โครงการสวัสดิการในประเทศต่างๆ - V

Download Report

Transcript โครงการสวัสดิการในประเทศต่างๆ - V

โครงการสวัสดิการในประเทศต่ างๆ
อนิณ อรุ ณเรื องสวัสดิ์
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ขอบเขต
• สื บค้นโครงการช่วยเหลือทางสังคมแบบของประเทศต่างๆ ที่อาจ
นามาปรับใช้กบั ประเทศไทย
• ไม่ขอกล่าวถึงโครงการที่เป็ นที่รู้จกั กันดีอยูแ่ ล้ว เช่น กองทุน
บาเหน็จบานาญ กองทุนประกันสังคม หรื อ ระบบประกันสุ ขภาพ ที่
ประเทศไทยมีอยูแ่ ล้ว
• 6 ประเทศ สวีเดน สหรัฐฯ เม็กซิ โก อินเดีย ออสเตรเลีย และ เกาหลี
ใต้
สวีเดน: รัฐสวัสดิการ
• สวัสดิการสาหรับครอบครัว
– พ่อและแม่สามารถหยุดงานได้รวมกัน 480 วัน ต่อลูกหนึ่งคน
– หากมีลกู แฝดหยุดเพิ่มได้อีก 180 วัน
– ใช้สิทธิ ได้ต้ งั แต่ 60 วันก่อนหน้าวันกาหนดคลอด
– ได้รับเงินช่วยเหลือเมื่อหยุดงานเป็ นรายวัน (180 SEK ~ $30)
– เด็กจะได้รับเงินค่าใช้จ่ายรายเดือน (1,050 SEK ~ $175)
– มีลกู ตั้งแต่สองคนขึ้นไปได้รับเงินช่วยเหลือเพิ่มเติม (Large Family
Supplement)
สวีเดน: รัฐสวัสดิการ
• สิ ทธิประโยชน์จากการว่างงาน
– การเจ็บป่ วยจากการทางาน และ
• เงินได้จากการเจ็บป่ วย (Sick pay) จากนายจ้างในช่วง 14 วันแรกของการเจ็บป่ วย (ประมาณ
80% ของรายได้)
• หากเจ็บป่ วยเกิน 14 วันจะได้รับเงินช่วยเหลือจากรัฐบาลที่เรี ยกว่า (Sickness Benefit)
– การประกันการว่างงาน
• เงินประกันขั้นพื้นฐาน (Basic amount) + เงินประกันที่เกี่ยวพันกับรายได้ (Income related
insurance)
• เงินประกันการว่างงานเป็ นเวลา 300 วัน + 150 วันหากมีภาระเลี้ยงดูเด็กต่ากว่า 18 (ถูกเก็บ
ภาษี)
สวีเดน: รัฐสวัสดิการ
• สวัสดิการด้านที่อยูอ่ าศัย
– ครอบครัวรายได้ต่าที่มีเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี สามารถได้รับความช่วยเหลือ
ค่าใช้จ่ายด้านที่อยูอ่ าศัย
– สาหรับผูพ้ ิการ และ ผูส้ ูงอายุ
• สวัสดิการสาหรับคนพิการ
– ค่าใช้จ่ายสาหรับผูพ้ ิการ (Disability allowance) ค่าใช้จ่ายสาหรับการจ้าง
ผูด้ ูแล (Attendance allowance)
– ครอบครัวเด็กพิการสามารถขอรับเงินช่วยเหลือค่ารถ (Car allowance) ไว้
สาหรับดัดแปลงรถให้เหมาะสม
สวีเดน: รัฐสวัสดิการ
• สิ ทธิดา้ นการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่ วย
• สวัสดิการผูส้ ูงอายุ
– เงินจากกองทุนผูส้ ูงอายุ (Old age pension) สาหรับผูท้ ี่จ่ายเงินสมทบ (เสี ย
ภาษี)
– Guarantee pension สาหรับผูท้ ี่ไม่ได้ old age pension แต่อาศัยอยูใ่ น
