HIAรธน_สัญชัย - ดาวน์โหลด - สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส

Download Report

Transcript HIAรธน_สัญชัย - ดาวน์โหลด - สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA)
ภายใต้ รัฐธรรมนูญฯ ฉบับใหม่
• นพ.นิรันดร์ พิทักษ์ วชั ระ กรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ
• นพ.วิพุธ พูลเจริญ ประธาน HIA Commission
• นายบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ กรรมการยกร่ างรัฐธรรมนูญ
• นายไพโรจน์ พลเพชร กรรมการปฏิรูปกฎหมาย
• อ.สั ญชัย สู ติพนั ธ์ วหิ าร คณะสิ่ งแวดล้อมฯ ม.มหิดล
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
(Health Impact Assessment; HIA)
ภายใต้ รัฐธรรมนูญฯ ฉบับใหม่
มกราคม 2558
โดย สั ญชัย สู ติพนั ธ์ วหิ าร
คณะสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
26
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
(Health Impact Assessment; HIA)
• กระบวนการเรียนรู้ ร่วมกันของสั งคม
• ในการวิเคราะห์ และคาดการณ์ ผลกระทบสุ ขภาพ (บวก/ลบ)
• ที่อาจจะเกิดขึน้ จากนโยบาย โครงการ หรือกิจกรรม
• โดยมีการประยุกต์ ใช้ เครื่องมือทีห่ ลากหลาย
• มีกระบวนการมีส่วนร่ วมอย่ างเหมาะสม
• เพือ่ สนับสนุนให้ เกิดการตัดสิ นใจ
• ที่จะเป็ นผลดีต่อสุ ขภาพของประชาชน (ระยะสั้ น/ยาว)
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
(Health Impact Assessment; HIA)
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
(Health Impact Assessment; HIA)
1
• สร้ างและทบทวนกระบวนการนโยบายสาธารณะ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
(Health Impact Assessment; HIA)
1
2
• สร้ างและทบทวนกระบวนการนโยบายสาธารณะ
• คุ้มครองและปกป้องสิทธิประชาชน สิทธิชุมชน
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
(Health Impact Assessment; HIA)
1
2
3
• สร้ างและทบทวนกระบวนการนโยบายสาธารณะ
• คุ้มครองและปกป้องสิทธิประชาชน สิทธิชุมชน
• ป้องกันแก้ ไขปั ญหา และลดปั ญหาความขัดแย้ ง
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
(Health Impact Assessment; HIA)
รั ฐธรรมนูญแห่ ง
ราชอาณาจักรไทย
พ.ร.บ.สุขภาพแห่ งชาติ
2550
พ.ร.บ.สิ่งแวดล้ อม
2535
หลักเกณฑ์ และแนวทาง กาหนดหลักเกณฑ์ วธิ ีการ ประเภท ขนาด และวิธี
ระเบียบ ปฏิบัตแิ ละ
ปฏิบัตโิ ครงการรุ นแรงที่
HIA จากนโยบาย
สาธารณะ
แนวทาง EHIA
ต้ องทา EHIA
การแสดงความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะ
HIA ต่ อการร่ างรั ฐธรรมนูญฯ
สมัชชา
สุขภาพ
แห่ งชาติ
คณะ กก
ปฏิรูป
กม.
นักวิชา
การ
สปช.
ทรั พยากร
สิ่งแวดล้ อม
สนง.
เลขาธิการ
สภาฯ
ก.
กลาโหม
สปช.
