะกำรจัดเก็บและกำร
ให้ บริกำรหนังสืองำนศพ ซึง่ อยูภ่ ำยใต้ โครงกำรเอกสำรทักษิณคดีและ
หนังสือหำยำก ซึง่ ศึกษำเฉพำะหนังสืองำนศพที่มีทรัพยำกรประมำณ
กว่ำ 3,500 รำยกำรแต่ได้ กำหนดขอบเขตกำรศึกษำตำมจำนวนที่มี
ณ วันที่ศกึ ษำคือ 3,500 ชื่อเรื่ องเท่ำนัน้
• หนังสืองำนศพหรื อหนังสืออนุสรณ์งำนศพ (Cremation Books )
เกิดขึ ้นในประเทศไทยครัง้ แรกเมื่อสมัยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ ำ
เจ้ ำอยูห่ วั รัชกำลที่ 5 ครัง้ นันจั
้ ดพิมพ์ขึ ้นเป็ นที่ระลึกในงำน
พระรำชทำนเพลิงศพสมเด็จพระนำงเจ้ ำสุนนั ทำกุมำรี รัตน์หรื อที่ร้ ูจกั กัน
ดีในหมูช่ ำวไทยโดยออกพระนำมว่ำพระนำงเรื อล่ม เป็ นหนังสือชือ่
สำรำทำนปริยำยกถำมรรค แต่ที่พบในหอสมุดแห่งชำติพบว่ำมีหนังสือ
ชื่อนนทกปกำรนน พิมพ์ขึ ้นเพื่อแจกในงำนพระศพกรมขุนโพธิไพศำล
โสภนธ์ พิมพ์ขึ ้นเมื่อปี พ.ศ.2419 และเมื่อเป็ นพระรำชนิยมต่อมำจึงได้
ยึดถือเป็ นธรรมเนียมปฏิบตั มิ ำจนทุกวันนี ้
• Olson (1992 ) ได้ ชี ้ให้ เห็นว่ำกำรจัดพิมพ์หนังสืองำนศพใน
ประเทศไทยนันมี
้ ลกั ษณะเฉพำะและเป็ นวัฒนธรรมที่เป็ นเอกลักษณ์
ของสังคมไทย และจำกกำรแบ่งหมวดหมูข่ องงำนศึกษำวิจยั ของ
Pranee Kiriyanant ( 2012 ) ที่ได้ ดำเนินกำรที่ห้องสมุดของ
ศูนย์เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ศกึ ษำ มหำวิทยำลัยเกียวโต ทีถ่ ือว่ำมี
จำนวนทรัพยำกรสำรสนเทศหนังสืองำนศพที่อยูน่ อกประเทศไทยมำก
ที่สดุ จำกกำรศึกษำวิจยั นี ้ได้ ทำกำรคัดแยกหมวดหมูห่ นังสืองำนศพเป็ น
จำนวนถึง 4,000 ชื่อเรื่ อง
• ส่วนงำนวิจยั ของสุดำรัตน์ รัตนรำช ( 2542 )ได้ ศกึ ษำกำรนำหนังสือ
งำนศพไปใช้ ในงำนวิจยั เชิงประวัตศิ ำสตร์ โดยได้ ศกึ ษำวิจยั เชิงคุณภำพ
กับนักประวัตศิ ำสตร์ เป็ นเวลำถึง 3 ปี รวมถึงกำรศึกษำของนวลวรรณ
ชันไพศำลศิ
้
ลป์ ( 2542 ) ได้ ทำกำรศึกษำวิจยั เรื่ องกำรวิเครำห์หนังสือ
อนุสรณ์งำนศพที่จดั พิมพ์ในปี พ.ศ.2521 ถึง พ.ศ.2530 ที่ได้ วิ
เครำห์เนื ้อหำของหนังสืองำนศพจำกห้ องสมุด 18 แห่งรวมถึงที่
ห้ องสมุดวัดบวรนิเวศวิหำรด้ วย นอดจำกนัน้ อรรถจักร์ สัตยำนุรักษ์ ได้
ศึกษำวิจยั เรื่ องควำมหมำยของตัวตน : พัฒนำกำรหนังสือแจกในงำน
ศพ (2555 )
วัตถุประสงค์ การวิจัย
• 1.เพื่อศึกษำระบบกำรจัดเก็บและให้ บริกำรหนังสืองำนศพของศูนย์
บรรณสำรและสื่อกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