สวีเดน 40 ปี ขึ้นไป
– เงินช่วยเหลือเพื่อยังชีพ (Maintenance support) สาหรับผูท้ ี่ไม่อยูใ่ นระบบ
กองทุนผูส้ ูงอายุ
สวีเดน: รัฐสวัสดิการ
• ต้องมีการจัดเก็บภาษีที่สูง (ภาษีเงินได้สูงสุ ดอยูท่ ี่ 60%, VAT 25%, ภาษี
เงินได้นิติบุคคลสูงสุ ด 26%)
• การรักษาพยาบาลที่ดีทาให้อายุเฉลี่ยของประชากรสูงขึ้น
• โครงสร้างประชากรที่มีผสู ้ ู งอายุ มากกว่าผูท้ ี่อยูใ่ นวัยทางาน ทาให้มี
ปัญหาด้านงบประมาณ
รู ปที่ 1 : ค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการสังคมคิดเป็ นร้อยละของ GDP ในปี 2000 – 2005
รู ปที่ 2: รายได้จากภาษีคิดเป็ นร้อยละของ GDP ในปี 2000 – 2005
สหรัฐฯ: Temporary Assistance for Needy Families
(TAMF)
• ช่วยเหลือครอบครัวยากจนที่มีภาระเลี้ยงดูเด็ก ในด้านต่างๆ เช่น การให้
เงินช่วยเหลือ การให้บริ การดูแลเด็ก เป็ นต้น โดยมีเป้ าหมาย
– ให้เด็กได้รับการดูแลที่เหมาะสมจากครอบครัว
– ส่ งเสริ มการทางานหารายได้
– ส่ งเสริ มการอยูร่ ่ วมกันเป็ นครอบครัว
• มีการกาหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับการทางาน (The personal Responsibility
and Work Opportunity Reconciliation Act of 1996 (PRWORA)
• บุคคลหนึ่งๆ ไม่สามารถได้รับสิ ทธิประโยชน์เกินกว่า 5 ปี ตลอดชัว่ ชีวิต
ของบุคคลดังกล่าว
• มีการกาหนดอัตราส่ วนลดของสิ ทธิประโยชน์ (Benefit reduction rate,
BRR) และ การหักค่าใช้จ่าย (Earning disregard)
สหรัฐฯ: Earned Income Tax Credit
• ให้เครดิตภาษีแก่ผทู ้ างานที่มีรายได้ต่า อายุระหว่าง 25 ถึง 65 ปี
• เครดิตภาษีรูปแบบนี้เป็ นประเภทที่สามารถเรี ยกคืนได้ กล่าวคือ หาก
เครดิตภาษีมีจานวนที่สูงกว่าจานวนภาษีที่จะต้องจ่าย รัฐบาลจะจ่ายส่ วน
ต่างคืนให้กบั ผูเ้ สี ยภาษี
• การคานวณเครติดภาษี จะแบ่งตามระดับรายได้ และ จานวนเด็กใน
ครอบครัว
สหรัฐฯ: Public housing
• ช่วยเหลือ บุคคลยากจน ครอบครัวยากจน ผูส้ ูงอายุ และผูพ้ ิการ เพื่อให้มีบา้ นเช่า
อาศัยที่ปลอดภัย ด้วยการจัดหาบ้านให้เช่าในหลายรู ปแบบ
• เงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะถูกนามาคานวณเป็ นค่าเช่าซึ่งเท่ากับจานวนเงิน
สูงที่สุดจาก
– 30% ของรายได้ต่อเดือนหลังหักค่าใช้จ่าย
– 10% ของรายได้ต่อเดือนก่อนหักค่าใช้จ่าย
– ค่าเช่าขั้นต่า $25 ถึง $50 ต่อเดือน แล้วแต่พ้นื ที่
• ผูร้ ่ วมโครงการสามารถอยูอ่ าศัยในที่ที่จดั หาให้ไปเรื่ อยๆ เว้นเสี ยแต่จะมีการทาผิด
สัญญาเช่า
สหรัฐฯ: Housing Choice Vouchers
