ภารกิจที่ต้องทำต่อในกรอบ somswd

Download Report

Transcript ภารกิจที่ต้องทำต่อในกรอบ somswd

ภารกิจ พม. ภายใต้กรอบความ
ร่วมมืออาเซียน
1
เหตุผลที่ตอ้ งให้ความสาคัญต่อประชาคมอาเซียน




เหลืออีกเพียงสี่ปีที่ไทยจะก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ได้กาหนด
ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาเซียนภายใต้ยุทธศาสตร์ที่
5 ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและความมัน่ คง
ในภูมิภาค
พม. มีภารกิจสาคัญในการขับเคลื่อนประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียน
กพ. จะนาเรื่องอาเซียนเป็ นหนึ่ งในตัวชี้ วัด KPI
2
องค์กรอาเซียนภายใต้ ASEAN Charter









ASEAN Summit
ASEAN Coordinating Council
ASEAN Community Councils
ASEAN Sectoral Ministerial Bodies
ASEAN Secretariat (ASEC)
Committee of Permanent Representatives to ASEAN
(CPR)
ASEAN National Secretariats
ASEAN Human Rights Body: AICHR/ACWC
ASEAN Foundation
3
Asean Summit
APSC Council
AEC Council
ASCC Council
(SOM)
(SEOM)
(SOCA)
-กต.มท.กห.
สนง.ตร. สมช.
ปปช. ปปง. สน.
ข่าวกรอง สน.นร
ม.สนง.อัยการ
สูงสุดปปส. สธ.
พม. ยธ. ITC
-พณ. BOI ก.พลังงาน ก.
ท่องเที่ยว สนง.คุม้ ครอง
ผูบ้ ริโภค ธปท. ก.คมนาคม
ก.คลัง สคช. ก.อุตฯ ก.
เกษตร ก.วิทย์ฯ
NASDA, ICT ยธ.
-กต. กพ. ศธ. ก.
วัฒนธรรม พม.
มท. ก.ทรัพย์ฯ
ก.อุตฯ กเกษตรฯ
ปปส. สธ. ICT
ยธ. ก.แรงงาน
เครือข่ายม.
อาเซียน มูลนิ ธิ
อาเซียน ก.วิทย์ฯ
4
แผนการจัดตัง้ ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN SocioCultural Community Blueprint-ASCC
Blueprint)
http://www.dpiap.org/resources/pdf/ASEAN_Blueprint_Thai_09_09_16.pdf
5
แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint




มุง่ ให้เป็ นประชาคมที่มีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง
ยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนอาเซียน ด้วยการพัฒนาแบบ
ยัง่ ยืนเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมมิตรภาพและความเข้าใจอันดี
ต่อกัน และมีความรูส้ ึกร่วมรับผิดชอบ
ส่งเสริมการพัฒนาคนและสังคม เคารพต่อสิทธิเสรีภาพ ความเสมอ
ภาคทางเพศ ส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุ ษยชน และความยุตธิ รรม
ลดช่องว่างของระดับการพัฒนาโดยเฉพาะมิติทางสังคม
6
ASCC-Blueprint (ต่อ)
ASCC
ประกอบด้วย การพัฒนาคน การให้สวัสดิการ
สังคมและการคุม้ ครอง การเป็ นสังคมที่มีความ
ยุติธรรมและเคารพสิทธิ ดูแลสิ่งแวดล้อมอย่าง
ยัง่ ยืน การสร้างอัตลักษณ์ของอาเซียน และลด
ช่องว่างของการพัฒนา
 หัวใจสาคัญของการมุ่งสู่การเป็ น
7
ความร่วมมือด้านพัฒนาสังคมในอาเซียน
ภายใต้ความรับผิดชอบของ พม.



