รู้จักโครงการ childlife - ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี

Download Report

Transcript รู้จักโครงการ childlife - ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี

นางพนมพร ห่วงมาก
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
:
:
ระบบสุขภาพ
ระบบ
ปกป้ อง
ทาง
สังคม
ระบบ
ชุมชน
1. เด็กกำพร้ำ 2.เด็กเร่ ร่อน
3.เด็กถูกทำรุ ณกกรร
4. เด็กพิสูจน์สัญชำติ 5. เด็กอยูใ่ นกระบวนกำรยุติธรร
6. เด็กตั้งครรภ์ไ ่พึงประสงค์ 7.เด็กได้รับผลกระทบจำก
เชื้อเอชไอวี และเด็กติดเชื้อเอชไอวี (CABA)
+ 1. กลุ่ เด็กชำติพนั ธุ์
CHILDLIFE
โครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือด้านสุขภาพ และการคุม้ ครอง
ทางสังคมแบบองค์รวมสาหรับเด็กที่ได้รบั ผลกระทบจากเอดส์
และเด็กที่อยู่ในภาวะเปราะบาง
ที่อยู่ในพื้นที่ท่มี ีความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีสูง
(Comprehensive HIV/AIDS Care, Support and
Vulnerable Children Living in High Prevalence
Area to Achieve Full Potential in Health and
Development
(CHILDLIFE)
(โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ เด็กในชุมชน)
ศูนย์อนามัยเขต
สนับสนุนให้เกิดCase Management
โรงพยาบาล
จ้ดบริการ Case Management
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สนับสนุนให้เกิดCase Management ระดับจังหวัด
รพ.สต.
เป็ นเครือข่ายการจัดบริการCase Management ในชุมชน
ulnerable
ffected
nfected
พม.
พัฒนานโยบายดูแลปกป้ องคุม้ ครองเด็ก
พมจ.
ส่งเสริมการปกป้ องคุม้ ครองเด็ก
การเข้าถึงสวัสดิการ เศรษฐกิจ
คณะทางานด้านเด็ก
ในชุมชน (CAG)
สารวจสถานการณ์เด็กและบริการในชุมชน
จัดบริการดูแลเด็กแบบCM
อบต.,อสม.,อพม.,โรงเรียน
NGOองค์กรชุมชน, รพ.สต.
ผูแ้ ทนคณะทางานเด็กในชุมชน
เครือข่ายผูต้ ิดเชื้อเอชไอวี
ลดการตีตรา
กิจกรรมหลักด้านชุมชน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
จัดตัง้ และพัฒนาคณะทางานเด็กในชุมชน (CAG)
ดาเนิ นงานตามแผนโดยชุมชน (อบรมผูด้ ูแล, ค่ายเด็ก, ค่ายครอบครัว, กิจกรรมกลุม่ เด็กรายไตรมาส ฯลฯ
สนับสนุ นให้ CAG ประสานการทางาน/ประชุมร่วมกับ PCPC และ PCM (ในระดับพื้นที่และ
จังหวัด)
ประสานส่งต่อเด็กโดย CAG (กรณี ตอ้ งการความช่วยเหลือ เช่น การศึกษา สุขภาพ ปกป้ องคุม้ ครอง/
เศรษฐกิจ สิทธิ์/สถานะบุคคล ฯลฯ)
ระดมทรัพยากรในชุมชน เพือ่ ให้เกิดการดูแลและพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่ อง โดยชุมชน
พัฒนาให้ผูต้ ิดเชื้อฯและเด็กที่ได้รบั ผลกระทบมีสว่ นร่วมในการรณรงค์เพือ่ ลดการตีตรา
ทางานกับสือ่ มวลชนเพือ่ สร้างความเข้าในใจในการนาเสนอ เผยแพร่ข่าวสารข้อมูลต่างๆเชิงสร้างสรรค์
ผลิตสือ่ รณรงค์และเผยแพร่ผ่าน CAG และสือ่ สาธารณะต่างๆ ในรูปแบบต่างๆโดยการมีสว่ นร่วมของ
ผูต้ ิดเชื้อและเด็กที่ได้รบั ผลกระทบ
เป็ นกลไกที่ประกอบด้ วย 5 ด้ าน
ได้ แก่ ด้ านสุขภาพ ปกครอง การศึกษา องค์ กรชุมชน
สวัสดิการ และคุ้มครองเด็กในชุมชน เพื่อสนับสนุนการดูแล
เด็กให้ ได้ รับการพัฒนาและติดตามต่ อเนื่องผ่ านการจัด
กิจกรรมและประสานส่ งต่ อ
: ค้ นหา(ข้ อมูลเด็ก CAG1)
