คลิกเพื่อดาวน์โหลด - ระบบจัดเก็บและบริการข้อมูลทะเบียนพาณิชย์

Download Report

Transcript คลิกเพื่อดาวน์โหลด - ระบบจัดเก็บและบริการข้อมูลทะเบียนพาณิชย์

การควบคุมการค้างาช้าง
1
สถานการณ์ การค้ างาช้ าง
๑. มติคณะรัฐมนตรี ๒๒ มกราคม ๒๕๕๑ (มติครม. ๒๒ มค.๕๑).pdf
๒. การลักลอบล่ าและค้ างาช้ างในทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะ
แอฟริกากลางและใต้ และกล่ าวหาว่ าตลาดรับซือ้ อยู่ในทวีป
เอเชีย จีนและไทย (WWF, 2012; ETIS, 2012)
๓. ข้ อมูลจาก Wildlife Crime Scorecard ระบุว่าการบังคับใช้
กฎหมายควบคุมการค้ างาช้ างและผลิตภัณฑ์ ของประเทศไทย ยัง
ไม่ มีประสิทธิภาพเพียงพอ (WWF, 2012)
๔. มีข้อเรียกร้ องให้ ไทยเป็ นผู้นาเพื่อหยุดยัง้ ปั ญหาการค้ างาช้ างผิด
กฎหมาย โดยใช้ โอกาสการเป็ นเจ้ าภาพจัดประชุม CITES CoP
16 โดยขอให้ ประกาศระงับการค้ างาช้ างและผลิตภัณฑ์ ทนั ที
(WWF, 2013)
2
สถานการณ์ การค้ างาช้ าง (ต่ อ)
๕. สานักเลขาธิการไซเตสได้ รับข้ อมูลจาก ETIS และ TRAFFIC แจ้ ง
เตือนประเทศไทยให้ จัดระบบการควบคุมงาช้ างบ้ านและ
ผลิตภัณฑ์ ให้ มีประสิทธิภาพ มิฉะนัน้ จะเสนอให้ ภาคีสมาชิกงด
ทาการค้ าด้ านสัตว์ ป่าและพืชป่ ากับประเทศไทย
๖. เจ้ าหน้ าที่สานักเลขาธิการไซเตส เดินทางมาตรวจสอบการ
พัฒนาระบบการควบคุมงาช้ างบ้ านและผลิตภัณฑ์ ในเดือน
ตุลาคม ๒๕๕๕ และกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ได้ กล่ าวชื่นชมความตัง้ ใจ
จริงของประเทศไทยในการจัดระบบการควบคุมการค้ างาช้ าง
บ้ าน เพื่อป้องกันไม่ ให้ นางาช้ างที่ผิดกฎหมายมาปลอมปน
3
ประเทศที่เกี่ยวข้องอย่างรุนแรงกับปัญหาการลักลอบค้างาช้างระหว่างประเทศ
ต้นทาง
ทางผ่าน
ปลายทาง
• ๑.เคนยา ๒.ยูกนั ดา ๓.แทนซาเนี ย
• ๔.มาเลย์เซีย ๕.ฟิลิปปินส์ ๖.เวียดนาม
ฮ่องกง (จีน)
ไทย
• ๗.จีน ๘.
4
สถานะตามกฎหมายของช้างในประเทศไทย
ิ กา
ช้African
างแอฟร
Elephant
ช้างป่ า
ช้
า
งบ้
า
น
Asian Elephant (ช้างเอเชีย)
(Elephas maximus)
(Loxodonta africana)
สัตว์ป่าชนิดที่รฐั มนตรี
ประกาศกาหนด ตาม
พ.ร.บ. สงวนฯ
สัตว์ป่าคุ้มครอง ตาม พ.ร.บ.