สาธาร
ณสุข
สภา
ปฏิรูป
แห่ งชาติ
เสวนา
รัฐธรรม
นูญ
ข้ อเสนอแนะ HIA
ต่ อรัฐธรรมนูญฯ เพื่อการปฏิรูป
1. เจตนารมณ์ ของการคุ้มครองสิ ทธิของประชาชนและ
ชุมชน ทีจ่ ะอยู่ในสิ่ งแวดล้ อม และสั งคมทีเ่ อือ้ ต่ อการมี
สุ ขภาวะทีด่ ี โดยไม่ เป็ นอันตรายต่ อสุ ขภาพ สวัสดิภาพ
และคุณภาพชีวติ
ข้ อเสนอแนะ HIA
ต่ อรัฐธรรมนูญฯ เพื่อการปฏิรูป
2. นาแนวคิดและหลักการของ HIA เป็ นเครื่องมือและ
กลไกคุ้มครองสุ ขภาพ และลดผลกระทบทางสุ ขภาพ
โดยให้ มกี ารทา HIA ในโครงการ/นโยบายสาธารณะ
ทีอ่ าจมีผลกระทบต่ อสุ ขภาพ
ข้ อเสนอแนะ HIA
ต่ อรัฐธรรมนูญฯ เพื่อการปฏิรูป
3. การทา HIA ต้ องเน้ นกระบวนการมีส่วนร่ วมของ
ผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ย โดยเฉพาะผู้อาจได้ รับผลกระทบ
ตั้งแต่ ข้นั ตอนแรก จนถึงขั้นตอนสุ ดท้ าย
ข้ อเสนอแนะ HIA
ต่ อรัฐธรรมนูญฯ เพื่อการปฏิรูป
4. การพิจารณาตัดสิ นใจโครงการหรือนโยบายสาธารณะ
ต้ องเน้ นทั้งมิตสิ ุ ขภาพ สิ่ งแวดล้ อม สั งคม และเศรษฐกิจ
(การประเมินผลกระทบแบบบูรณาการ; Integrated
Impact Assessment; IIA) โดยคานึงถึงประโยชน์
ส่ วนรวมและคนรุ่นถัดไป
ข้ อเสนอแนะ HIA
ต่ อรัฐธรรมนูญฯ เพื่อการปฏิรูป
5. เร่ งรัดผลักดันให้ มี “การปฏิรูประบบการประเมิน
ผลกระทบด้ านสิ่ งแวดล้ อมและสุ ขภาพ” (EIA/EHIA)
อย่ างจริงจัง ตามมติทปี่ ระชุมของสมัชชาสุ ขภาพ
แห่ งชาติ ฉบับที่ 5 พ.ศ.2550
ข้ อเสนอแนะ HIA
ต่ อรัฐธรรมนูญฯ เพื่อการปฏิรูป
6. กาหนดให้ การประเมินผลกระทบทางสุ ขภาพ (HIA)
หรือ การประเมินผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมและสุ ขภาพ
(EHIA) ต้ องสอดคล้ องกับ การประเมินสิ่ งแวดล้ อม
ระดับยุทธศาสตร์ (SEA)
ที่ประชุมคณะกรรมาธิการยกร่ างรัฐธรรมนูญ
เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2558 ได้ นาบทบัญญัตใิ น
มาตรา 67 แห่ งรั ฐธรรมนูญฯ 2550 มาบัญญัตไิ ว้
สิ ทธิของบุคคลพลเมืองทีจ่ ะมีส่วนร่ วมกับรัฐและชุ มชน ในการอนุรักษ์
บารุงรักษาและได้ ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลาย
ทางชีวภาพอย่ างเป็ นธรรม และในการคุ้มครอง ส่ งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่ งแวดล้อม เพือ่ ให้ ดารงชีพอยู่ได้ อย่ างปกติและต่ อเนื่องในสิ่ งแวดล้อมที่จะดี
และไม่ ก่อให้ เกิดอันตรายต่ อสุ ขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวติ ของ
ตน ย่ อมได้ รับความคุ้มครองตามความเหมาะสม
ที่ประชุมคณะกรรมาธิการยกร่ างรัฐธรรมนูญ
เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2558 ได้ นาบทบัญญัตใิ น
มาตรา 67 แห่ งรั ฐธรรมนูญฯ 2550 มาบัญญัตไิ ว้
“การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมทีอ่ าจก่อให้ เกิดผลกระทบต่ อชุมชน
อย่ างรุนแรง ทั้งทางด้ านคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุ ขภาพ
จะกระทามิได้ เว้ นแต่ จะได้ มีการศึกษาและประเมินผลกระทบต่ อคุณภาพ
สิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพของประชาชนในชุ มชน โดยบุคคลซึ่งมิได้ มีส่วนได้ เสี ย
และประเมินสิ่ งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ และจัดให้ มีกระบวนการรับฟัง
ความเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้ เสี ย รวมทั้งให้ องค์การอิสระ ซึ่ง
ประกอบด้ วย ผู้แทนองค์ การเอกชนด้ านสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ และผู้แทน
สถาบันอุดมศึกษาทีจ่ ัดการการศึกษา ด้ านสิ่ งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ
หรือด้ านสุ ขภาพ ให้ ความเห็นก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว”
ที่ประชุมคณะกรรมาธิการยกร่ างรัฐธรรมนูญ
เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2558 ได้ นาบทบัญญัตใิ น
มาตรา 67 แห่ งรั ฐธรรมนูญฯ 2550 มาบัญญัตไิ ว้
“การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมทีอ่ าจก่อให้ เกิดผลกระทบต่ อชุ มชน
อย่ างรุนแรง ทั้งทางด้ านคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุ ขภาพ
