ความล้มเหลวกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ(EHIA)

Download Report

Transcript ความล้มเหลวกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ(EHIA)

กระบี่บนทางแพร่ ง:ถ่านหิ นสกปรก VS ระบบ
พลังงานหมุนเวียนที่สะอาด
ความล้มเหลวกระบวนการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม
และสุ ขภาพ(EHIA)ของโครงการโรงไฟฟ้าและท่ าเรือ
ถ่ านหินทีก่ ระบี่
สิ ทธิ์ทรี่ ัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๕๐ให้ ไว้ กบั ประชาชน
• มาตรา ๖๗ การดาเนินการโครงการหรื อกิจกรรม ที่อาจก่ อให้ เกิด
ผลกระทบต่ อชุมชนอย่ างรุ นแรง ทัง้ ทางด้ านคุณภาพสิ่งแวดล้ อม
ทรั พยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทามิได้ เว้ นแต่ จะได้ ...
1. ศึกษาและประเมินผลกระทบต่ อคุณภาพสิ่งแวดล้ อมและ
สุขภาพของประชาชนในชุมชน
2. จัดให้ มีกระบวนการรับฟั งความคิดเห็น
3. องค์ การอิสระ (สิ่งแวดล้ อมและสุขภาพ) ให้ ความเห็น
• สิทธิของชุมชนที่จะฟ้อง เพื่อให้ ปฏิบัตหิ น้ าที่ ย่ อมได้ รับความ
คุ้มครอง
มาตรา ๕๗ สิทธิในการรับรู้ข้อมูล คาชี้แจงและเหตุผล
บุคคลย่อมมีสิทธิได้รบั ข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจำกหน่ วย
รำชกำร หน่ วยงำนของรัฐ รัฐวิสำหกิจ หรือรำชกำรส่วนท้องถิน่ ก่อนกำร
อนุญำตหรือกำรดำเนินโครงกำร หรือกิจกรรมใดทีอ่ ำจมีผลกระทบต่อ
คุณภำพสิง่ แวดล้อม สุขภำพอนำมัย คุณภำพชีวิต หรือส่วนได้เสียสาคัญอื่น
ใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนท้องถิ่น และมีสิทธิแสดงควำมคิดเห็นของตนต่อ
หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องเพือ่ นำไปประกอบกำรพิจำรณำในเรื่องดังกล่าว
การวางแผนพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม การ
เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ การวางผังเมือง การกาหนดเขตการใช้ประโยชน์ ใน
ที่ดิน และการออกกฎที่อาจมีผลกระทบต่อส่วนได้เสียสาคัญของประชาชน
ให้รฐั จัดให้มีกระบวนกำรรับฟั งควำมคิดเห็นของประชำชนอย่ำงทัวถึ
่ งก่อน
ดำเนินกำร
มาตรา ๖๖ สิทธิในการอนุรกั ษ์ ฟื้ นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
บุคคลซึง่ รวมกันเป็ นชุมชน ชุมชนท้องถิน่ หรือชุมชนท้องถิน่ ดัง้ เดิม
ย่อมมีสทิ ธิอนุรกั ษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ศิลปวัฒนธรรม
อันดีของท้องถิน่ และของชาติ และมีสว่ นในการจัดการ การบารุงรักษา และ
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม รวมทัง้ ความ
หลากหลายทางชีวภาพ อย่างสมดุลและยังยื
่ น
ขั้นตอน EHIA การประเมินผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ
• 1.การกลัน
่ กรองโครงการ เจ้ าของโครงการว่าจ้ างบริษัทที่ปรึกษาจัดทารายงานการ
ประเมินผลกระทบด้ านสิง่ แวดล้ อมและสุขภาพ
• 2.กระบวนการ ค.1 กระบวนการรับฟั งความคิดเห็นเพื่อกาหนดขอบเขตและแนวทางการ
•
•
•
•
ประเมินผลกระทบด้ านสิ่งแวดล้ อมและสุขภาพ
3. กระบวนการ ค.2 กระบวนการรับฟั งความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย เพื่อ
ศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ ้นในด้ านต่างๆจากการดาเนินโครงการ
4. กระบวนการ ค.3 เวทีทบทวนร่ างรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมและสุขภาพโดย
ภาคส่วนต่างๆ
5. กระบวนการตัดสินใจเพื่อพิจารณาอนุญาตหรื อไม่อนุญาต โดยสานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม,คณะกรรมการผู้ชานาญการ,องค์กรอิสระด้ านสิ่งแวดล้ อมและ
สุขภาพ
6. การติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามขอบเขตและประเด็นที่เป็ นข้ อห่วงกังวลจากการ
ดาเนินโครงการในพื ้นที่
ภาคใต้ มีกาลังผลิตติดตัง้ 2,429 เมกะวัตต์
รั บจากภาคกลาง
500 เมกะวัตต์
แลกไฟกับมาเลเซีย