กรอบความร่วมมือด้านเยาวชน (SOMY:Senior Officials
Meetings on Youth/AMMY: ASEAN
Ministerial Meetings on Youth)
กรอบความร่วมมือด้านสตรี (ACW: ASEAN Committee
on Women)
กรอบความร่วมมือด้านสวัสดิการสังคมและการพัฒนา
(SOMSWD: Senior Officials Meetings on Social
Welfare and Development/AMMSWD:
ASEAN Ministerial Meetings on Social Welfare
and Development)
8
กรอบความร่วมมืออาเซียนอื่น ๆ

Senior Officials Meeting on Transnational Crimes
(SOMTC) สานักงานตารวจแห่งชาติ เป็ น Focal Point พม. โดย ศป.
คม. เป็ นหน่วยประสานงานหลักในฐานอาชญากรรมเรื่องการค้ามนุษย์

Senior Officials Meeting on Rural Development and
Poverty Eradication (SOMRDPE) กระทรวงมหาดไทยเป็ น
Focal Point พม. โดย พอช. เสนอทาโครงการบ้านมั ่นคง
สมาคมวางแผนและการเคหะแห่งอาเซียน กคช. เป็ น Focal Point ของ
ไทย
รัฐสภาอาเซียน


9
บทบาทของ พม. ในอาเซียน
พม. พยายามผลักดันให้มีการจัดทาความร่วมมือ
ข้อตกลง โครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อมุง่ นาประเทศ
ไทยและอาเซียน เข้าสู่การเป็ นประชาคมที่มีประชาชน
เป็ นศูนย์กลาง โดยการผลักดันให้ภาคประชาสังคมเข้า
มามีส่วนร่วมในกระบวนการ รวมทั้งสนับสนุ นให้เด็ก
เยาวชน สตรี และคนพิการ เข้ามามีบทบาทร่วมด้วย
10
ผลงานเด่น ๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน
 พม.
มีบทบาทแข็งขันในการให้ภาคประชาสังคมเข้ามามี
ส่วนร่วมในการดาเนิ นงานภายใต้กรอบความร่วมมือด้าน
สวัสดิการสังคมฯ โดยได้มีส่วนผลักดันให้มีการจัดประชุม
ASEAN GO-NGO Forum ขึ้ นและจัดเป็ น
ครั้งแรกที่ประเทศไทยเมื่อปี 2547 โดยปั จจุบนั ได้มีการ
จัด Forum ดังกล่าวเป็ นประจาทุกปี ในลักษณะ
back-to-back กับ SOMSWD/AMMSWD
11
ผลงานเด่น ๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่อ)


ASEAN Youth Caucus ริเริ่มโดยสิงคโปร์ และไทยสานต่อ
จนสามารถจัด ASEAN+3 Youth Caucus ได้เป็ นครั้งแรก
ที่ประเทศไทยเมื่อปี 2552 เพื่อให้เป็ นเวทีถาวรสาหรับเยาวชนได้มี
บทบาทร่วมในการสร้างประชาคมอาเซียน โดยให้เป็ นการประชุม
คู่ขนานกับการประชุมระดับรัฐมนตรี
ASEAN Children’s Forum (ACF) เป็ นโครงการที่ริเริ่ม
โดยฟิ ลิปปิ นส์ โดยไทยได้จดั ส่งคณะเด็กเข้าร่วมประชุมครั้งที่ 1 ที่
ฟิ ลิปปิ นส์เมื่อปี 2553 รวมทั้งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อร่วมดูแลเว็บไซท์
ACF ที่จะมี webpage เกี่ยวกับข้อมูลสาคัญเกี่ยวกับสถานการณ์
เยาวชนไทย และไทยมีกาหนดเป็ นเจ้าภาพประชุม ACF ครั้งที่ 3
ในปี 2557
12
ผลงานเด่น ๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่อ)

ASEAN Social Work Consortium: ไทย ร่วมกับ
ฟิ ลิปปิ นส์ เป็ นผูร้ ิเริ่มดาเนิ นการก่อตั้งภาคีความร่วมมือระหว่าง
ผูป้ ฏิบตั ิงาน นักการศึกษา และสถาบันการศึกษาด้านสังคม
สงเคราะห์ในอาเซียน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ พัฒนา
บุคลากร กาหนดมาตรฐานการดาเนิ นงานและการศึกษา รวมทั้ง
ส่งเสริมการเรียนการสอนและการประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ใน
อาเซียน โดยมีเป้าหมายสุดท้ายคือเพื่อให้การจัดสวัสดิการสังคม
สาหรับประชากรอาเซียนเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน
13
ผลงานเด่น ๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่อ)