สงวนฯ 2535
ผิดกฎหมาย
ห้ามค้าภายในประเทศ
สัตว์พาหนะ
ตาม พ.ร.บ. สัตว์พาหนะ
พ.ศ. 2482
ค้าภายในประเทศเท่านัน้
สัตว์ CITES บัญชี 1 (ห้ามค้านาเข้า/ส่งออกเชิงพาณิชย์)
หรือห้ามเพื่อการค้าระหว่างประเทศ
5
การค้างาช้างในประเทศไทย
ช้ างบ้ าน: งาช้ างและผลิตภัณฑ์ เป็ นทรัพย์ สินส่ วนตัวที่ประชาชน
สามารถทาการค้ าขายได้ ภายในประเทศ แต่ ห้ามการส่ งออกทุก
กรณี
ช้ างป่ า: ไม่ มีการอนุญาตให้ ใช้ ประโยชน์ แต่ อย่ างใด
ช้ างแอฟริกา: ปกติไม่ อนุญาตให้ ทาการค้ าขายระหว่ างประเทศได้
เว้ นแต่ บางประเทศที่จัดไว้ เป็ นบัญชี ๒ ซึ่งสามารถขอรับการ
อนุญาตจากที่ประชุมคณะกรรมการไซเตสให้ ทาการค้ าได้ สาหรับ
ประเทศไทยงาช้ างแอฟริกัน ไม่ ได้ รับอนุญาตให้ นาเข้ า-ส่ งออกได้
ตามอนุสัญญาไซเตส ในกรณีท่ มี ีการลักลอบนาเข้ ามาในประเทศ
มาปะปนกับช้ างบ้ าน จะใช้ กฎหมายของกระทรวงพาณิชย์
ในการควบคุมและลงโทษ
6
ประเทศไทยกับปัญหางาช้าง
2545 CITES CoP12 (ชิลี) – 2556 CITES CoP16 (กรุงเทพ)
๑. มีการลักลอบนาเข้างาช้างแอฟริกาจานวนมาก
๒. มีการค้างาช้างในประเทศ (งาช้างบ้าน)ทีไ่ ม่มกี ารควบคุม
๓. ไม่มกี ารแก้ไขปญั หาทีเ่ ป็ นรูปธรรม
๓.๑ ไม่มรี ายงานการจับกุมภายในประเทศ
๓.๒ ไม่มคี วามคืบหน้าในการปรับปรุงกฎหมายทีจ่ าเป็ นต่อ
การควบคุมการค้างาช้าง
การจับกุมการ
ลักลอบการค้ า
งาช้ างแอฟริกา
8
ไม่มีการควบคุมการค้างาช้าง(บ้าน)
9
ประเทศที่มีการค้างาช้างภายในประเทศ
(มติที่ประชุมภาคีอนุสญ
ั ญา CITES ที่ 10.10 การค้าช้างและซากช้าง)
ควบคุมการค้างาช้างภายในประเทศ
- มีการจดทะเบียนผูค้ ้า
- มีระบบการบันทึกและการตรวจสอบ
- มีการประชาสัมพันธ์ไม่ให้นักท่องเที่ยวต่างชาติซื้องาช้าง
10
มติที่ประชุม 10.10 (แก้ไข CoP 15)
การค้าตัวอย่างชนิดพันธุ์ชา้ ง
• เกี่ยวกับมาตรการควบคุมการค้างาช้างภายในประเทศ
• ประเทศที่มีการแกะสลักและการค้างาช้างภายในประเทศ จะต้อง
ดาเนินการดังต่อไปนี้
๑. มีการจดทะเบียนหรื ออนุญาตการค้าเกี่ยวกับงาช้าง ได้แก่ ผูน้ าเข้า
(Importers) โรงงานแปรรู ป/ แกะสลัก (Manufactures) ผูค้ า้ ส่ ง
(Wholesalers) และผูค้ า้ ปลีก (Retailers) เกี่ยวกับงาช้างดิบ (Raw Ivory)
งาช้างกึ่งสาเร็ จรู ป (Semi-worked) หรื อผลิตภัณฑ์งาช้างสาเร็ จรู ป
(Worked Ivory Products)
11
มติที่ประชุม 10.10 (แก้ไข CoP 15) (ต่อ)
การค้าตัวอย่างชนิดพันธุ์ชา้ ง
๒. มีระบบการบันทึกและตรวจสอบข้อมูล เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถ
ติดตามการเคลื่อนย้ายของงาช้างภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน
กรณี ของ
๒.๑ ให้มีระบบควบคุมการค้างาช้างดิบ (Raw Ivory)ที่เข้มงวด
๒.๒ กาหนดให้มีระบบการบันทึกรายงานและการบังคับใช้
กฏหมายที่รัดกุมสาหรับงาช้างแปรรู ป หรื อผลิตภัณฑ์งาช้าง (Worked
Ivory)
12
มติที่ประชุม 10.10 (แก้ไข CoP 15) (ต่อ)
การค้าตัวอย่างชนิดพันธุ์ชา้ ง
๓. มีเครื อข่ายการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าสาร เกี่ยวกับ
เงื่อนไข/ข้อกาหนดในการซื้อ-ขายงาช้าง โดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์
ในร้านค้าปลีกให้นกั ท่องเที่ยว และชาวต่างชาติทราบว่าเขาไม่ควรซื้อ
งาช้าง ซึ่งจะเป็ นการกระทาผิดกฏหมายสาหรับเขาในการนางาช้างเข้า
ประเทศของเขา
13
Internal Ivory Trade Process
b
Importers
ผูน้ าเข้า
Raw Ivory (งาช้างดิบ)
Manufacturers
โรงงานแปรรูป/ โรงงานแกะสลัก
Raw Ivory (งาช้างดิบ)
Semi-worked งาช้างกึ่งสาเร็จรู ป
Worked ivory products ผลิตภัณฑ์งาช้าง
Wholesalers
ร้านค้าส่ง
Semi-worked งาช้างกึ่งสาเร็จรู ป
Worked ivory products ผลิตภัณฑ์งาช้าง
Retailers
ร้านค้าปลีก
Semi-worked งาช้างกึ่งสาเร็จรู ป
Worked ivory products ผลิตภัณฑ์งาช้าง
Customers
ลูกค้า
Semi-worked งาช้างกึ่งสาเร็จรู ป
Worked ivory products ผลิตภัณฑ์งาช้าง
14
มาตรการควบคุมการค้างาช้างที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เป็ น
การค้าภายในประเทศซึ่งงาช้างที่ถกู กฎหมายเท่านัน้
15
ปัจจุบนั ผูป้ ระกอบการค้างาช้างในประเทศไทย ต้อง...
