นายพงษ์ศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ

Download Report

Transcript นายพงษ์ศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ

อาเซียนกับประเทศค่ ูเจรจา
และองค์ การระหว่ างประเทศ
โครงสร้ างความร่ วมมือในอาเซียน
การเมือง/
ความมั่นคง
เศรษฐกิจ
สังคม/วัฒนธรรม
ความสัมพันธ์
กับภายนอก
ความสัมพันธ์ กับประเทศคู่เจรจา/คู่เจรจาเฉพาะด้ าน
U.S.A.
New
Zealand
Australia
ASEAN
Canada
E.U.
India
Japan
Pakistan
คู่เจรจาเฉพาะด้ าน
ประเทศอาเซียนผู้ประสานงานความสัมพันธ์ กับประเทศคู่เจรจา
(ตัง้ แต่ ก.ค.55 – ก.ค. 58)
Brunei
Cambodia
Indonesia
India
Japan
Republic of Korea
Lao PDR
Malaysia
Myanmar
New Zealand
Russia
Philippines
Singapore
Thailand
Viet Nam
ASEAN Chair
ASEAN Secretariat
U.S.A.
Australia
Canada
China
EU
ASEAN + 3 , EAS
Pakistan
กลไกในการดาเนินความสัมพันธ์ และความร่ วมมือระหว่ างอาเซียน
กับประเทศคู่เจรจา
การประชุมสุดยอด (Summit) จีน ญี่ปนุ่ เกาหลี อินเดีย (ทุกปี )
สหรัฐฯ และรัสเซีย (ไม่เป็ นประจา)
- การประชุมระดับรั ฐมนตรี (Post Ministerial Conference – PMC+1)
สหรั ฐฯ แคนาดา จี น ญี่ ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดี ย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ รั สเซีย และ
สหภาพยุโรป
- การประชุมระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโส (Senior Officials’ Meeting – SOM)
เป็ นการหารื อด้ านการเมือง ความมัน่ คงเป็ นหลัก โดยมีการประชุมระดับ นี ก้ บั สหรัฐฯ
แคนาดา จีน ญี่ปนุ่ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ รัสเซีย และสหภาพยุโรป
- การประชุมระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโสด้ านเศรษฐกิจ (Senior Economic Officials'
Meeting – SEOM) เป็ นการหารื อความร่ วมมือด้ านเศรษฐกิจการค้ าระหว่างอาเซียน
กับคูเ่ จรจารายประเทศ (+1)

กลไกในการดาเนินความสัมพันธ์ และความร่ วมมือระหว่ าง
อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา (ต่ อ)
การประชุมคณะกรรมาธิการร่ วมว่ าด้ วยความร่ วมมือ (Joint
Cooperation Committee) เป็ นการหารื อเรื่ องโครงการร่ วมมือในด้ านต่างๆ
 การประชุมระดับเจ้ าหน้ าที่
 นอกจากนี ้ ประเทศคู่เ จรจาหลายประเทศยัง ได้ แ ต่ง ตัง้ เอกอัค รราชทูต
ประจาอาเซียนและเปิ ดทาการคณะทูตถาวรประจาอาเซียนด้ วย

กลไกในการดาเนินความสัมพันธ์ และความร่ วมมือระหว่ าง
อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา (ต่ อ)
Treaty of Amity and Cooperation (TAC)
1.การเคารพในอธิปไตยและบูรณาภาพแห่งดินแดนซึง่ กันและกัน
2. การไม่แทรกแซงในกิจการภายในซึง่ กันและกัน
3. การเคารพสิทธิการดารงอยูข่ องทุกประเทศ โดยปราศจากการ
แทรกแซงจากภายนอก
4. การแก้ ไขข้ อขัดแย้ งโดยสันติวิธี (มี High Council เป็ นองค์กรระงับ
ข้ อพิพาท)
5. การไม่ใช้ หรื อขูว่ า่ จะใช้ กาลังในการแก้ ไขปั ญหาข้ อขัดแย้ ง
6. ความร่วมมือกันอย่างแข็งขัน
กลไกในการดาเนินความสัมพันธ์ และความร่ วมมือ
ระหว่ างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา (ต่ อ)
ประเทศที่จะเข้ าร่ วมการประชุมเอเชียตะวันออก
1. เป็ นประเทศคูเ่ จรจาเต็มรูปแบบของอาเซียน
2. มีความสัมพันธ์และความร่วมมืออย่างแน่นแฟ้น
กับอาเซียน
3. ภาคยานุวตั ิสนธิสญ
ั ญาไมตรี และความร่วมมือ
ความสัมพันธ์ อาเซียน – ออสเตรเลีย