การประกาศทศวรรษอาเซียนด้านคนพิการ (ASEAN Decade
of Persons with Disabilities: 2011-2020) เป็ นข้อ
ริเริ่มของไทย และได้รบั ความเห็นชอบจากประเทศสมาชิกให้บรรจุไว้
ใน Strategic Framework ของ SOMSWD ฉบับปั จจุบนั
โดยไทยมีแผนที่จะให้ผนู้ าอาเซียนเป็ นผูป้ ระกาศทศวรรษดังกล่าว
ในคราวประชุมสุดยอดครั้งที่ 19 เดือนพฤศจิกายน 2554
14
ผลงานเด่น ๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่อ)

ไทยให้ความสาคัญต่อมาตรการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของ
องค์กรภาคธุรกิจ ซึ่งปรากฏอยูใ่ น ASCC Blueprint กอปรกับ
ในอาเซียนเองยังไม่ได้กาหนด Sectoral Body เพื่อรับผิดชอบ
มาตรการดังกล่าว ไทยจึงได้เสนอที่จะเป็ นเจ้าภาพจัดประชุม
Regional Workshop on ASEAN Action Plan on
CSR ซึ่งกาหนดจะจัดประชุมแบบ back-to-back กับการ
ประชุม SOMSWD ที่ไทยจะเป็ นเจ้าภาพจัดในปี 2554 นี้
15
ผลงานเด่น ๆ ที่ พม. ผลักดันในเวทีอาเซียน (ต่อ)


การดาเนิ นงานตามแผนปฏิบตั ิการเพื่อนาปฏิญญาว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อสตรีใน
ภูมิภาคอาเซียนไปสู่การปฏิบตั ิ โดยไทยได้มีบทบาทในการเป็ นเจ้าภาพจัดประชุมเชิง
ปฏิบตั ิการ จานวน 3 ครั้ง ได้แก่ 1) ASEAN Regional Workshop on
Gender Sensitive and Coordinated VAW Service ปี 2549
2) Regional Workshop on Microcredit Programme for ASEAN
Women ปี 2550
3) ASEAN Regional Workshop on Gender Equality Legislation
ปี 2551
ไทยเป็ นเจ้าภาพหลักเรื่อง Gender mainstreaming กาลังดาเนิ นการจัดทาหลักสูตร
Gender mainstreaming
16
การจัดตั้งคณะกรรมาธิการอาเซียนด้านการส่งเสริม
และพิทกั ษ์สิทธิสตรีและสิทธิเด็ก
ASEAN Commission on the
Promotion and Protection of the
Rights of Women and Children:
ACWC
17
การจัดตั้ง ACWC (ต่อ)


การจัดตั้ง ACWC เป็ นข้อกาหนดที่ปรากฏใน Vientiane
Action Plan และ ASCC Blueprint ซึ่งมีวตั ถุประสงค์ให้
เป็ นกลไกในการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุ ษยชนและเสรีภาพขั้น
พื้ นฐานของสิทธิสตรีและสิทธิเด็กในอาเซียน
ไทยมีส่วนสาคัญและมีบทบาทนาในการผลักดันให้เกิด TOR ของ
ACWC จนเป็ นผลสาเร็จภายในเวลา 6 เดือน ในปี 2552 ซึ่งไทย
รับหน้าที่เป็ นประธานในการยกร่าง และถือได้วา่ เป็ น TOR ที่ภาค
ประชาสังคมของไทยและของประเทศสมาชิกได้มีส่วนร่วมในการร่าง
ด้วย
18
การจัดตั้ง ACWC (ต่อ)