- จดทะเบียนพาณิชย์
พ.ร.บ. ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 มีผลบังคับ 29 มี.ค. 49
- มีหน้ าที่จดั ทาบัญชี
พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543 มีผลบังคับ 5 มี.ค. 52
- ค้างาช้างที่ชอบด้วยกฎหมายเท่านัน้
พ.ร.บ. สัตว์พาหนะ พ.ศ. 2482
พ.ร.บ. สงวนและคุม้ ครองสัตว์ปา่ พ.ศ. 2535
- ค้าและเคลื่อนย้ายงาช้างดิบ
พ.ร.บ. โรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499
1
6
ข้าราชการกรมอุทยานฯระดับปฏิบตั ิ งาน/ปฏิบตั ิ การขึน้ ไป
ในสังกัดสานัก/กองที่เกี่ยวข้อง ได้รบั การมอบหมาย/แต่งตัง้ ให้เป็ น
•
นายทะเบียนพาณิชย์และพนักงานเจ้าหน้ าที่
ตาม พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. ๒๔๙๙
•
สารวัตรและสารวัตรใหญ่บญ
ั ชี ตาม พ.ร.บ.
การบัญชี พ.ศ. ๒๕๔๓
**เฉพาะกรณีการประกอบพาณิชยกิจเป็ น
โรงงานแปรสภาพ แกะสลัก และการทา
หัตถกรรมจากงาช้าง การค้าปลีก การค้า
ส่ง งาช้างและผลิตภัณฑ์จากงาช้าง
17
Province
142 Ivory
entrepreneurs
(as of Feb
2013)
Local record
Inspected by DNP
สุรินทร์ (Surin)
ยโสธร (Yasothorn)
56
21
57
inspecting
นครสวรรค์ (Nakornratsima)
16
24
อุทยั ธานี (Uthaithani)
พิจติ ร (Pichit)
กรุงเทพ (Bangkok)
นครราชสีมา (Korat)
บุรีรมั ย์ (Burirum)
เชียงใหม่ (Chiangmai)
ขอนแก่น (Khonkhaen)
15
1
20
1
11
4
-
9
inspecting
20
1
16
2
มหาสารคาม (Mahasarakam)
1
1
พิษณุโลก (Pisanuloke)
เพชรบูรณ์ (Petchaboon)
1
1
1
inspecting
สมุทรปราการ (Samutprakarn)
1
1
จันทบุรี (Chanburi)
1
inspecting
หนองบัวลาภู (Nongbualumpu)
1
inspecting
2
153
9
1
142
อยุธยา (Ayuthaya)
ชัยนาท (Chainat)
รวม (Total)
การตรวจสอบของสานักงานเลขาธิการไซเตส
ครัง้ ที่ ๑ อ. พยุหะคีรี จ. นครสวรรค์ (๒๗ ต.ค. ๕๕)
19
การตรวจสอบของสานักงานเลขาธิการไซเตส
ครัง้ ที่ ๒ ที่สรุ ิ นทร์ (๒๒-๒๓ ก.พ. ๕๖ ก่อนประชุม CITES CoP16)
เพื่อประเมินและเสนอความเห็นต่อที่ประชุมฯ
20
ข้ อเสนอแนะของสานักงานเลขาธิการไซเตส
1. กาหนดให้ เรื่องการป้องกันการค้ างาช้ างผิดกฎหมายและ
อาชญากรรมที่เกี่ยวกับสัตว์ ป่าเป็ นวาระแห่ งชาติ ที่ต้องเร่ ง
ดาเนินการแก้ ไขปั ญหาในทุกมิติ
2. เสนอปรับปรุ งกฎหมาย รวมทัง้ เพิ่มโทษต่ อผู้กระทาผิดให้ สูงขึน้
ประกอบด้ วย
– พ.ร.บ.สัตว์พาหนะ พ.ศ. 2482 ต้ องปรับปรุงการจัดทาระบบตัว๋ รูปพรรณช้ าง
ให้ ทนั สมัยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น ข้ อกาหนดเกี่ยวกับการค้ าการครอบครอง
งาช้ างและซากช้ าง รวมทังต้
้ องมีการควบคุมการใช้ ประโยชน์จากงาช้ าง
– พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 เพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวกับสัตว์ป่า
ต่างประเทศ โดยเฉพาะสัตว์ป่าตามบัญชี 1 ของอนุสญ
ั ญาไซเตส
21
การประชุม CITES CoP 16 ที่เกี่ยวข้องกับการค้างาช้าง
22
๑. การประชุมคณะกรรมาธิ การบริ หารฯ ครั้งที่ 63 (SC 63)
วันที่ 2 มีนาคม 2556
-เจ้าหน้าที่สานักงานเลขาธิการไซเตส ผูซ้ ่ ึ งได้มาตรวจติดตามการควบคุมการค้างาช้าง
2 ครั้งในประเทศไทย ได้รายงานเรื่ องการควบคุมการค้างาช้างของประเทศไทย ให้
ที่ประชุมทราบว่า ประเทศไทยได้มีความตั้งใจที่จะควบคุมการค้างาช้างตามมติที่
ประชุม 10.10 (แก้ไข CoP 15) การค้าตัวอย่างชนิดพันธุ์ชา้ ง โดยเชื่อว่าประเทศไทย
น่าจะพัฒนาแผนปฏิบตั ิการควบคุมการค้างาช้างเป็ นขั้นตอน โดยมีระยะเวลา
ระหว่าง CoP16 และการประชุมกรรมาธิ การครั้งที่ 65 (SC65) โดยมีตวั ชี้วดั เป็ น
Milestones, Targets and Timeframes
23
๑. การประชุมคณะกรรมาธิ การบริ หารฯ ครั้งที่ 63 (SC 63)
วันที่ 2 มีนาคม 2556 (ต่อ)
-คณะกรรมาธิการบริ หารฯได้ร้องขอให้สานักงานเลขาธิการ CITES