300 เมกะวัตต์
รวม
3,229 เมกะวัตต์
ความต้ องการใช้ สูงสุด 1,848 เมกะวัตต์
ปี 2557
ปี 2559
โรงไฟฟ้าจะนะ 2 เสร็จ 800 เมกะวัตต์
โรงไฟฟ้าขนอม เสร็จเสริม 200 เมกะวัตต์
จากการศึกษาของมหาวิทยาลัย Stuttgart เยอรมนี พบว่ า
อายุขัยของชาวยุโรปสัน้ ลง 11 ปี
จากมลพิษของโรงไฟฟ้าถ่ านหิน 300 โรง
ชาวยุโรปตายจากโรค
ที่มาจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน
ปี ละ 2 หมื่นราย
ถ้ าสร้ างเพิ่มอีก 50 โรงจะตายเพิ่ม
เป็ น 3.2 หมื่นราย
-ในการทาการประเมินผลกระทบต่อ
สิ่ งแวดล้อมครั้งแรกปี 2556 คนในจังหวัด
กระบี่ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยส่ วนใหญ่ไม่ได้รับ
ข้อมูลเรื่ องโรงไฟฟ้ าถ่านหิ นเลย
-ผ่านกระบวนการ ค.2ไป ระยะหนึ่ง ทาง
สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวเกาะลันตาจึงทราบ
ข่าว
-พื้นที่อื่นๆมาทราบข่าวหลังจบ ค.1 ที่มา
จัดทาใหม่( 9 มีนาคมปี 2557)
-การจัดทาเวทีรับฟังความคิดเห็นรอบหลัง
แยกส่ วนของโรงไฟฟ้ าออกจากการลาเลียง
ขนส่ งถ่านหิ นทางทะเลทั้งที่เป็ นโครงการที่
ผลกระทบมีความเกี่ยวเนื่องกัน ทาให้มองเห็น
ผลกระทบไม่รอบด้าน
-เวที ค.1 บ้านคลองรั้ว ( 9 มีนาคมปี 2557)
พื้นที่จดั เวทีอยูล่ ึก ป้ ายบอกเส้นทางแทบไม่มี
คนนอกพื้นที่หลงทางเป็ นส่ วนใหญ่
การกาหนดขอบเขตPublic Scoping
กฟผ.กาหนดพื ้นที่ศกึ ษาผลกระทบ
-รัศมี 5 กิโลเมตรรอบโรงไฟฟ้า
-รัศมี 5 กิโลเมตรรอบท่าเทียบเรื อ
-รัศมี 5 กิโลเมตรรอบจุดขนถ่ายกลางทะเล
-รัศมี 1 กิโลเมตรในเส้ นทางที่เรื อวิ่ง
ระยะที่กาหนดไม่คลอบคลุมถึง
-มลพิษทางอากาศไปได้ ไกลกว่า 100 กิโลเมตร
-การไหลของน ้าทะเลที่ขึ ้นลงวันละสองครัง้
-คลื่นลมในหน้ ามรสุม
•มีการกาหนดจุดจอดเรื อขนถ่ายห่างจากชุมชน 5
กิโลเมตรเพื่อหนีการทา EIA ทังที
้ ่ในความเป็ นจริ ง
ในช่วงมรสุมไม่สามารถจอดได้
•ในการกาหนดครัง้ หลังต่างจากครัง้ แรกที่จอดห่าง
จากชุมชนใกล้ สดุ เพียง 2 กิโลเมตร
•แผนที่ของรายงานภาพหลักเลี่ยงที่จะแสดงส่วน
ของเกาะพีพี เกาะห้ า ที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญ
มีการใช้กาลังและพูดจาข่มขู่ฝ่ายคัดค้านว่าอาจปิ ดสะพานไม่ให้กลับออก
จากเวที กลางที่ประชุม แต่คนพูดก็ยงั อยูร่ ่ วมเวที ค.1 จนจบ
การให้ขอ้ มูลที่ถูกต้องและรอบด้าน
กานันสมบูรณ์ ดารงอ่องตระกูลเพิ่งทราบว่ามีการทาEIA หลังจบ ค.2 แล้ว
การนาเรื อขนถ่านหิ นเข้ามาต้องลอกร่ องน้ าทาให้มีผลกับแหล่งหญ้าทะเล
ความล้ มเหลวกระบวนการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมและสุ ขภาพ(EHIA)ของ
โครงการโรงไฟฟ้าและท่ าเรือถ่ านหินที่กระบี่ สุ ดท้ ายใครเสี ยประโยชน์
ยังไม่เห็นมาตรการดูแลผลกระทบจากโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินจังหวัดกระบี่ แม้ จะ
ผ่านกระบวนการศึกษาผลกระทบมากว่าสองปี แต่มองเห็นผู้ได้ รับผลกระทบชัดเจน
-ประมงที่ได้ รับผลกระทบ ตลอดเส้ นทางจนถึงกระบวนการผลิตไฟฟ้า
-เสียพื ้นที่ช่มุ น ้าแรมซ่าร์ ไซด์ แหล่งอนุบาลสัตว์น ้าที่มีความสมบูรณ์สงู
-เสี่ยงต่อปั ญหาสุขภาพรอบพื ้นที่โครงการ
-เสี่ยงกระทบกับการท่องเที่ยวฝั่ งอันดามันที่กงั วลเรื่ องสุขภาพและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม
-เสี่ยงกระทบกับปลาพะยูน สัตว์ที่ใกล้ สญ
ู พันธุ์
-กระบี่ปัจจุบนั ผลิตเหลือให้ จงั หวัดอื่นใช้ อยู่แล้ วกว่า 300 เมกะวัตต์ หากโรงไฟฟ้าถ่านหินมาต้ นทุน
การผลิตไฟฟ้าราคาถูกเพราะต้ นทุนจากผลกระทบทุกด้ านคนกระบี่ต้องรับภาระแทนคนพืน้ ที่อื่น เว้ น
เสียกฟผ.จะตังกองทุ
้
นชดเชยพร้ อมจ่ายค่าเสียหายตามจริ งทุกกรณีไม่ต้องเป็ นภาระให้ ชาวบ้ านต้ อง
ฟ้องศาลเป็ นสิบๆปี แบบแม่เมาะ
ปั จจุบันเมื่อปั ญหายังไม่ มี ก่ อนจัดทาโครงการที่เสี่ยงต่ อการได้ รับผลกระทบแบบโรงไฟฟ้า
ถ่ านหินจังหวัดกระบี่จงึ ควรทาอย่ างชัดเจน รอบคอบ