ในคราวประชุม ACWC ครั้งที่ 1 เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ที่
ประเทศอินโดนี เซีย ไทยได้รบั เลือกอย่างเป็ นเอกฉันท์ให้เป็ นประธาน
ACWC มีวาระดารงตาแหน่ ง 3 ปี และได้มีการร่าง Rules of
Procedures (ROP) ของ ACWC ฉบับที่ 1 รวมทั้งร่าง
แผนการดาเนิ นงาน 5 ปี โดยไทยให้ความสาคัญต่อสิทธิในการศึกษา
และการพัฒนาของเด็กปฐมวัย และประเด็นเรื่องความรุนแรงใน
ครอบครัว และไทยได้เสนอที่ประชุมว่าจะเป็ นเจ้าภาพจัดประชุมเรื่อง
Violence against Women and Children ในปี
2555
19
ความร่วมมือในกรอบอาเซียนด้านการต่อต้าน
การค้ามนุษย์


ในปี 2004 ประเทศสมาชิกอาเซียนได้เห็นชอบต่อเอกสาร ASEAN
Declaration Against Trafficking in Persons
Particularly Women and Children ซึ่งภายใต้กรอบ
ASEAN SOMTC ได้มีการจัดแผนปฏิบตั ิการและแผนงาน
ประจาปี เพื่อรองรับ ASEAN Declaration ดังกล่าว
ในปี 2006 SOMTC ได้เห็นชอบให้มีการแต่งตั้งคณะทางานด้าน
การค้ามนุษย์ (Working Group on Trafficking in
Persons : WG on TIP) ซึ่งมีหน้าที่ในการพิจารณาให้
ข้อคิดเห็นต่อร่ างแนวทางการทางานด้านการค้ามนุษย์ เสนอต่อ
SOMTC
20
ความร่วมมือในกรอบอาเซียนด้านการต่อต้าน
การค้ามนุษย์




ในการประชุม WG on TIP และ SOMTC ที่ผา่ นมา ที่ประชุมได้
พิจารณาเห็นชอบหลักสูตร จานวน 3 หลักสูตร
ASEAN Training Program on TIP for Specialist Investigators:
Proactive
ASEAN Training Program on TIP for Specialist ATU Commanders
ASEAN Skills Program on TIP for Specialist Prosecutors
โดยแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องรับไปอบรมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ซึ่ง
หลักสูตรส่ วนใหญ่จะเป็ นเรื่ องการบังคับใช้กฎหมาย และความร่วมมือ
ระหว่างประเทศทางอาญา
21
ความร่วมมือในกรอบอาเซียนด้านการต่อต้าน
การค้ามนุษย์

นอกจากนี้ ในการประชุม WG on TIP และ SOMTC ได้
เห็นชอบให้แต่งตั้ง Technical Working Group ขึ้น เพื่อ
ศึกษาความเป็ นไปได้ในการจัดทาอนุสญ
ั ญาอาเซียนว่าด้วยการต่อต้าน
การค้ามนุษย์ ซึ่งคาดว่าจะมีการประชุมของ Technical
Working Group ในเดือนมิถุนายน 2554
22
ภารกิจที่ตอ้ งทาต่อในกรอบ SOMSWD

จัดประชุม 7th SOMSWD, SOMSWD+3, GO-NGO
Forum, Regional Workshop on Action Plan on CSR
ในช่วงเดือนกันยายน 2554 ที่กรุงเทพ (สนย.+สมพ.)


จัดทา Project Proposal โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนา
ข้อตกลงด้านกฎหมายสวัสดิการสังคมพื้ นฐานเพื่อคุม้ ครองสิทธิของ
ประชากรอาเซียน เพื่อเสนอของบประมาณ (สมพ. เขียน สนย. แปล)
จัดทาโครงการและเป็ นเจ้าภาพจัดประชุมภายใต้กิจกรรม ASEAN
Consortium on Social Welfare ในปี 2555-2556 (สมพ.
เตรียมของบสมทบและจัดประชุม)
23
ภารกิจที่ตอ้ งทาต่อในกรอบ SOMSWD
การดาเนิ นงานตามปฏิญญาฮานอยว่าด้วยการเสริ มสร้าง
สวัสดิการและการพัฒนาของสตรี และเด็กอาเซียน (สท./
สมพ.)
 การดาเนิ นงานตามปฏิญญาบรูไนดารุสซาลามว่าด้วยการ
เสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว: การดูแล
ผูส้ งู อายุ (สท./สค.)
 จัดทาข้อเสนอโครงการเรื่อง ความร่วมมืออาเซียนกับการ
เผชิญกับสภาวะวิกฤติ (สมพ.)