ช่วยเหลือ 8 ประเทศภาคี ซึ่งคณะกรรมาธิการบริ หารฯ ให้ขอ้ แนะนา
โดยตรงเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามบทบัญญัติของไซเตสเกี่ยวกับการ
ควบคุมการค้างาช้าง (Control of Trade Ivory) ในการพัฒนาแผนปฏิบตั ิ
การแห่งชาติ (National Action Plan) เพื่อลดการค้างาช้างที่ผดิ กฏหมาย
โดยมีกรอบระยะเวลา (Timeframes) และMilestones และตกลงจะให้
ปฏิบตั ิให้ถึงเป้ าหมายตามแผนปฏิบตั ิการในการประชุม
คณะกรรมาธิการบริ หารฯครั้งที่ 65 (SC 65) ในเดือน กรกฎาคม 2557
24
๒. การรายงานการค้างาช้างของ ETIS
• The Elephant Trade Information System (ETIS) and the Illicit
Trade in Ivory: A report to the 16th meeting of the Conference of
the Parties to CITES โดยรายงานว่า “ประเทศไทยและจีน เป็ นประเทศ
ปลายทางทีม่ กี ารลักลอบนาเข้ างาช้ างแอฟริกา จานวนมากทีส่ ุ ด และเป็ นสอง
ประเทศทีม่ สี ถานการณ์ ทนี่ ่ าเป็ นห่ วงอย่างยิง่ ”
• Taking a trade chain perspective and moving backwards
from end-use markets to elephant ivory source countries,
the two countries most heavily implicated as destinations
for illicit trade in ivory are China and Thailand. Both of these
countries have featured in previous ETIS analyses and
reports to the Standing Committee as countries of major
concern.
25
๓. การประชุมคณะกรรมาธิการบริหารฯ ครัง้ ที่ 64 (SC 64)
ในวันที่ 14 มีนาคม 2556
๓.๑ สานักงานเลขาธิการCITES เสนอแนะว่าคณะกรรมาธิ การบริ หารฯได้ปรับปรุ ง
ข้อแนะนา ดังนี้
(๑) ประเทศที่อยูใ่ นห่วงโซ่อุปทานการค้างาช้างที่ผิดกฎหมาย จานวน ๘ ประเทศ
ประกอบด้วย ประเทศต้ นทางคือ เคนย่า อูกนั ดา แทนซาเนีย ประเทศทางผ่ านคือ
มาเลเซี ย ฟิลปิ ปินส์ เวียตนาม ประเทศปลายทาง หรื อผูบ้ ริ โภคคือ จีนและไทยจะต้อง
จัดทาแผนปฏิบตั ิการควบคุมงาช้างแห่ งชาติ เสร็ จพร้อมกรอบระยะเวลา และเป้ าหมาย
และส่ งให้สานักงานเลขาธิ การไซเตส ในวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖
(๒) สานักงานเลขาธิการCITES จะร่ วมกับคณะกรรมาธิ การบริ หารฯ ในการรายงาน
ให้ประธานคณะกรรมาธิ การบริ หารฯในกรณี ประเทศภาคีไม่ส่งแผนตามกาหนด
(๓) ประเทศภาคีท้ งั ๘ ประเทศ จะถูกร้องขอให้ดาเนินมาตรการเร่ งด่วนในการปฏิบตั ิ
ตามแผนปฏิบตั ิการงาช้างแห่งชาติของประเทศนั้นๆ ในระหว่างการประชุม
คณะกรรมาธิ การบริ หารฯ ครั้งที่ 64 (SC64) และครั้งที่ 65 (SC 65) กรกฎาคม ๒๕๕๗
๓. การประชุมคณะกรรมาธิการบริหารฯ ครัง้ ที่ 64 (SC 64)
ในวันที่ 14 มีนาคม 2556 (ต่อ)
(๔) ประเทศภาคีท้ งั ๘ ประเทศ จะต้องปรับปรุ งความก้าวหน้าตามตารางเวลา
และเป้ าหมาย โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิคส์ กับสานักงานเลขาธิ การไซเตส
(๕) สานักงานเลขาธิ การไซเตส จะเฝ้ าติดตามความก้าวหน้าและรับรายงานจาก
กรรมาธิการบริ หารโดยวิธีทางอิเล็กทรอนิคส์ และสานักงานเลขาธิการจะแนะนา
ประเทศภาคีเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามแผน
(๖) ประเทศภาคีท้ งั ๘ ประเทศ จะต้องส่ งรายงานความก้าวหน้าของการปฏิบตั ิ
ตามแผนโดยมีระยะเวลากาหนดภายในวันส่ งเอกสาร การประชุม SC 65
(๗) สานักงานเลขาธิการจะประเมินรายงาน และให้ขอ้ แนะนาในการประชุม
SC65
National Ivory Action Plan.pdf
27
คากล่าวของนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 3 มีนาคม 2556
คากล่าวของนายกรัฐมนตรี (น.ส. ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร)
The government measures to tackle this problem are as follow;
• First, the Government has enhanced intelligence and customs cooperation with foreign
countries, which has helped limit the smuggling of ivory from African elephants.