อาเซียนและออสเตรเลียสถาปนาความสัมพันธ์กนั เมื่อปี 2517 (ค.ศ. 1974)
แถลงการณ์ รั ฐ มนตรี ว่ า ด้ วยความเป็ นหุ้ นส่ ว นอย่ า งรอบด้ านระหว่ า งอาเซี ย น ออสเตรเลีย (ปี ค.ศ.2007)เป็ นเอกสารกาหนดแนวทางดาเนินความสัมพันธ์ ทัง้ ทาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความร่วมมือเพื่อการพัฒนา
แผนปฏิ บัติก ารอาเซี ย น-ออสเตรเลี ย ระยะที่ 2 (ค.ศ. 2008-2013) เป็ นมาตรการ
ดาเนินงานให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ของความเป็ นหุ้นส่วน
ออสเตรเลียลงนามในสนธิ สัญญาไมตรี และความร่ วมมือ (TAC) เข้ าร่ วมการประชุม
สุดยอดเอเชียตะวันออก (EAS) และการประชุม ASEAN Regional Forum (ARF)
สาขาความร่วมมือที่เป็ นรูปธรรมได้ แก่ การค้ า เศรษฐกิจ การศึกษา การจัดการภัยพิบตั ิ
การต่อต้ านการก่อการร้ าย และอาชญากรรมข้ ามชาติ
อาเซี ย นลงนามในความตกลงว่ า ด้ วยการค้ า เสรี กั บ ออสเตรเลี ย และนิ ว ซี แ ลนด์
ในปี ค.ศ. 2009
ความสัมพันธ์ อาเซียน - แคนาดา
อาเซียนและแคนาดาสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างกันปี 2520 (1977)
 แคนาดาและอาเซี ย นมี แ ถลงการณ์ ร ะดับ รั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยความเป็ น
หุ้ นส่ ว นอย่ า งรอบด้ าน (ค.ศ.2009) ก าหนดแนวทางด าเนิ น
ความสัมพันธ์ ระหว่างกัน โดยมีแผนปฏิบตั ิการอาเซียน – แคนาดา
(ค.ศ.2010-2015) เป็ นมาตรการดาเนินงานให้ บรรลุความเป็ นหุ้นส่วนฯ
 แคนาดาลงนามในสนธิ สญ
ั ญาไมตรี และความร่ วมมือ (ปี ค.ศ. 2010)
และเข้ าร่วมการประชุม ARF
 ความร่ ว มมื อ ที่ เ ป็ นรู ป ธรรมได้ แ ก่ การจัด การภัย พิ บ ัติ สาธารณสุข
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา การต่อต้ านการก่อการร้ าย

ความสั มพันธอาเซี
ยน – จีน
์
อาเซียนและจีนสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างกันในปี 2539 (ค.ศ. 1996)
 ความสัมพันธ์ อาเซียน – จี น มี แถลงการณ์ ร่วมของผู้นาด้ วยความเป็ น
หุ้น ส่ ว นทางยุท ธศาสตร์ เ พื่ อ สัน ติ ภ าพและความไพบู ล ย์ ปี ค.ศ. 2003
กาหนดแนวทางดาเนินความสัมพันธ์ ทงทางการเมื
ั้
อง เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรมและความร่วมมือเพื่อการพัฒนา
 แผนปฏิบต
ั ิการอาเซียน – จีน เป็ นมาตรการดาเนินงานเพื่อบรรลุความเป็ น
หุ้นส่วน (ปี ค.ศ. 2005 - 2010)
 ตังแต่
้ เดือน ก.ค. 2555 – ก.ค. 2558 ประเทศไทยจะทาหน้ าที่เป็ น
ผู้ประสานงานความสัมพันธ์อาเซียน-จีน