24
ภารกิจที่ตอ้ งทาต่อในกรอบ SOMSWD (ต่อ)
กิจกรรมภายใต้ ASEAN Decade of Persons with Disabilities
(พก./สนย.)
 เตรียมการเพื่อให้ผน
ู้ าอาเซียนประกาศทศวรรษคนพิการแห่งอาเซียน
สู่สงั คมบูรณาการในช่วงประชุม Summit ครั้งที่19อย่างเป็ นทางการ
 เตรียมแผนงานการดาเนิ นงานตามทศวรรษฯ เพื่อคนพิการ
 เตรียมจัดประชุม Development of ASEAN+3 Network
for Empowerment of Persons with Disabilities ซึ่งได้
รับทราบจากผูแ้ ทนถาวรประจาอาเซียนว่าได้รบั อนุ มตั ิเงินสนับสนุ น
แล้ว
25
ภารกิจที่ตอ้ งทาต่อในกรอบ SOMSWD




กิจกรรมภายใต้ ASEAN Decade of Persons with
Disabilities (พก.)
เตรียมการเสนอโครงการ/กิจกรรม/หรือแผนงานที่ไทยรับเป็ น
Country Coordinator ได้แก่
Gos and NGOs Dialogue
Workshop on Rights of Persons with Disabilities and
the UN Convention on the Rights of Persons with
Disabilities (CRPD) ไทยร่วมกับลาว
Establishment of an ASEAN Network of
Expert on Entrepreneurship
26
ภารกิจที่ตอ้ งทาต่อในกรอบ SOMSWD
สท. มี 3 โครงการทีต่ ้ องเตรียมของบสมทบและเตรียมจัดประชุ ม

Regional Workshop on the Implementation of
the Convention on the Rights of the Child ได้รับแจ้ง
จากทูตถาวรประจาอาเซี ยนว่าได้รับอนุมตั ิงบประมาณแล้ว


ASEAN Children’s Forum (ACF) ครั้งที่ 3 ในปี
2557
ASEAN Youth Day Meeting and ASEAN
Youth Day Awards (AYDM) และ TAYO
27
ภารกิจที่ตอ้ งทาต่อในกรอบ ACWC
(สนย./ สท./สค.)


ประชุม ACWC ครั้งที่ 3 ต้นเดือนกันยายน 2554 ที่ประเทศ
อินโดนี เซีย
เป็ นเจ้าภาพจัดประชุมสาหรับ ACWC เรื่อง Violence
against Women และ Violence against Children โดย
จัดแบบ back-to-back กับ การประชุมหารือประจาปี ระหว่าง
ผูแ้ ทนไทยใน ACWC และ CSO ไทย (pending)
28
กิจกรรมภายใต้ SOMY/ACW
เข้าร่ วมประชุม AMMY 17-21 ตุลาคม 2554 ที่ประเทศ
เวียดนาม (สท.)
 จัดทาข้อเสนอโครงการเตรี ยมความพร้อมเยาวชนอาเซี ยนเพือ
่
เข้าสู่ประชาคมอาเซียน (สท.)
 เข้าร่ วมประชุม Priliminary AMMW เดือนตุลาคม
2554 ที่ประเทศอินโดนีเซีย (สค.)

29
ภารกิจที่ตอ้ งทาต่อสาหรับ
ASCC/Summit ครั้งต่อไป

เข้าร่ วมประชุมครั้งต่อไปของ SOCA/ASCC และ ASEAN
Summit ครั้งที่ 19 (ผูแ้ ทน สนย. และผูแ้ ทน พก.)
30
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ภายใต้ภารกิจของ พม.






เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสาหรับสตรี เยาวชน ผูส้ งู อายุ
และผูพ้ ิการ
ส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิและสวัสดิการสาหรับสตรี เด็ก ผูส้ งู อายุ
และผูพ้ ิการ
ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ (CSR)
ส่งเสริมการตระหนักรับรูเ้ กี่ยวกับอาเซียนและความรูส้ ึกของการเป็ น
ประชาคม
การให้ชุมชนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง
การต่อต้านการค้ามนุ ษย์ภายใต้กรอบ SOMTC
31
สิ่งที่ พม. กาลังดาเนินการ/จะดาเนินการใน
ระดับประเทศ



โครงการกาหนดสัดส่วนหญิงชายในการเลือกตั้งของประเทศไทย ซึ่งอาจจะ
เสนอให้มีการใช้ระบบโควตา เพื่อเป็ นมาตรการชัว่ คราวในการลดช่องว่างเพื่อ
สร้างความเสมอภาคทางการเมือง และจะนาไปสู่การพัฒนาสังคมที่ยกสถานะ
ความเป็ นอยูข่ องผูห้ ญิง ทั้งในด้านการศึกษา การเมือง ทักษะความเป็ นผูน้ า
และการสร้างเครือข่าย
ส่งเสริมเรื่อง CSR : การประกาศเจตนารมณ์ร่วมเพื่อพัฒนา CSR จาก
ระดับประเทศสู่อาเซียน เมื่อวันที่ 28 เม.ย. ที่ผ่านมา โดย สมพ.
สร้างความตระหนักรูใ้ นเรื่องการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนให้แก่
ผูบ้ ริหาร และข้าราชการ พม. (สาหรับข้าราชการจัดแล้ว 1 ครั้งโดย สมพ. เมื่อ
วันที่ 4 พ.ค. และสาหรับผูบ้ ริหาร โดย สนย. เมื่อวันที่ 26 พ.ค.)
32
กลยุทธ์ พม. ว่ าด้ วยการเตรียมความพร้ อมฯ





โครงการศึกษาและปรับปรุ งกฎหมายด้านสวัสดิการสังคมเพื่อให้
สอดคล้องกับเงื่อนไขด้านต่าง ๆ ของประชาคมอาเซียน
การเตรี ยมความพร้อมด้านเด็ก เยาวชน สตรี ผูส้ ูงอายุ ผูพ้ ิการ และ
ครอบครัว
การเตรี ยมความพร้อมของบุคลากร พม. ให้สามารถปฏิบตั ิงานด้าน
ต่างประเทศและมีความรู ้เรื่ องอาเซียน
การเตรี ยมความพร้อมด้านภาษาประเทศเพื่อนบ้านสาหรับผูป้ ฏิบตั ิงาน
ในจังหวัดที่มีพรมแดนติดกับประเทศสมาชิกอาเซียน
การศึกษาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องของประเทศที่มีพรมแดนติดกับไทย
33
ข้อท้าทาย

การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สงั คมผูส้ งู อายุ
 การเพิ่มสัดส่วนผูห
้ ญิงในทางการเมือง
 การผนวกเรื่องยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมเข้าสู่
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
พม. เข้าไว้ในแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ของกระทรวง
 การเตรียมความพร้อมในการเป็ น Focal Point ของ
เสาหลักประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
34
ข้อท้าทาย (ต่อ)

การสร้างความตระหนักและความเข้าใจในเรื่องการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนภายในกระทรวง พม. และภาคประชาสังคม
 การสนั บสนุ นองค์กรภาคธุรกิจให้มีบทบาทสาคัญต่อการ
รับผิดชอบต่อสังคม รวมถึงควรเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้าง
ประชาคมอาเซียน
 การส่งเสริมให้มีเวทีหารือระหว่างภาคประชาสังคมและ
ภาครัฐให้มากขึ้ น เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจที่ดีตอ่ กัน และ
ส่งเสริมซึ่งกันและกัน
35
แผนการดาเนินงานภายใต้ กรอบอาเซียนของ พม.ภายในปี 2554
กิจกรรมโครงการ
ระยะเวลาดาเนินการ
20 กันยายน
36