• ให้ความช่วยเหลือแก่ครอบครัวยากจน คนแก่ และ ผูพ้ ิการ เพื่อให้สามารถ
มีบา้ นเพื่ออยูอ่ าศัย
• ผูร้ ่ วมโครงการสามารถหาที่อยูเ่ อง โดยจะต้องเป็ นไปตามมาตรฐานที่
กาหนดและ ผูใ้ ห้เช่าจะต้องตกลงเข้าร่ วมโครงการ
• ผูร้ ่ วมโครงการจะต้องสมทบเงินอย่างน้อย 30% ของรายได้ และรัฐจะ
จ่ายเงินช่วยเหลือค่าเช่าบางส่ วน โดยมี “payment standard” เป็ นเพดาน
• ผูร้ ่ วมโครงการจะถูกพิจารณาจาก รายได้ และ ขนาดครอบครัว ซึ่ ง
โดยทัว่ ไป รายได้ตอ้ งไม่เกิน 50% ของค่า median ของรายได้ในพื้นที่ที่จะ
อยูอ่ าศัย
สหรัฐฯ: โครงการ Supplemental Security Income
• ให้เงินช่วยเหลือค่าใช้จ่ายรายเดือนเพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจาวันแก่
ผูส้ ูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป คนตาบอด ผูพ้ ิการ และ ผูพ้ ิการจากการทางาน
• รัฐบาลอนุญาตให้ผเู ้ ข้าร่ วมโครงการ สามารถทดลองทางานเพื่อทดสอบ
ว่าจะสามารถทางานได้หรื อไม่เป็ นเวลา 9 เดือน ภายในระยะเวลา 5 ปี
• ยังคงได้รับเงินช่วยเหลือรายเดือนไม่วา่ จะทางานได้เงินมากหรื อน้อย
เว้นเสี ยแต่วา่ จะสามารถทางานได้เงินสูงเกินเกณฑ์รายได้
• หากภายในระยะเวลา 5 ปี เกิดเหตุทาให้ไม่สามารถทางานได้อีก
ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการสามารถกลับเข้าร่ วมโครงการได้โดยทันที
สหรัฐฯ: โครงการ Food Stamp
• แจกคูปองอาหารให้ผยู้ ากจน (มีรายได้ต่ากว่า130% ของ
เส้นความยากจน) สามารถนาไปใช้ซ้ื อได้ตามร้านค้าขาย
ปลีก แต่ไม่สามารถใช้ซ้ื ออาหารร้อนได้
สหรัฐฯ: โครงการ WIC
• ให้ความช่วยเหลือด้านโภชนการ โดยการให้ชุดอาหาร (food
package) แก่สตรี มีครรภ์ และ เด็กอายุไม่เกิน 5 ปี ที่มีความ
ยากจน (185% ของเส้นความยากจน) และ เป็ นเด็กที่มีความ
เสี่ ยงต่อสภาวะโภชนาการที่แย่ รอบเวลารับประโยชน์ 6 เดือน
• ชุดอาหารจะแตกต่างไปตามลักษณะครอบครัวและเด็ก
• เน้นส่ งเสริ มการให้นมแม่ ด้วยการให้ชุดอาหารในปริ มาณที่
มากขึ้น สาหรับแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่
สหรัฐฯ:โครงการ Disaster Unemployment Assistance
• ให้ความช่วยเหลือแก่ผวู ้ า่ งงานอันเนื่องมาจากภัยพิบตั ิ
และ ไม่สามารถรับสิ ทธิ ประโยชน์จากการประกันว่างงาน
ได้
• จะได้รับเงินช่วยเหลือจนกว่าจะหางานได้ แต่ไม่เกิน 26
สัปดาห์
• เงินช่วยเหลือไม่ต่ากว่า 50% ของเงินชดเชยการว่างงานที่
แต่ละรัฐกาหนด
โครงการให้เงินช่วยเหลือแบบมีเงื่อนไข
(Conditional Cash Transfer :CCT)
เป็ นโครงการให้เงินช่วยเหลือ โดยสิ ทธิ การได้รับเงินจะ