ความสัมพันธ์ อาเซียน – จีน (ต่ อ)
จีนมีการหารื อด้ านการเมืองและความมัน่ คงอย่างใกล้ ชิดกับอาเซียน
สนับสนุนการสร้ างประชาชมอาเซียน และบทบาทการเป็ นแกนนาของ
อาเซี ย นในความร่ ว มมื อ เอเชี ย ตะวั น ออก รวมทั ง้ ในโครงสร้ าง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออกด้ วย
 จี นเป็ นประเทศที่ มีอาวุธนิว เคลียร์ และสนับสนุนการสร้ างเขตปลอด
อาวุธนิวเคลียร์ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็ นประเทศคู่ เจรจาแรก
ที่ภาคยานุวตั ิสนธิสญ
ั ญา TAC
 อาเซี ย นและจี น ลงนามในแถลงการณ์ ว่ า ด้ ว ยการปฎิ บ ัติ ข องภาคี ใ น
ทะเลจีนใต้ (Declaration on the C0nduct of Parties in the South
China Sea) ปี ค.ศ. 2002

ความสัมพันธ์ อาเซียน – จีน (ต่ อ)
อาเซียนและจี นลงนามในกรอบความตกลงว่าด้ วยความร่ วมมือทาง
เศรษฐกิจอย่างรอบด้ านในปี ค.ศ. 2002 โดยความตกลงว่าด้ วยการค้ า
สินค้ ามีผลบังคับใช้ ในปี ค.ศ. 2010
 จีนสนับสนุนความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
 อาเซีย นและจี น ได้ จัดตังศู
้ นย์ อาเซียน - จีน ที่ กรุ งปั กกิ่ ง เพื่อเผยแพร่
ข้ อ มูล การค้ า การลงทุน ท่ อ งเที่ ย ว และส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ด้ าน
วัฒนธรรมระหว่างกัน
 ความร่ ว มมืออาเซียน –
จีนที่เป็ นรู ปธรรมได้ แก่ เศรษฐกิจการค้ า
การเกษตร เทคโนโลยี ส ารสนเทศ การพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์
วัฒนธรรม สาธารณสุข การท่องเที่ยว และการติดต่อระหว่างประชาชน

ความสัมพันธ์ อาเซียน - สหภาพยุโรป
สหภาพยุ โ รปเป็ นกลุ่ ม ประเทศคู่ เ จรจากลุ่ ม แรกของอาเซี ย น โดยมี
ความสัมพันธ์ระหว่างกันตังแต่
้ ปี 2515 (ค.ศ. 1972)
 อาเซีย นมองสหภาพยุโรปเป็ นแบบอย่า งของการรวมตัว ในระดับ ภูมิภาค
แต่ไ ม่ไ ด้ มี จุด มุ่ง หมายที่ จ ะเป็ นองค์ ก รระดับ ภูมิ ภ าคที่ มี อ านาจเหนื อ รั ฐ
สมาชิ ก แบบสหภาพยุโ รป และไม่ มี วัต ถุป ระสงค์ ที่ จ ะก าหนดสกุ ล เงิ น
เดียวกัน
 แถลงการณ์ระดับรัฐมนตรี วา่ ด้ วยความเป็ นหุ้นส่วนอย่างรอบด้ านอาเซียน –
สหภาพยุโรป (ASEAN – EU Comprehensive Partnership) ค.ศ. 2007
เป็ นเอกสารกาหนดแนวทางดาเนินความสัมพันธ์ทงทางการเมื
ั้
อง เศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรม และความร่วมมือเพื่อการพัฒนา

ความสัมพันธ์ อาเซียน – สหภาพยุโรป (ต่ อ)