• Second, we are strictly enforcing the current legal frameworks, by limiting the supply of ivory
products to only those made from domestic elephants which is legal under the current
legislation. Domestic elephants are also legal for use as local means of transportation in hilly
forest areas. This can be done by enforcing comprehensive and system-wide registration of
both the domestic elephants and ivory products and thereby further exposing illegal ivory trade
and products.
• Third, as a next step we will work towards amending the national legislation with the goal of
putting an end to ivory trade and to be in line with international norms. This will help protect
all forms of elephants including Thailand’s wild and domestic elephants and those from Africa.
28
การประชุมผูบ้ ริหารระดับสูง กาหนดนโยบายการแก้ปัญหา
• นายกรัฐมนตรี (น.ส.ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร) ได้ประชุมผูบ้ ริหารระดับสูง
ประกอบด้วย รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม อธิบดีกรมการปกครอง และอธิบดีกรม
อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ์ ืช ในวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ณ ตึก
ไทยคูฟ่ ้ า ทาเนียบรัฐบาล โดยมีประเด็นทีเ่ กี่ยวข้องกับการค้างาช้าง ดังนี้
29
การประชุมผูบ้ ริหารระดับสูง กาหนดนโยบายการแก้ปัญหา
(ต่อ)
การปรับปรุง แก้ไขกฏหมาย เพือ่ ยุติการค้างาช้างในอนาคต
๑. ให้กระทรวงมหาดไทย แก้ไขพระราชบัญญัตสิ ตั ว์พาหนะ พ.ศ. ๒๔๘๒ โดย
ยกเลิกช้างบ้าน ออกจากเป็ นสัตว์พาหนะ และให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อม แก้ไขพระราชบัญญัตสิ งวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๓๕
โดยให้ชา้ งบ้าน เป็ นสัตว์ป่าคุม้ ครอง
๒. ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม กระทรวงมหาดไทย และ
หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องไปหารือร่วมกัน ถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึ้นและแนว
ทางแก้ไข หากยุตกิ ารค้างาช้างเพื่อจะได้ออกมาตรการช่วยเหลือในระหว่างการ
แก้ไขกฏหมาย
30
กรมอุทยานแห่งชาติฯ ได้เสนอแต่งตัง้ คณะทางาน
แผนปฏิบตั กิ ารงาช้างฯ
• คาสัง่ คณะกรรมการอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่ งชนิ ดสัตว์ป่าและพืช
ป่ าที่ใกล้สูญพันธุ์ ประจาประเทศไทย ที่ ๑/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๖
เรื่ อง แต่งตั้งคณะทางานจัดทาแผนปฏิบตั ิการระดับชาติ เพื่อแก้ไขปัญหาการค้า
งาช้างที่ผิดกฎหมายตามพันธกรณี แห่ งอนุสัญญา CITES คาสั่งคณะทางาน
แผนปฏิบตั ิการงาช้าง.pdf
• คณะทางานดังกล่าวได้ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบตั ิการงาช้างแห่ งชาติ เสนอให้
คณะรัฐมนตรี เห็นชอบ และได้จดั ทาส่ งให้สานักเลขาธิ การไซเตส ตามกาหนด
(๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖) ในขณะเดียวกันสานักอนุรักษ์สัตว์ป่า และหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องได้จดั ทาร่ างแก้ไขพระราชบัญญัติสงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. .... เพื่อ
แก้ไขให้ชา้ งเป็ นสัตว์ป่าคุม้ ครองเพียงสถานะเดียว และได้นาไปสู่ที่ประชุมเพื่อรับ
ฟังความคิดเห็นจากผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย (วันที่ ๒๓กันยายน ๒๕๕๖) ซึ่ งได้ถกู
ต่อต้านจากกลุ่มผูเ้ ลี้ยงช้างอย่างรุ นแรง
31
แผนปฏิบตั กิ ารควบคุมการค้างาช้างแห่งชาติ
ของประเทศไทย
32
1. Related Legislations and regulation
(กฏหมายและระเบียบทีเ่ กี่ยวข้อง)
1.1 Revision of the Draught Animals Act B.E. 2482 (1939)
ปรับปรุงพระราชบัญญัติสัตว์ พาหนะ พ.ศ. 2482
1.1.1 Remove of domesticated elephants from the Draught Animals Act
การยกเลิกช้างออกจากบังคับใช้ของกฏหมายว่าด้วยสัตว์พาหนะ
1.1.2 Introduction of the new elephant identification book system
การใช้ตวั๋ รู ปพรรณช้างแบบใหม่
33
1. Related Legislations and regulation
(กฏหมายและระเบียบทีเ่ กี่ยวข้อง) (ต่อ)