ผูกติดอยูก่ บั ตัวชี้วดั ที่สามารถตรวจสอบได้ (verifiable)
• จุดเด่น
– บรรเทาความเดือดร้อนในระยะสั้น ด้วยการให้เงินช่วยเหลือ
–ลดปั ญหาความยากจนในระยะยาวโดยการกาหนดเงื่อนไขที่
นาไปสู่การลงทนุในทุนมนุษย์ (human capital) ซึ่งเชื่อว่าจะ
สามารถตัดวงจรความยากจนที่ตกทอดจากรุ่ นสู่ รุ่น
เม็กซิโก: PROGRESA and OPPORTUNIDADES
• ให้เงินช่วยเหลือแก่ครอบครัวยากจน ค่าใช้จ่าย ค่าอุปกรณ์การศึกษา ค่าเล่าเรี ยน
โดยการโอนเงินให้แม่ของเด็ก
• การกาหนดครัวเรื อนที่จะได้รับความช่วยเหลือ
– กาหนดเป็ นพื้นที่ โดยใช้ขอ้ มูลจากสามะโนประชากร (รายได้ ระดับการรู ้หนังสื อ การ
จ้างงาน)
– การสัมภาษณ์ในเชิงลึกเป็ นรายครอบครัว
• รัฐฯ ทาการสุ่ มคัดเลือกครอบครัวที่มีคุณสมบัติครบถ้วน เพื่อเข้าร่ วมโครงการ
• จานวนเงินที่ได้รับ
– ขึ้นอยูก่ บั ระดับความยากจน
– เด็กผูห้ ญิงจะได้รับเงินช่วยเหลือที่มากกว่า เนื่องจากครอบครัวส่ วนใหญ่ไม่ตอ้ งการส่ ง
ลูกผูห้ ญิงเรี ยนหนังสื อ
– เงินช่วยเหลือจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีการศึกษาสู งขึ้นเรื่ อยๆ เพื่อสะท้อนต้นทุนค่าเสี ยโอกาส
ของการเรี ยนหนังสื อที่เพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ
เม็กซิโก: PROGRESA and OPPORTUNIDADES
• เงื่อนไข
– เด็กจะต้องเข้าเรี ยนไม่ต่ากว่า 85% ของเวลาเรี ยน
– เด็กจะต้องเข้ารับการตรวจเช็คสุ ขภาพ เป็ นประจา
– แม่ของเด็กจะต้องเข้าร่ วมอบรมความรู้เกี่ยวกับด้านสาธารณสุ ข
• รอบระยะเวลาโครงการ คือ 3 ปี จ่ายเงินทุกสองเดือน
• มีการลงทุนด้านอุปทาน เช่น การให้เงินช่วยเหลือไปยัง
โรงเรี ยน และ สาธารณสุ ข
เม็กซิโก: PROGRESA and OPPORTUNIDADES
• การประเมินผล
– Randomization ทาให้สามารถทาการผลโครงการประเมินได้
อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ลดปั ญหา confounding factor
โครงการ CCT ในลักษณะเดียวกัน
• Jamica : ช่วยเหลือคนพิการ กาหนดให้ผพู ้ ิการต้องเข้า
ตรวจสุ ขภาพเป็ นประจา
• Brazil : เน้นการลดปัญหาเรื่ องแรงงานเด็กด้วยการสร้าง
เงื่อนไขให้เด็กต้องเข้าร่ วมกิจกรรมหลังเลิกเรี ยน
เม็กซิโก: Temporary Employment Program
–ให้ความช่วยเหลือด้านการจ้างงานเพื่อให้ผยู้ ากจนในชนบทที่
มีอายุต้ งั แต่ 16 ปี ขึ้นไป ให้มีรายได้เป็ นการชัว่ คราว
–ทางานที่เป็ นประโยชน์ต่อชุมชน เช่น การสร้างสิ่ ง
สาธารณูปโภค ปรับปรุ งถนน
–ให้เงินไม่เกิน 88 ครั้งต่อคนต่อปี
เม็กซิโก
• เงินช่วยเหลือด้านที่อยูอ่ าศัย (Tu Casa)