: พัฒนาอบรมผู้ปกครอง ค่ ายเด็ก ค่ ายครอบครั ว ประชุมไตรมาส
พบกลุ่มเด็ก
: ประสานหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง เพื่อส่ งต่ อรั กษาดูแล
: ติดตาม หลังจากได้ รับการช่ วยเหลือ (CAG3)
กิจกรรมหลักด้านสุขภาพ
1. พัฒนาหลักสูตรติดตามดูแลเด็ก
(พัฒนาการด้านกาย จิต สังคม)
2. พัฒนาแนวทาง CM และการจัดบริการที่เหมาะสม
ในโรงพยาบาล รวมทัง้ การประสานชุมชน
3. พัฒนาบุคคลการสาธารณสุข รวมทัง้ บุคลากรในสถาน
สงเคราะห์
 เริ่มแรกใช้ ในคนไข้ สุขภาพจิต โดยสถาบันสุขภาพแห่ งชาติ
ของอเมริกา
 ค.ศ.2007 the Health Resources and Services Administration
(HRSA) ให้ ทุนสนับสนุนสานักโรคเอดส์ อเมริกาเพื่อดาเนิน
โครงการ CM
 ค.ศ. 2011 กรมอนามัย PATH ประเทศไทยได้ รับการอนุมัติ
งบประมาณสนับสนุนจากกองทุนโลก ให้ จัดทาโครงการ CM
ในหญิงตัง้ ครรภ์ ท่ ตี ดิ เชือ้ และเด็กที่ได้ รับผลกระทบ จึงมีการ
พัฒนาระบบ CM ในไทย
เป็ นรูปแบบการทางานที่ใช้ การ
ประสานเชื่อมโยงบริการหลายภาคส่ วนโดยมีผ้ ูรับบริการเป็ น
ศูนย์ กลาง เพื่อให้ ผ้ ูรับบริการแต่ ละบุคคลได้ รับบริการแบบ
องค์ รวม โดยเจ้ าหน้ าที่ท่ มี ีประสบการณ์ และความเข้ าใจผู้รับ
บริการ โดยการให้ บริการต่ างๆที่สอดคล้ องกับความต้ องการ
และปั ญหาของผู้รับบริการ ทาให้ ผ้ ูรับบริการได้ รับการดูแลที่
ครบถ้ วนทัง้ ในด้ านการแพทย์ การเดินทาง ที่พกั การช่ วยเหลือ
ด้ านการเงินและการสนับสนุนอื่นๆ
เป็ นหน่ วยงานที่ประสานการดูแล
ผู้รับบริการที่ได้ รับการรักษาระยะยาว ได้ แก่ หญิงตัง้ ครรภ์ ท่ ตี ดิ
เชือ้ เอชไอวี เด็กติดเชือ้ เอชไอวี เด็กที่ได้ รับผลกระทบ และกลุ่ม
เด็กเปราะบาง เพื่อให้ ได้ รับบริการที่มีมาตรฐานทางการแพทย์
และสวัสดิการของรัฐที่พงึ ได้ ในเวลาที่เหมาะสม ตอบสนองต่ อ
ความต้ องการ และผู้รับบริการยินดีมีส่วนร่ วมในการแก้ ปัญหา
โดยคานึงถึงการรักษาความลับ
ประกอบด้ วย แพทย์ เภสัชกร พยาบาล ผู้ให้ การปรึกษา
นักสังคมสงเคราะห์ และแกนนาศูนย์ องค์ รวม/กลุ่มผู้ตดิ เชือ้ HIV
เป็ นบุคคลที่ได้ รับความเห็นชอบจาก
ฝ่ ายนโยบายของรพ.และได้ รับความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง ให้
ทาหน้ าที่บริหารจัดการระบบการจัดการรายบุคคล โดยดาเนินกิจกรรม
ตามแนวทางที่วางไว้ ด้ วยการประสานงานกับหน่ วยที่ส่งต่ อผู้รับบริการ
ได้ แก่ หน่ วยฝากครรภ์ ห้ องคลอด หลังคลอด และคลินิกยาต้ านไวรั ส
โดยมีหน้ าที่เริ่มตัง้ แต่ รวบรวมข้ อมูลของผู้รับบริการอย่ างรอบด้ าน
ประมวลและวิเคราะห์ ข้อมูลเพื่อระบุปัญหา วางแนวทางแก้ ปัญหา
ร่ วมกับผู้รับบริการ ให้ การช่ วยเหลือตามแผนผ่ านการช่ วยเหลือ
โดยตรงและ/หรือประสานหน่ วยงานภายในและภายนอกโรงพยาบาล
ให้ ข้อมูล ความรู้และเพิ่มศักยภาพผู้รับบริการในการแก้ ปัญหาด้ วยตนเอง
รวมถึงการติดตามผลการดาเนินกิจกรรมเป็ นระยะ
กิจกรรมด้านปกป้ องคุม้ ครองทางสังคม
1.
พัฒนานโยบายประเทศด้านการคุม้ ครองดูแลเด็ก
2. พัฒนากลไกระดับจังหวัด (คณะกรรมการคุม้ ครองเด็ก)
3. สนับสนุ นด้านเศรษฐกิจแก่เด็กและครอบครัว
(เด็กที่ได้รบั เชื้อฯ ได้รบั ผลกระทบ เด็กกลุม่ เปราะบาง)
4. พัฒนาแนวทางการดูแลเด็กในครอบครัวทดแทน