1.2 Revision of the Wild Animals Reservation and Protection Act B.E.
2535 (1992)
การแก้ไขเพิม่ เติมพระราชบัญญัติสงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535
1.2.1 Adding domesticated elephants to be controlled under this law
การให้ชา้ งเลี้ยงอยูภ่ ายใต้บงั คับของกฏหมายว่าด้วยสงวนและคุม้ ครอง
สัตว์ป่า
1.2.2 Adding provisions covering the possession of African
elephant’ ivory and control of domestic ivory trade
การครอบครองงาช้างแอฟริ กาและการควบคุมการค้างาช้าง
ภายในประเทศ
34
1. Related Legislations and regulation
(กฏหมายและระเบียบทีเ่ กี่ยวข้อง) (ต่อ)
1.3 Revision of the Department of Livestock Development’ regulations
on moving animals and their carcasses regarding marking of raw
ivory under the Animal Epidemic Act.
การแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบกรมปศุสตั ว์วา่ ด้วยการเคลื่อนย้ายสัตว์ และ
ซากสัตว์เกี่ยวกับการทาเครื่ องหมายงาช้างดิบภายใต้กฏหมายโรคระบาด
สัตว์
35
2. Database system (ระบบฐานข้อมูล)
2.1 Compiling information of ivory traders and control of them
การจัดทาฐานข้อมูลผูค้ า้ งาช้างและการควบคุมผูค้ า้ งาช้าง
2.2 Compiling data and marking of confiscated ivory
การสารวจข้อมูลและทาเครื่ องหมายงาช้างของกลาง
36
3. Monitoring system
(ระบบการเฝ้ าติดตาม)
3.1 Monitoring of data on ivory traders and control of them
ควบคุมการจดทะเบียนพาณิ ชย์ผคู้ า้ งาช้างและผลิตภัณฑ์
3.2 Checking of ivory accounts and compiling ivory
การตรวจสอบบัญชีและรวบรวมข้อมูลการค้างาช้าง
3.3 Preparation of annual report
การจัดรายงานประจาปี
37
4. Law enforcement (การบังคับใช้กฏหมาย)
•
•
•
•
The Royal Thai Police
DNP
Custom Department
Department of Livestock Development
38
5. Public relation campaigns
การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์
•
•
•
•
DNP
Department of Public Relation
Custom Department
รายละเอียดแผนปฏิบตั กิ ารงาช้างแผนงาช้างเดิม ๑๕พค.๕๖.pdf
39
การประชุมคณะทางานแผนปฏิบตั งิ านงาช้างฯ
• วันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ประชุมคณะทางานแผนปฏิบตั งิ านงาช้างฯ เพื่อ
สรุปข้อมูลให้คณะผูแ้ ทนไทย ทีจ่ ะไปประชุมคณะกรรมการบริหารอนุสญั ญา
CITES ในวันที่ ๗-๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ และวิเคราะห์ปัญหาและแนว
ทางแก้ไขปั ญหา โดยมีมติทป่ี ระชุม ดังนี้
(๑) กรมอุทยานแห่งชาติฯ จัดทาร่างประกาศคสช. เรือ่ ง การควบคุมการค้า
งาช้างจากสัตว์พาหนะ
(๒) กรมอุทยานแห่งชาติฯ จัดทาร่างประกาศคสช. เรือ่ ง การกาหนดให้ชา้ ง
แอฟริกาเป็ นสัตว์ป่าคุม้ ครอง ตามพ.ร.บ.สงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่าฯ
40
การประชุมคณะกรรมการบริหารอนุสญ
ั ญา CITES
ครัง้ ที่ ๖๕ วันที่ ๗-๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ กรุงเจนีวา
• คณะกรรมการบริหารอนุสญั ญา CITES ขอให้ประเทศไทยจัดส่ง
แผนปฏิบตั กิ ารงาช้างแห่งชาติฉบับแก้ไข ภายในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗
ประกอบด้วย
(๑) การตรากฏหมายหรือระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ หมาะสม (เช่น การกาหนดให้
ช้างแอฟริกาเป็ นสัตว์ป่าคุม้ ครอง ภายใต้กฏหมายสัตว์ป่า) เพื่อเอื้อประโยชน์
ต่อการควบคุมการค้าภายในประเทศและการครอบครองงาช้างอย่างมี
ประสิทธิภาพ และมีการกาหนดโทษแก่ผกู ้ ระทาผิดดังกล่าวอย่างเคร่งครัด
41
การประชุมคณะกรรมการบริหารอนุสญ
ั ญา CITES
ครัง้ ที่ ๖๕ วันที่ ๗-๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ กรุงเจนีวา (ต่อ)
(๒) การตรากฏหมาย หรือระเบียบ ข้อบังคับทีก่ าหนดให้มี (i) ระบบการจด
ทะเบียนงาช้างภายในประเทศ (ii) ระบบทีม่ ีประสิทธิภาพเพื่อการจดทะเบียน
และออกใบอนุญาตผูค้ า้ งาช้าง (รวมถึงการบังคับใช้กฏหมายและบทกาหนด
โทษแก่ผกู ้ ระทาผิด) หากมีการดาเนินการแล้ว ขอให้ประเทศไทยแจ้งผลการ
ดาเนินงานให้สานักเลขาธิการทราบด้วย
(๓) การเพิ่มความพยายามในการติดตามและควบคุมผูค้ า้ งาช้างและข้อมูล
งาช้าง เพื่อการบังคับใช้กฏหมายในการปราบปรามการค้างาช้างทีผ่ ดิ กฏหมาย
รวมถึงตัวชี้วดั ทีส่ ามารถตรวจวัดได้
42
การประชุมคณะกรรมการบริหารอนุสญ
ั ญา CITES
ครัง้ ที่ ๖๕ วันที่ ๗-๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ กรุงเจนีวา (ต่อ)
• คณะกรรมการฯ ยังขอให้ประเทศไทยรายงานความก้าวหน้าผลการ
ดาเนินการข้างต้นให้สานักเลขาธิการ พิจารณาภายในวันที่ ๑๕ มกราคม
๒๕๕๘ ซึง่ เมื่อคณะกรรมการฯ ได้หารือร่วมกับสานักเลขาธิการแล้ว คณะ
กรรมการฯ จะออกข้อเสนอแนะอย่างหนึ่งอย่างใดตามความเหมาะสมต่อไป
• คณะกรรมการฯ ขอให้ประเทศไทยรายงานความก้าวหน้าผลการดาเนินการ
ข้างต้นอีกฉบับหนึ่งให้สานักเลขาธิการ พิจารณาภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม
๒๕๕๘ ซึง่ เมื่อคณะกรรมการฯ ได้พิจารณาหารือร่วมกับสานักเลขาธิการแล้ว
หากคณะกรรมการฯ ไม่พึงพอใจต่อผลการดาเนินการของประเทศไทย
ดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการฯ จะดาเนินการทางไปรษณียต์ ามขัน้ ตอนใน
มติทปี่ ระชุม ๑๔.๓ วรรค ๓๐ บังคับใช้กบั ประเทศไทยต่อไป (การระงับ
การค้า) สรุปผลการประชุมคณะกรรมการบริหารฯ ครัง้ ที่ 65.pdf
43
การประชุมคณะทางานแผนปฏิบตั งิ านงาช้างฯ
• วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ประชุมคณะทางานแผนปฏิบตั งิ านงาช้างฯ เพื่อ
สรุปผลการประชุมคณะกรรมการบริหารอนุสญั ญา CITES ครัง้ ที่ ๖๕ มติท่ี
ประชุมให้กรมอุทยานแห่งชาติฯ ส่งร่างประกาศคสช. จานวน ๒ ฉบับ เสนอ
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ เพื่อเป็ นกฎหมายในการควบคุมการค้างาช้าง คือ
(๑) ร่างประกาศคสช. เรือ่ ง การควบคุมการค้างาช้างจากสัตว์พาหนะ
(๒) ร่างประกาศคสช. เรือ่ ง การกาหนดให้ชา้ งแอฟริกาเป็ นสัตว์ป่าคุม้ ครอง
ตามพ.ร.บ.สงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่าฯ
โดยส่งร่างประกาศคสช. ดังกล่าวให้ฝ่ายสังคม จิตวิทยา ตามหนังสือ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ที่ ทส ๐๙๐๒.๓/ ๑๕๖๐ ลงวันที่ ๓๑
กรกฎาคม ๒๕๕๗
44
การประชุมชี้แจงข้อมูลแก่พลเอกไพบูลย์ คุม้ ฉายา หัวหน้า
ฝ่ ายกฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม คสช.