– ให้เงินช่วยเหลือในการสร้างหรื อปรับปรุ งที่อยูอ่ าศัยแก่ผยู ้ ากจนใน
เมืองและในชนบท
– โดยรัฐบาลกลาง รัฐบาลท้องถิ่น และ ผูท้ ี่ได้รับสิ ทธิ ช่วยกันจ่ายเงิน
สมทบ
• INAPAM
– ให้ความช่วยเหลือผูส้ ู งอายุต้ งั แต่ 60 ปี ขึ้นไป ด้วยการให้บตั ร
“INAPAM” ซึ่ งสามารถใช้เป็ นส่ วนลดค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น ค่ารถ
โดยสารค่าใช้จ่ายค่าสาธารณูปโภค ค่ายา ค่ารักษาพยาบาลบางประเภท
เป็ นต้น
อินเดีย
• Target Public Distribution System
– รัฐบาลกลางจะทาหน้าที่ในการซื้ อ เก็บสิ นค้า และจัดสรรอาหารไปยัง
รัฐต่างๆ
– รัฐบาลท้องถิ่นรับผิดชอบในการดาเนินการกระจายสิ นค้าไปยังศูนย์
Food price shops (FPS)
– ครัวเรื อนที่มีรายต่ากว่าเส้นความยากจนจะสามารถซื้ อธัญพีชได้ใน
ราคาเพียง 50% ของราคาที่รัฐบาลกาหนดซึ่ งเป็ นราคาที่ครัวเรื อนที่มี
รายได้เหนือเส้นความยากจนจะต้องจ่าย
– ครัวเรื อนทั้งสองประเภทจะได้รับสิ ทธิ ในการซื้ อเท่ากัน คือ 35
กิโลกรัม /ครอบครัว/เดือน
อินเดีย
• National Rural Employment Guarantee Act
– ประกันการจ้างงานต่อครัวเรื อนเป็ นเวลา 100 วันในทุกๆ ปี
– ได้รับค่าจ้างขั้นต่า และ น้ าดื่ม เป็ นค่าตอบแทน และจะทางานได้ไม่เกิน
6 วันต่อสัปดาห์
– ทางาน รัฐฯ จะหางานให้ทาภายในเวลา 15 วัน โดยงานจะอยูใ่ นรัศมี 5
กิโลเมตรจากหมู่บา้ น หากไกลกว่านั้นแรงงานจะได้รับเงินค่าจ้าง
เพิ่มขึ้น
– งานที่ให้ทาจะเน้นไปที่การพัฒนาชุมชน เช่น การทาระบบชลประทาน
เล็กๆ การปรับปรุ งที่ดิน ปลูกต้นไม้ สร้างระบบป้ องกันน้ าท่วม เป็ น
ต้น
อินเดีย
• เงินช่วยเหลือต่างๆ
–
–
–
–
เงินช่วยเหลือผูส้ ู งอายุ
เงินช่วยเหลือเมื่อหัวหน้าครอบครัวเสี ยชีวิต
เงินช่วยเหลือแก่สตรี มีครรภ์
เงินช่วยเหลือผูพ้ ิการ
• Assistance to Disabled Persons for Purchase/Fitting of Aids/Appliances (ADIP)
– ให้ความช่วยเหลือ แก่ผพู ้ ิการในการจัดซื้ ออุปกรณ์ ที่ช่วยเสริ มสร้างสมรรถภาพทาง
ร่ างกาย เช่น รถเข็น เครื่ องช่วยฟัง เครื่ องช่วยให้มองเห็น
• Indira Awaas Yojana
– ให้เงินช่วยเหลือแก่ครอบครัวที่มีความยากจนเพื่อการสร้างหรื อปรับปรุ งที่อยูอ่ าศัยใน
ชนบท
ออสเตรเลีย
• โครงการเงินช่วยเหลือทางสังคมทุกชนิดจะต้องมีการทดสอบ
เกณฑ์ทางรายได้
• การจ่ายเงินช่วยเหลือจากโครงการต่างๆ จะทาผ่านหน่วยงานที่
ชื่อว่า Centrelink ซึ่งทาหน้าที่เป็ นศูนย์ในลักษณะเบ็ดเสร็ จที่จุด
เดียว (One stop service)
• ผูท้ ี่ตอ้ งการความช่วยเหลือสามารถเข้าถึงสิ ทธิที่พงึ ได้อย่าง