แผนปฎิบตั ิการอาเซียน – สหภาพยุโรป ระยะ 2 (ค.ศ.2013-2017) เป็ นมาตรการ
ดาเนินงานให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ของความเป็ นหุ้นส่วนฯ
สหภาพยุโรปเข้ าร่วมการประชุม ARF และต้ องการเข้ าร่วม EAS
สหภาพยุโ รปก าลัง จะภาคยานุวัติ ส นธิ สัญ ญาไมตรี แ ละความร่ ว มมื อ (TAC)
กับอาเซียนในการประชุมระดับรัฐมนตรี ของอาเซียนในเดือน ก.ค. 2555
อาเซี ย นและสหภาพยุโ รปก าลัง จะเริ่ ม เจรจาความตกลงการค้ า เสรี ใ นระดับ
ภูมิภาคกับภูมิภาคต่อ (การเจรจาหยุดชะงักไปในปี ค.ศ. 2009)
สาขาความร่ วมมือที่เป็ นรู ปธรรมได้ แก่ การรวมตัวกันในระดับภูมิภาค เศรษฐกิจ
การค้ า การศึกษา การจัดการภัยพิบตั ิ สิง่ แวดล้ อม และการต่อต้ านการก่อการร้ าย
ASEAN – India



อาเซียนและอินเดียสถาปนาความสัมพันธ์ กันในปี 2535 โดยเป็ นคู่เจรจาเฉพาะด้ าน
และยกระดั บ เป็ นคู่ เ จรจาเต็ ม รู ป แบบในปี 2538 ในปี 2555 จะครบรอบ 20 ปี
ความสัมพันธ์ โดยจะมีการประชุมสุดยอดอาเซียน – อินเดีย สมัยพิเศษ ที่กรุ งนิวเดลี
ในเดือนธันวาคม 2555
เอกสาร ASEAN – India Partnership for Peace , Progress and Shared Prosperity
ค.ศ. 2004 กาหนดแนวทางดาเนินความสัมพันธ์ และความร่ วมมือในด้ านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนความร่ วมมือเพื่อการพัฒนา โดยมีแผนปฎิ บตั ิ
การอาเซียน – อินเดีย ระยะ 2 (ค.ศ.2010-2015) และมาตรการต่างๆ และกองทุน
ASEAN – India สนับสนุนการค้ าเป็ นมาตรการความร่วมมือต่างๆ
ในปี 2553 ได้ มีการจัดตังคณะผู
้
้ ทรงคุณวุฒิอาเซียน – อินเดีย เพื่อจัดตังวิ
้ สัยทัศน์
ความสัม พัน ธ์ โดยประเมิ น ความสัม พัน ธ์ ที่ ผ่ า นมาและเสนอแนวทางใหม่ ส าหรั บ
ความร่วมมือ
ASEAN – India (ต่ อ)
อินเดียเข้ าร่ วมการประชุม ASEAN Regional Forum ตังแต่
้ ปี 2539 และ
ภาคยานุวตั ิสนธิสญ
ั ญาไมตรี และความร่วมมือของอาเซียน ในปี 2546
 อินเดียมีโครงการความร่ วมมือกับอาเซียนในหลายๆ ด้ าน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี การศึ ก ษา การสอนภาษาอัง กฤษ การแลกเปลี่ ย นเยาวชน
นักศึกษา แพทย์และเภสัชกรรม การจัดการภัยพิบตั ิ
 อินเดียให้ ความสาคัญกับความเชื่อมโยงกับอาเซียน สนับสนุนการสร้ างทางหลวง
เชื่อมต่ออินเดีย – พม่า – ไทย อินเดียได้ เสนอจัด ASEAN – India Car Rally
เป็ นคาราวานรถยนต์ จากอินเดีย (แคว้ นอัสสัม) เข้ าพม่า –ไทย – ลาว –เวียดนาม
–กัมพูชา – ไทย –มาเลย์ – สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ในปี 2547 และในโอกาส
ครบรอบ 20 ปี ความสัมพันธ์อาเซียน – อินเดีย ปี 2555 จะจัดอีกครัง้ โดยย้ อนขึ ้น
จากอินโดนีเซีย ไปสิ ้นสุดที่แคว้ นอัสสัมของอินเดีย