2.เพื่อศึกษำหำแนวทำงในกำรจัดหำหนังสืองำนศพของศูนย์บรรณสำร
และสื่อกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
• 3.เพื่อศึกษำกำรกระจำยตัวของเนื ้อหำของหนังสืองำนศพของศูนย์
บรรณสำรและสื่อกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
ขั้นตอนและวิธีดาเนินการการวิจัย
• 1.กำหนดวัตถุประสงค์ในกำรวิจยั
• 2.กำหนดสมมติฐำนในกำรวิจยั โดยแบ่งออกเป็ น 3 ข้ อคือ
• 2.1 เนื ้อหำของหนังสืองำนศพส่วนใหญ่ที่พิมพ์เผยแพร่จะมีเนื ้อหำด้ ำนศำสนำ
โดยจัดหมวดหมูใ่ นหมวดศำสนำและปรัชญำ
• 2.2 ควำมต้ องกำรใช้ งำนหนังสืองำนศพในกำรศึกษำค้ นคว้ ำส่วนใหญ่เป็ น
หนังสือที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในด้ ำนประวัติศำสตร์ เป็ นส่วนใหญ่
• 2.3 ปั ญหำในกำรจัดเก็บและให้ บริกำรหนังสืองำนศพส่วนใหญ่จะเป็ นด้ ำนกำร
จัดหมวดหมูแ่ ละกำรจัดสรรงบประมำณในกำรจัดซื ้อหนังสืองำนศพ และขำด
ผู้รับผิดชอบในกำรให้ บริกำรที่มีควำมรู้ควำมเข้ ำในในเรื่ องของเนื ้อหำและ
ควำมสำคัญของหนังสืองำนศพ
• 3.กระบวนกำรในกำรดำเนินกำรวิจยั
• 3.1 กำหนดกลุม่ ประชำกรที่จะศึกษำคือหนังสืองำนศพที่อยูใ่ นศูนย์บรรณสำร
และสื่อกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์จำนวน 3,500 ชื่อเรื่ อง
• 3.2 จัดทำแบบลงรำยกำรเพื่อจำแนกเนื ้อหำตำมหมวดหมูแ่ บบทศนิยมดิวอี ้
(Dewey Decimal Classification System )
• 3.3 จัดทำแบบสัมภำษณ์เชิงลึกเพื่อใช้ สมั ภำษณ์บรรณำรักษ์ ในศูนย์บรรณสำร
และสื่อกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์ จำนวน 10 คน
• 3.4 วิเครำะห์ข้อมูลในเชิงสถิติโดยใช้ คำ่ กลำงเลขคณิต และร้ อยละ เป็ นหลัก
• 3.5 สรุปและอภิปรำยผลเปรี ยบเทียบกับงำนวิจยั อื่นๆที่เกี่ยวข้ อง
•
ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะในการวิจัย
• ผลของกำรศึกษำพบว่ำมีควำมสอดคล้ องกับกำรวิจยั ของ Olson (1992 ) ได้
ชี ้ให้ เห็นว่ำกำรจัดพิมพ์หนังสืองำนศพในประเทศไทยนันมี
้ ลกั ษณะเฉพำะและเป็ น
วัฒนธรรมที่เป็ นเอกลักษณ์ของสังคมไทย และจำกกำรแบ่งหมวดหมูข่ องงำน
ศึกษำวิจยั ของ Pranee Kiriyanant ( 2012 ) ที่ได้ ดำเนินกำรที่ห้องสมุด
ของศูนย์เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ศกึ ษำ มหำวิทยำลัยเกียวโต ที่ถือว่ำมีจำนวน
ทรัพยำกรสำรสนเทศหนังสืองำนศพที่อยูน่ อกประเทศไทยมำกที่สดุ จำกกำร