ง่ายดาย
ออสเตรเลีย
•
•
•
•
•
•
เงินช่วยเหลือแก่ผทู ้ ี่มีภาระในการดูแลผูอ้ นื่
เงินช่วยเหลือการเลี้ยงดูเด็ก
เงินช่วยเหลือเมื่อว่างงาน
เงินช่วยเหลือผูส้ ู งอายุ
เงินช่วยเหลือในกรณี เจ็บป่ วย พิการ ตั้งครรภ์
เงินช่วยเหลือยามฉุ กเฉิ น
เกาหลีใต้
• การประกันความเป็ นอยูข่ ้ นั พื้นฐาน (Basic Livelihood Security ,
BLS)
• ผูท้ ี่จะได้รับสิ ทธิ ประโยชน์จาก BLS จะต้องผ่านเงื่อนไขสอง
ประการคือ (1) รายได้จะต้องอยูใ่ นระดับที่ต่ากว่ารายจ่ายในระดับ
พอยังชีพที่รัฐบาลเป็ นผูก้ าหนด (2) ผูร้ ับสิ ทธิ ประโยชน์จะต้องไม่มี
“ผูใ้ ห้ความดูแลตามกฏหมาย” (Legal supporters)
• เงินช่วยเหลือได้แก่ ค่าใช้จ่ายเพื่อการยังชีพ เงินช่วยเหลือด้านที่อยู่
อาศัย เงินช่วยเหลือด้านการศึกษา เงินช่วยเหลือด้านการ
รักษาพยาบาล เงินช่วยเหลือเพื่อดูแลเด็ก และ เงินช่วยเหลืองานศพ
• จานวนเงินช่วยเหลือจะถูกคานวณให้เพียงพอที่จะทาให้ผยู ้ ากจนมี
เงินได้เพียงพอต่อการยังชีพ
สรุปประเด็นปัญหาในการดาเนินการสวัสดิการของประเทศต่างๆ
• ในประเทศที่มีระบบรัฐสวัสดิการ จาเป็ นต้องใช้เงิน
งบประมาณเป็ นจานวนมาก
–ต้องมีการจัดเก็บภาษีเงินได้ ในอัตราที่สูง รวมถึงภาษีอื่นๆ
เช่น ภาษีสิ่งแวดล้อม
–ระบบประกันสุ ขภาพที่ดีทาให้ประชากรมีแนวโน้มที่จะมี
อายุยนื ยาวมากขึ้น ประชากรในวัยทางานน้อยลง ทาให้ภาษีที่
จัดเก็บได้ลดลง
สรุปประเด็นปัญหาในการดาเนินการสวัสดิการของประเทศต่างๆ
• ระบบการประกันการว่างงาน ส่ งผลให้แรงงานขาดแรงจูงใจในการหางานเมื่อยามว่างงาน
– รู ปแบบของการให้เงินช่วยเหลือจะต้องมีกลไกในการกระตุน้ ให้เกิดการทางาน ลดการ
พึ่งพาจากภาครัฐ
• ปัญหาการฉ้อโกง
– โครงการที่มีการทดสอบเกณฑ์ทางด้านรายได้มกั ประสบปัญหาการรายงานรายได้ที่ไม่เป็ น
จริ งจึงมีตน้ ทุนและภาระในการดาเนินการที่สูง
– โครงการช่วยเหลือด้านโภชนาการ ผูไ้ ด้รับสิ ทธินาคูปองอาหารที่ได้รับไปขายต่อเพื่อแลก
เป็ นเงินสด, ร้านค้าที่เข้าร่ วมโครงการคิดราคาสิ นค้าในอัตราสู งกว่าปกติ หรื อ ให้สินค้าที่มี
คุณภาพต่ากว่าที่กาหนดไว้
• แก้ปัญหาโดยการใช้บตั ร EBT (Electronic Benefit Transfer), ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ใน
การจัดเก็บข้อมูลผูร้ ับสิ ทธิประโยชน์เพื่อใช้ในการตรวจสอบความซ้ าซ้อน และ การ
รายงานรายได้
สรุปประเด็นปัญหาในการดาเนินการสวัสดิการของประเทศต่างๆ
• โครงการประเภทการให้เงินช่วยเหลืออย่างมีเงื่อนไขมักจะพบ
ปั ญหาและอุปสรรคดังต่อไปนี้