ASEAN– India (ต่ อ)
อาเซียนและอินเดียลงนามในกรอบความตกลงว่าด้ วยความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจอย่างรอบด้ านในปี ค.ศ. 2003 และความตกลงว่าด้ วยสินค้ า
อาเซียน – อินเดียว่าด้ วยสินค้ า มีผลบังคับปี ค.ศ. 2009 ทังสองฝ่
้
าย
ก าลัง เจรจาเพื่ อ สรุ ป ความตกลงว่า ด้ ว ยบริ ก ารและการลงทุน ให้ ได้
ภายในปี 2555
 ไทยมีบทบาทสาคัญในการผลักดันความร่ วมมืออาเซียน – อินเดีย
ด้ านความมัน่ คงทางทะเล ผลักดันให้ อินเดียเชื่อมต่อเส้ นทางกับพม่า
และมาต่อกับไทย และขยายเส้ นทางไปลาว กัมพูชา พยายามชักนาให้
อินเดียเข้ าร่ วมขับเคลื่อนแผนแม่บทว่าด้ วยความเชื่อมโยงของอาเซียน
ให้ อินเดียเข้ ามามีบทบาทในด้ าน IT และเรื่ องการอานวยความสะดวก
เรื่ องการผ่านแดน

ความสัมพันธ์ อาเซียน - ญี่ปุ่น




อาเซียนและญี่ปนมี
ุ่ ความสัมพันธ์กนั อย่างเป็ นทางการตังแต่
้ ปี ค.ศ.1977
แถลงการณ์ โตเกี ยวสาหรั บพลวัตรและความเป็ นหุ้นส่วนที่ ยั่งยื นระหว่าง
อาเซี ย นกับ ญี่ ปุ่ นในสหัส วรรษใหม่ (ปี ค.ศ.2003) เป็ นเอกสารก าหนด
แนวทางการดาเนินความสัมพันธ์ โดยมีแผนปฏิบตั ิการอาเซียน – ญี่ ปนุ่
ระยะ 2 (ค.ศ.2011-2015) เป็ นมาตรการดาเนินการ
ญี่ ปุ่นเข้ าร่ วมในกลไกความร่ วมมื ออาเซียนมากมาย ได้ แก่ ARF EAS
ASEAN + 3 ADMM Plus ญี่ปนภาคยานุ
ุ่
วตั ิ TAC ในปี ค.ศ.2004
อาเซียนและญี่ ปุ่นได้ ลงนามในความตกลงว่าด้ วยความเป็ นหุ้นส่ วนทาง
เศรษฐกิจอย่างรอบด้ าน ในปี ค.ศ. 2008
ความสัมพันธ์ อาเซียน – ญี่ปุ่น (ต่ อ)
 ศูนย์อาเซียน –
ญี่ปนได้
ุ่ รับการตังในปี
้
ค.ศ.1981 เพื่อส่งเสริ ม
การค้ า การลงทุน และการท่องเที่ยวระหว่างกัน
 ความร่ วมมือที่เป็ นรู ปธรรมได้ แก่ การจัดการภัยพิบัติ การติดต่อ
ระดับประชาชน ปั ญหาข้ ามแดน สิ่งแวดล้ อม รวมทังสนั
้ บสนุน
การลดช่องว่างการพัฒนาของอาเซียนด้ วย
ความสัมพันธ์ อาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี





สาธารณรัฐเกาหลีเป็ นประเทศคูเ่ จรจากับอาเซียนตังแต่
้ ปี 2534
อาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลีมีแถลงการณ์ ร่วมว่าด้ วยความเป็ นหุ้นส่ วนอย่าง
รอบด้ าน (ค.ศ. 2004) กาหนดแนวทางดาเนินความสัมพันธ์ ระหว่างกับทั ง้ ทาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความร่วมมือเพื่อการพัฒนา
ในปี 2553 ทัง้ 2 ฝ่ ายได้ ยกระดับความสัมพันธ์เป็ นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์
แผนปฎิบัติการอาเซียน – สาธารณรั ฐเกาหลี ระยะ 2 (ค.ศ. 2011-2015)
เป็ นมาตรการดาเนินงานให้ บรรลุความเป็ นหุ้นส่วน
สาธารณรั ฐ เกาหลี ภ าคยานุวัติ ส นธิ สัญ ญาไมตรี แ ละความร่ ว มมื อ (2547)
สนับสนุนการจัดตังเขตปลอดอาวุ
้
ธนิวเคลียร์ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลงนามใน
แถลงการณ์ร่วมอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี ว่าด้ วยความร่วมมือในการต่ อต้ าน
การก่อการร้ าย ปี 2548
ความสัมพันธ์ อาเซียน – สาธารณรั ฐเกาหลี (ต่ อ)
สาธารณรัฐเกาหลีเข้ าร่วมที่ประชุม ASEAN + 3 , ARF และ EAS และ
การประชุมรัฐมนตรี กลาโหม ASEAN
 อาเซี ย นและสาธารณรั ฐ เกาหลี ล งนามในกรอบข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ยความ
ร่วมมือทางเศรษฐกิจอย่างรอบด้ านในปี ค.ศ.2005 โดยความตกลงว่าด้ วย
การค้ าเสรี สินค้ าและบริ การ มีผลบังคับใช้ ในปี ค.ศ.2007 และความตกลง
ว่าด้ วย การลงทุน มีผลบังคับใช้ ในปี ค.ศ.2009
 สาธารณรัฐเกาหลีสนับสนุนแผนแม่บทว่าด้ วยความเชื่อมโยง

ความสัมพันธ์ อาเซียน – สาธารณรั ฐเกาหลี (ต่ อ)
อาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลีได้ ตกลงจัดตังศู
้ นย์อาเซียน – เกาหลี ที่กรุ งโซล
และเปิ ดอย่างเป็ นทางการปี 2552 ทาหน้ าที่เป็ นศูนย์ข้อมูลทังการค้
้
า การลงทุน
และการท่องเที่ยว รวมทังส่
้ งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรม
 ความร่ ว มมื อ ที่ เ ป็ นรู ป ธรรมได้ แ ก่ การติ ด ต่ อ ระหว่ า งประชาชน การศึ ก ษ า
Climate change (low-carbon green growth) การปลูกป่ า เทคโนโลยี
สารสนเทศ การท่องเที่ยว การศึกษา และการติดต่อระดับประชาชน
 สาธารณรัฐเกาหลีมีส่วนร่ วมในการดาเนินโครงการ IAI เพื่อลดช่องว่างระหว่าง
สมาชิกอาเซียน
 สาธารณรัฐเกาหลีสนับสนุนการเชื่อมโยงของอาเซียน

ความสัมพันธ์ อาเซียน-นิวซีแลนด์
อาเซียนและนิวซีแลนด์สถาปนาความสัมพันธ์ ระหว่างกันในปี 2518
(ค.ศ. 1975)
 อาเซียนและนิวซีแลนด์ มีแถลงการณ์ ร่วมระดับรั ฐมนตรี ว่าด้ วยความ
เป็ นหุ้นส่วนอย่างรอบด้ าน ปี ค.ศ.2010
 นิ ว ซี แ ลนด์ ล งนามในสนธิ ส ัญ ญาไมตรี แ ละความร่ ว มมื อ กับ อาเซี ย น
ในปี ค.ศ.2005
 นิวซีแลนด์เข้ าร่ วมการประชุม ARF , EAS และ ADMM
 นิ ว ซี แ ลนด์ ร่ ว มกั บ ออสเตรเลี ย จั ด ตั ง้ เขตการค้ าเสรี กั บ อาเซี ยน
ในปี ค.ศ.2009
 สาขาความร่ วมมือที่เป็ นรู ปธรรมได้ แก่ การศึกษา การเกษตร