ศึกษำวิจยั นี ้ได้ ทำกำรคัดแยกหมวดหมูห่ นังสืองำนศพเป็ นจำนวนถึง 4,000 ชื่อ
เรื่ อง ส่วนงำนวิจยั ของสุดำรัตน์ รัตนรำช ( 2542 )ได้ ศกึ ษำกำรนำหนังสืองำนศพ
ไปใช้ ในงำนวิจยั เชิงประวัติศำสตร์ โดยได้ ศกึ ษำวิจยั เชิงคุณภำพกับนัก
ประวัติศำสตร์ เป็ นเวลำถึง 3 ปี
• รวมถึงกำรศึกษำของนวลวรรณ ชันไพศำลศิ
้
ลป์ ( 2542 ) ที่ได้
ทำกำรศึกษำวิจยั เรื่ องกำรวิเครำห์หนังสืออนุสรณ์งำนศพทีจ่ ดั พิมพ์ในปี
พ.ศ.2521 ถึง พ.ศ.2530 ที่ได้ วิเครำห์เนื ้อหำของหนังสืองำนศพ
จำกห้ องสมุด 18 แห่งรวมถึงที่ห้องสมุดวัดบวรนิเวศวิหำรด้ วย นอด
จำกนัน้ อรรถจักร์ สัตยำนุรักษ์ ได้ ศกึ ษำวิจยั เรื่ องควำมหมำยของตัวตน
: พัฒนำกำรหนังสือแจกในงำนศพ (2555 )
• จากการวิจัยพบว่ าหนังสืองานศพที่จัดเก็บและให้ บริการอยูใ่ นศูนย์
บรรณสำรและสื่อกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์จำนวน 3,500 ชื่อเรื่ อง
มำกกว่ำร้ อยละ 23.6 มีเนื ้อหำเน้ นด้ ำนศำสนำและปรัชญำและที่มีน้อยที่สดุ คือ
มีเนื ้อหำด้ ำนเทคโนโลยีมีเพียงร้ อยละ 2 เท่ำนัน้ จึงแสดงให้ เห็นว่ำกำรจัดพิมพ์
และเผยแพร่หนังสืองำนศพในประเทศไทยขำดกำรกระจำยตัวในด้ ำนเนื ้อหำ และ
กำรจัดเก็บและให้ บริกำรมีปัญหำด้ ำนงบประมำณที่ไม่เพียงพอยังขำดกำรให้
ควำมสนใจและถึงคุณค่ำของหนังสืองำนศพ รวมถึงขำดผู้มีควำมรู้ที่ลมุ่ ลึกที่จะ
ให้ บริกำรหนังสืองำนศพให้ กบั ผู้ใช้ ในศูนย์บรรณสำรและสื่อกำรศึกษำ
มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์ สำหรับในช่วงที่ยงั ขำดกำลังบุคลำกรและงบประมำณใน
สถำนกำรณ์ปัจจุบนั
การนาผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์
• 1.ศูนย์บรรณสำรและสื่อกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์ ควรนำ
ผลงำนศึกษำวิจยั นี ้ไปขยำยผลเพื่อสร้ ำงควำมเข้ มแข็งของทรัพยำกร
สำรสนเทศหนังสืองำนศพ
2.ศูนย์บรรณสำรและสื่อกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์ ควร
ดำเนินกำรให้ บริกำรในเชิงรุกเพื่อให้ ผ้ ใู ช้ ทรัพยำกรสำรสนเทศหนังสือ
งำนศพสำมำรถเข้ ำถึงเนื ้อหำได้ ง่ำยขึ ้นและมีจำนวนกำรใช้ งำนเพิ่มมำก
ขึ ้น ซึง่ จะส่งผลในด้ ำนกำรเพิ่มผลงำนทำงวิชำกำรที่มีมำกขึ ้นด้ วย ทัง้
งำนวิจยั ในระดับบัณฑิตศึกษำและงำนวิจยั ของคณำจำรย์ที่ตพี ิมพ์เพิ่ม
มำกขึ ้นทังในระดั
้
บชำติและระดับนำนำชำติ
ขอบพระคุณ