๑. วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ ผูอ้ านวยการกองคุม้ ครองฯ กรมอุทยานฯ ได้ถูก
เรียกเข้าร่วมประชุมชี้แจงข้อมูลปั ญหาการค้างาช้างทีผ่ ดิ กฎหมาย แก่พลเอก
ไพบูลย์ คุม้ ฉายา หัวหน้าฝ่ ายกฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม คณะรักษา
ความสงบแห่งชาติ และคณะ โดยหัวหน้าฝ่ ายกฎหมายฯ ได้แจ้งว่า
(๑) การกาหนดให้ชา้ งแอฟริกา เป็ นสัตว์ป่าคุม้ ครอง ตามพระราชบัญญัติ
สงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๓๕ ควรออกเป็ นกฎกระทรวง
(๒) การควบคุมการครอบครอง และการค้างาช้างทีไ่ ด้จากสัตว์พาหนะ
ควรออกเป็ นพระราชบัญญัตฉิ บับใหม่ โดยให้กรมอุทยานแห่งชาติฯ
ประสานงานกับสานักงานกฤษฎีกา ในการยกร่างกฏหมาย
๒. กรมอุทยานฯจัดทา Roadmap การแก้ไขปั ญหางาช้าง.pdf
การประชุมชี้แจงข้อมูลแก่พลเอกไพบูลย์ คุม้ ฉายา หัวหน้า
ฝ่ ายกฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม คสช.(ต่อ)
46
การประชุมชี้แจงข้อมูลการยกร่างกฎหมาย
แก่คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๗)
• ฝ่ ายกฏหมายและกระบวนการยุตธิ รรม คสช. ได้มีหนังสือที่ คสช (กย)/ ๕๙๘
ลงวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ เรียน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา โดย
แจ้งว่ามติทปี่ ระชุมฝ่ ายกฏหมายฯ ลงวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๗ ให้สานักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกา ประสานงานกับกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ ์
พืช ในการยกร่างกฏหมาย ในประเด็นเกี่ยวกับการกาหนดให้ชา้ งแอฟริกาเป็ น
สัตว์ป่าคุม้ ครอง ตามพ.ร.บ.สงวนฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และการควบคุมงาช้าง และ
ผลิตภัณฑ์ทที่ าจากงาช้างทีเ่ ป็ นสัตว์พาหนะ เพื่อให้มีผลบังคับใช้ในเดือน
มีนาคม ๒๕๕๘ หนังสืฝ่ายกฏหมายถึงกฤษฎีกา ลว.14 สค.57.pdf
• ในวันที่ ๑๘, ๑๙, ๒๒, ๒๕, ๒๖, ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๗ และวันที่ ๑ กันยายน
๒๕๕๗
47
การประชุมชี้แจงข้อมูลการยกร่างกฎหมาย
แก่คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๗) (ต่อ)
• คณะทางานร่างกฏหมายของกรมอุทยานแห่งชาติฯ ได้เข้าร่วมประชุมชี้แจงร่าง
กฏหมายแก่คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๗) ในวันที่ ๑๘, ๑๙, ๒๒, ๒๕,
๒๖, ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๗ และวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ ซึง่ ประกอบด้วย
(๑) ร่างพระราชบัญญัตกิ ารค้างาช้าง พ.ศ.........พ.ร.บ.งาช้าง ๒๒สค.
๕๗.pdf
(๒) ร่างพระราชบัญญัตสิ งวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า (ฉบับที.่ ..) พ.ศ.......ร่าง
พ.ร.บ.สงวนฯ ๒๙ สค.๕๗.pdf
48
การประชุมชี้แจงข้อมูลการยกร่างกฎหมาย
แก่คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๗) (ต่อ)
49
การประชุมคณะกรรมการอนุสญั ญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ
ซึง่ ชนิดสัตว์ป่าและพืชป่ าทีใ่ กล้สูญพันธุ ์ ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๗
• เมื่อวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ ได้มีการประชุมคณะกรรมการอนุสญั ญาว่า
ด้วยการค้าระหว่างประเทศซึง่ ชนิดสัตว์ป่าและพืชป่ าทีใ่ กล้สญ
ู พันธุ ์ ครัง้ ที่ ๑/
๒๕ ณ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม โดยมีปลัดกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติฯ เป็ นประธาน เพื่อพิจารณาร่างแผนปฏิบตั กิ ารงาช้าง
แห่งชาติ ฉบับแก้ไข โดยทีป่ ระชุมมีมติให้นาเอาข้อมูลทีผ่ เู ้ ข้าร่วมประชุมให้
ความเห็นไปปรับปรุงแผน แล้วนาเข้าเสนอในทีป่ ระชุมในวันที่ ๒ กันยายน
๒๕๕๗ อีกครัง้ หนึ่งก่อนทีจ่ ะเสนอเรือ่ งเข้าคณะรัฐมนตรี หรือคสช.ต่อไป
• คาสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการCITESของประเทศไทย.pdf
50
การปรับปรุงแผนปฏิบตั กิ ารงาช้างของประเทศไทย
• ร่างแผนปฏิบตั กิ ารงาช้างของประเทศไทย (เม.ย. 2556- ธ.ค. 2560) ฉบับ
แก้ไข วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ NIAP rev1.xls
• Thailand' National Ivory Action Plan ๓๑ สค.
๕๗.pdf
• แผนประชาสัมพันธ์งานช้างปี 57-60.xls ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๗
51
จบการนาเสนอ
52