ความสัมพันธ์ อาเซียน – รั สเซีย
รั ส เซี ย เป็ นประเทศคู่เ จรจาอย่า งเป็ นทางการของอาเซี ย นตัง้ แต่ 2539 และมี
แถลงการณ์ ร่ ว มระดับ ผู้น าว่ า ด้ ว ยการส่ง เสริ ม และกระชับ ความเป็ นหุ้ นส่ว น
ระหว่างอาเซียนกับรัสเซีย ปี 2548 เป็ นเอกสารสาคัญในการดาเนินความสัมพันธ์
และความร่วมมือ
 แม้ ว่ า ความสัม พัน ธ์ แ ละความร่ ว มมื อ ระหว่ า งอาเซี ย นกับ รั ส เซี ย จะไม่ มี ค วาม
ใกล้ ชิดมาก และความร่ วมมือยังไม่มีผลเป็ นรู ปธรรมมากนัก แต่สถานภาพของ
รัสเซียในเวทีระหว่างประเทศทาให้ อาเซียนยอมรับให้ รัสเซียเข้ ามามีบ ทบาทใน
ภูมิภาค
 รัสเซียเข้ าร่ วมประชุม ARF ADMM มีการประชุมสุดยอดอาเซียน – รัสเซีย (แต่ไม่
ทุกปี ) รัสเซียเข้ าร่วมการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (ตังแต่
้ ปี 2554)
 รัสเซียภาคยานุวตั ิ TAC ในปี ค.ศ.2004

ความสัมพันธ์ อาเซียน – รัสเซีย (ต่ อ)

ความร่วมมืออาเซียน – รัสเซีย ที่มีศกั ยภาพได้ แก่ ความร่วมมือทางด้ าน
พลัง งาน การท่ อ งเที่ ย ว การจั ด การภัย พิ บัติ วิ ท ยาศาสตร์ แ ล ะ
เทคโนโลยี โดยมี ASEAN Centre ที่กรุงมอสโก (ค.ศ.2010) ทาหน้ าที่
ส่งเสริมความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้ กบั ชาวรัสเซีย
ความสั มพันธอาเซี
ยน – สหรัฐอเมริกา
์






อาเซียนและสหรัฐฯ สถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างกันในปี 2520 (ค.ศ. 1977)
แถลงการณ์วิสยั ทัศน์ร่วมกันว่าด้ วยความเป็ นหุ้นส่วนเพิ่มพูนระหว่า งอาเซียนกับสหรัฐฯ
ปี ค.ศ.2005 เป็ นเอกสารกาหนดแนวทางความสัมพันธ์ ระหว่างกันทัง้ ทางการเมื อง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมและความร่วมมือเพื่อการพัฒนา
ASEAN – US Eminent Persons Group จนเสนอให้ ทงสองฝ่
ั้
ายได้ ยกระดับ
ความสัมพันธ์ เป็ นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน – สหรัฐฯ
ปี 2555
แผนปฎิ บัติ ก ารอาเซี ย น – สหรั ฐ ฯ ระยะที่ 2 เป็ นมาตรการด าเนิ น งานให้ บรรลุ
วัตถุประสงค์ความเป็ นหุ้นส่วนฯ
สหรัฐฯลงนามในสนธิสญ
ั ญาไมตรี และความร่วมมือ (ปี ค.ศ.2009 ) และเข้ าร่วมประชุม
ARF และ EAS (2011)
สาขาความร่ วมมือที่เป็ นรู ปธรรม ได้ แก่ การต่อต้ านการก่อการร้ ายและอาชญากรรม
ข้ ามชาติ การจัดการภัยพิบตั ิ การศึกษาและเยาวชน
ASEAN + 3