จะกระทอาจก่
ามิได้ อเว้ให้
นแต่เกิ
จะได้
มีการศึกษาและประเมิ
นผลกระทบต่
ณภาพ
ดผลกระทบต่
อชุมชนอย่
างรุ นอคุแรง
สิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพของประชาชนในชุ มชน โดยบุคคลซึ่งมิได้ มีส่วนได้ เสี ย
(ด้
า
นสิ
่
ง
แวดล้
อ
ม
ทรั
พ
ยากรธรรมชาติ
สุ
ข
ภาพ)
การประเมิ
น
ผลกระทบสิ
่
ง
แวดล้
อ
ม
(
EIA)
และประเมินสิ่ งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ และจัดให้ มีกระบวนการรับฟัง
ความเห็นของประชาชนและผู
้ มีส่วนได้ เสี ย รวมทัข้งให้
องค์ก(ารอิ
สระ ซึ่ง
การประเมินผลกระทบทางสุ
ภาพ
HIA)
ประกอบด้ วย ผู้แทนองค์
ก
ารเอกชนด้
า
นสิ
่
ง
แวดล้
อ
มและสุ
ข
ภาพ
และผู
้
แ
ทน
โดยบุคคลซึ่งมิได้ มีส่วนได้ เสีย
สถาบันอุดมศึกษาทีจ่ ัดการการศึกษา ด้ านสิ่ งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ
และประเมิ
น
สิ
่
ง
แวดล้
อ
มระดั
บ
ยุ
ท
ธศาสตร์
(
SEA)
หรือด้ านสุ ขภาพ ให้ ความเห็นก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว”
ที่ประชุมคณะกรรมาธิการยกร่ างรัฐธรรมนูญ
เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2558 ได้ นาบทบัญญัตใิ น
มาตรา 67 แห่ งรั ฐธรรมนูญฯ 2550 มาบัญญัตไิ ว้
“การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมทีอ่ าจก่อให้ เกิดผลกระทบต่ อชุ มชน
อย่ างรุนแรง ทั้งทางด้ านคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุ ขภาพ
จะกระท
นแต่ จะได้ดเห็
มีกน
ารศึของประชาชนและผู
กษาและประเมินผลกระทบต่
อคุณเภาพ
จัดามิ
รั บได้ฟั งเว้ความคิ
้ มีส่วนได้
สีย
สิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพของประชาชนในชุ มชน โดยบุคคลซึ่งมิได้ มีส่วนได้ เสี ย
และประเมินสิ่ งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ และจัดให้ มีกระบวนการรับฟัง
ความเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้ เสี ย รวมทั้งให้ องค์การอิสระ ซึ่ง
ประกอบด้ วย ผู้แทนองค์ การเอกชนด้ านสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ และผู้แทน
สถาบันอุดมศึกษาทีจ่ ัดการการศึกษา ด้ านสิ่ งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ
ให้
อ
งค์
ก
ารอิ
ส
ระ
ให้
ค
วามเห็
น
ก่
อ
นด
าเนิ
น
โครงการ
หรือด้ านสุ ขภาพ ให้ ความเห็นก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว”
คุ้มครองสิทธิ
บุคคล สิทธิชุมชน
นโยบาย
สาธารณะเพื่อ
สุขภาพ
การมี
สิ่งแวดล้ อมที่ดี
เอือ้ ต่ อสุขภาพ
การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน เป็ นธรรม
HIA เพื่อสุขภาวะ ทุกนโยบาย
การเสริมสร้ าง (Health in all policies) กระบวนการมี
ความเข้ มแข็ง
ส่ วนร่ วมในทุก
ประชาชนทุกคนมีสุขภาวะทาง ขัน้ ตอน
ให้ ชุมชน
กาย จิตใจ สังคม และปั ญญาที่ดี
การใช้ ข้อมูล
หลักฐานที่ถูกต้ อง
,ครบถ้ วน
กระบวนการเรี ยนรู้
ร่ วมกันของสังคม
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA)
ภายใต้ รัฐธรรมนูญฯ ฉบับใหม่
• นพ.นิรันดร์ พิทักษ์ วชั ระ กรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ
• นพ.วิพุธ พูลเจริญ ประธาน HIA Commission
• นายบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ กรรมการยกร่ างรัฐธรรมนูญ
• นายไพโรจน์ พลเพชร กรรมการปฏิรูปกฎหมาย
• อ.สั ญชัย สู ติพนั ธ์ วหิ าร คณะสิ่ งแวดล้อมฯ ม.มหิดล
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
(Health Impact Assessment; HIA)
ภายใต้ รัฐธรรมนูญฯ ฉบับใหม่
คุ้มครองสิทธิ
บุคคล สิทธิชุมชน
นโยบาย
สาธารณะเพื่อ
สุขภาพ
การเสริมสร้ าง
ความเข้ มแข็ง
ให้ ชุมชน
การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน เป็ นธรรม
HIA เพื่อสุขภาวะ ทุกนโยบาย
(Health in all policies)
ประชาชนทุกคนมีสุขภาวะทาง
กาย จิตใจ สังคม และปั ญญาที่ดี
การใช้ ข้อมูล
หลักฐานที่ถูกต้ อง
,ครบถ้ วน
การมี
สิ่งแวดล้ อมที่ดี
เอือ้ ต่ อสุขภาพ
กระบวนการมี
ส่ วนร่ วมในทุก
ขัน้ ตอน
กระบวนการเรี ยนรู้
ร่ วมกันของสังคม