– พื้นที่ที่อยูห่ ่างไกลบริ การจากรัฐ ไม่สามารถเข้าร่ วมโครงการได้
– การพิจารณาเข้าร่ วมโครงการมีเป็ นครั้งคราว
– ต้นทุนในการดาเนินการตรวจสอบเงื่อนไขสูง
– ปัญหาการรายงานรายได้เท็จ
ข้ อเสนอแนะในการดาเนินการสวัสดิการของประเทศไทย
• ระบบสวัสดิการจะต้องให้ความสาคัญกับการแก้ไขปัญหาความ
เดือดร้อนเฉพาะหน้า และ การแก้ปัญหาความยากจนในระยะยาวไป
พร้อมๆ กัน
• ระบบสวัสดิการจะต้องมีกลไกที่ก่อให้เกิดการแก้ปัญหาความยากจน
ในเชิงโครงสร้าง เช่น การลงทุนมนุษย์
• เงินสวัสดิการจะต้องเข้าสู่ กลุ่มเป้ าหมายคือผูย้ ากไร้อย่างตรงจุด
• ระบบสวัสดิการจะต้องมีกลไกในการกระตุน้ การทางาน
• ควรจัดตั้งองค์กรที่ทาหน้าที่เป็ นศูนย์กลางในการจัดการบริ หาร
โครงการสวัสดิการต่างๆ
• ควรจัดให้มีการติดตามเก็บข้อมูลเพื่อประเมินผลของโครงการ
โครงการที่ให้ ความช่ วยเหลือแก่ คนจนทัว่ ไป
• โครงการความช่ วยเหลือด้ านอาหาร
– เป็ นการช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านอาหารซึ่งเป็ นรายจ่ายที่สาคัญในการ
ดารงชีวิตแล้ว ยังเป็ นการส่ งเสริ มให้คนยากจนในวัยทางานมี
พลังงานในการทางาน ทาให้เด็กได้รับโภชนาการที่ดีสามารถไป
โรงเรี ยน
• โครงการด้ านที่พักอาศัย
–โครงการประเภทให้เงินอุดหนุนค่าเช่าสาหรับคนในเมือง
–ให้เงินอุดหนุนเพื่อการสร้างที่อยูอ่ าศัยสาหรับคนในชนบท
โครงการเสริมทีเ่ น้ นเฉพาะกลุ่มบุคคลต่ างๆ
• โครงการสวัสดิการสาหรั บเด็กและสตรี
– โครงการช่วยเหลือด้านอาหารเสริ มที่เป็ นประโยชน์ให้แก่สตรี มี
ครรภ์ และ เด็กเล็กตั้งแต่อยูใ่ นครรภ์
– โครงการให้เงินอย่างมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) ที่
จะต้องมีการกาหนดเงื่อนไขให้ครอบครัวที่รับสวัสดิการจะต้องพา
เด็กไปโรงเรี ยน หรื อ ไปตรวจสุ ขภาพอยูเ่ สมอ
– การให้ความช่วยเหลือเพื่ออานวยความสะดวกในการเดินทางไป
โรงเรี ยน
โครงการเสริมทีเ่ น้ นเฉพาะกลุ่มบุคคลต่ างๆ
• โครงการสวัสดิการสาหรั บผู้สูงอายุ และ ผู้พิการ
– โครงการเบี้ยยังชีพ หรื อ เบี้ยคนพิการ เป็ นสิ่ งที่จาเป็ น สาหรับผูส้ ู งอายุ หรื อ ผู้
พิการที่ไม่มีคนดูแล
– ความช่วยเหลือด้านที่อยูอ่ าศัย
• โครงการสวัสดิการสาหรั บแรงงานนอกระบบ
– ควรมีโครงการประกันการจ้างงานสาหรับเกษตรกรที่วา่ งงานหลังฤดูเก็บเกี่ยว
– การให้เงินช่วยเหลือเมื่อเกษตรกรประสบปั ญหาภัยพิบตั ิ
– ส่ งเสริ มให้แรงงานนอกระบบเข้าสู่ ระบบประกันสังคม
• ผ่อนผันเกณฑ์การจ่ายเงินสบทบให้สอดคล้องกับความผันผวนของรายได้
• อนุญาติให้มีการถอนเงินสะสมบางส่ วนออกมาใช้ในยามฉุกเฉิ น