ASEAN + 3 เริ่ มปี 2540 ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉีย งใต้
โดยผู้นาได้ พบหารื อกันที่กวั ลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อธันวาคม 2540
มีการจัดตัง้ East Asia Vision Group ในปี 2542 เพื่อจัดทาเอกสาร
วิ สัย ทัศ น์ ค วามร่ ว มมื อ ในเอเชี ย ตะวัน ออก โดยได้ เ สนอให้ มี ก ารจั ด ตัง้
ประชาคมเอเชียตะวันออก (East Asia community) ซึ่งมีมาตรการความ
ร่ วมมือในด้ านต่างๆ ปั จจุบนั มีแผนงานความร่ วมมือ ASEAN + 3 (25502560) ครอบคลุมสาขาความร่ วมมือมากกว่า 20 สาขา อาทิ ความร่ วมมือ
ด้ านการเงิน ความมัน่ คงด้ านพลังงาน การจัดการภัยพิบตั ิ การอานวยความ
สะดวกทางด้ า นการค้ า สิ่งแวดล้ อ ม การพัฒ นาอย่างยั่งยื น การต่อ ต้ า น
อาชญากรรมข้ ามชาติ
การประชุม ASEAN + 3 ในปี ค.ศ. 1999 เป็ นจุดเริ่ มต้ นของการประชุม
สุดยอดไตรภาคีจีน – ญี่ปนุ่ –สาธารณรัฐเกาหลี
ASEAN + 3 (ต่ อ)




ความร่ วมมือ ทางการเงิ นเป็ นสาขาความร่ วมมือ ที่คืบหน้ าที่สุด โดยไทยเสนอให้ มีก ารจัดตัง้
มาตรการริ เริ่ มเชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative – CMI) ในปี 2543 เพื่อช่วยรักษาเสถียรภาพ
ทางการเงินในภูมิภาค ต่อมาได้ พฒ
ั นาเป็ น CMI Multilaterlization – CMIM และจัดตังเป็
้ น
กองทุนสารองพหุภาคี ในวงเงิน 1.2 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐ และได้ เพิ่มวงเงินเป็ น 2.4 พันล้ าน
ดอลลาร์ ในการประชุมรัฐมนตรี คลังอาเซียน + 3 เมื่อเดือนพฤาภาคม 2555 โดยร้ อยละ 80 ของ
เงินกองทุนมาจากประเทศ + 3
ในปี 2554 มีการจัดตังส
้ านักงานวิจัยเศรษฐกิจมหภาค ASEAN + 3 (ASEAN + 3
Macroeconomic Research Office – AMRO) เพื่อวิเคราะห์และติดตามสภาวะทางเศรษฐกิจใน
ภูมิภาคและสนับสนุน CMIM
มีกองทุนความร่วมมือ ASEAN +3 สนับสนุนการดาเนินการตามความร่วมมือและกิจกรรมต่างๆ
โดยที่ประชุมสุดยอด ASEAN +3 ครัง้ ที่ 14 ปี 2554 ให้ ความสาคัญด้ านการเชื่อมโยงในภูมิภาค
กับการจัดการภัยพิบตั ิ การบริ หารจัดการน ้า การเปิ ดเสรี การค้ า ความร่วมมือด้ านอาหารและ
การศึกษา
บทบาทของไทยมีสว่ นร่วมในการจัดตังมาตรการริ
้
เริ่ มเชียงใหม่ การจัดประชุมรัฐมนตรี
สาธารณสุข +3 สมัยพิเศษ เรื่ องไข้ หวัดนก และการจัดตังองค์
้ การสารองข้ าวฉุกเฉินอาเซียน + 3
ความสัมพันธ์ กับองค์ การระหว่ างประเทศ
RIO
GROUP
SAARC
U.N.
GCC
ASEAN
MERCOSUR
ECO
Rotation of ASEAN Coordinatorship for Regional Grouping
Year
ECO
GCC
MERCOSUR
RIO Group
SAARC
2011
Cambodia
Indonesia
Philippines
Malaysia
Myanmar
2012
Indonesia
Lao PDR
Singapore
Myanmar
Philippines
2013
Lao PDR
Malaysia
Thailand
Philippines
Singapore
ECO – Economic Cooperation Organization
GCC – Gulf Cooperation Council
MERCOSUR – Common Market of the South
SAARC – South Asian Association for Region Cooperation
ASEAN Secretariat will be the Coordinator with the UN.