การจัดการความรู้

Download Report

Transcript การจัดการความรู้

การจัดการความรู้
(Knowledge Management : KM)
จัดทาโดย
นายสมชาย วัฒนผลินธร
สหกรณ์ จงั หวัดสุ โขทัย
การจัดการความรู้
(Knowledge Management : KM)
ความหมาย KM
Knowledge Management
นพ.วิจารณ์ พานิช ได้ให้ความหมายของคาว่า
“การจัดการความรู ้” ไว้ คือ สาหรับนักปฏิบตั ิ การจัดการความรู ้
คือ เครื่ องมือ เพื่อการบรรลุเป้ าหมายอย่างน้อย 4 ประการไป
พร้อมๆ กัน ได้แก่
1. บรรลุเป้ าหมายของงาน
2. บรรลุเป้ าหมายการพัฒนาคน
3. บรรลุเป้ าหมายการพัฒนาองค์กรไปเป็ นองค์กรเรี ยนรู ้
4. บรรลุความเป็ นชุมชน เป็ นหมู่คณะ ความเอื้ออาทร
ระหว่างกันในที่ทางาน
พรธิดา วิเชียรปัญญา กล่าวว่า
การจัดการความรู ้ หมายถึง กระบวนการอย่างเป็ นระบบ
เกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทา
ตลอดจนประสบการณ์ของบุคคลเพื่อสร้างเป็ นความรู้หรื อนวัตกรรม
และจัดเก็บในลักษณะของแหล่งข้อมูลที่ บุคคลสามารถเข้าถึงได้โดย
อาศัยช่องทางต่างๆ ที่องค์กรจัดเตรี ยมไว้
อ.บดินทร์ วิจารณ์
การจัดการความรู้ (KM) สิ่ งสาคัญมันอยูท่ ี่การลงมือ
ปฏิบตั ิให้ได้ ใช้ภาษาเดียวกัน สื่ อความหมายกันให้ได้
การจัดการความรู้คอื อะไร
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู ้ คือ การรวบรวมองค์ความรู ้ที่มีอยูใ่ นส่ วน
ราชการซึ่งกระจัดกระจายอยูใ่ นตัวบุคคลหรื อเอกสาร มาพัฒนาให้
เป็ นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู ้ และพัฒนา
ตนเองให้เป็ นผูร้ ู ้ รวมทั้งปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ อันจะ
ส่ งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุ ด
โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ
1.ความรู้ที่ฝังอยูใ่ นคน (Tacit Knowledge)
2. ความรู้ที่ชดั แจ้ง (Explicit Knowledge)
1.ความรู้ที่ฝังอยูใ่ นคน (Tacit Knowledge)
เป็ นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์
หรื อสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทาความ
เข้าใจในสิ่ งต่าง ๆ เป็ นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอด
ออกมาเป็ นคาพูดหรื อลายลักษณ์อกั ษรได้โดยง่าย
เช่น ทักษะในการทางาน งานฝี มือ หรื อการคิดเชิง
วิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรี ยกว่าเป็ นความรู้แบบ
นามธรรม
2. ความรู้ที่ชดั แจ้ง (Explicit Knowledge)
เป็ นความรู ้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น
การบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ และบางครั้ง
เรี ยกว่าเป็ นความรู ้แบบรู ปธรรม
วัตถุประสงค์
ประโยชน์ ของการจัดการความรู้
วัตถุประสงค์ ของการจัดการความรู้ มีดงั นี้
1. เพื่อปรับปรุ งกระบวนการดาเนินงานทางธุรกิจที่เป็ นอยูใ่ น
ปัจจุบนั
2. เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริ การใหม่ ๆ
3. เพื่อปรับปรุ งเทคนิค กระบวนการ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ
พัฒนาองค์ความรู ้และนาความรู ้น้ นั ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
ประโยชน์ ของการจัดการความรู้ได้ 8 ประการ ดังนี้
1. ป้ องกันความรู ้สูญหาย
2. เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการตัดสิ นใจ
3. ความสามารถในการปรับตัวและมีความยืดหยุน่
4. ความได้เปรี ยบในการแข่งขัน
5. การพัฒนาทรัพย์สิน
6. การยกระดับผลิตภัณฑ์
7. การบริ หารลูกค้า
8. การลงทุนทางทรัพยากรมนุษย์
องค์ประกอบสาคัญของการจัดการเรี ยนรู้
1.คน
2. เทคโนโลยี
3. กระบวนการจัดการความรู้
1. “คน” ถือว่ าเป็ นองค์ ประกอบที่สาคัญที่สุดเพราะเป็ นแหล่ ง
ความรู้ และเป็ นผู้นาความรู้ ไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์
2.“เทคโนโลยี” เป็ นเครื่ องมือเพื่อให้ คนสามารถค้ นหา
จัดเก็บ แลกเปลี่ยน รวมทั้งนาความรู้ ไปใช้ อย่ างง่ าย และ
รวดเร็ วขึน้
3. “กระบวนการความรู้ ” นั้น เป็ นการบริ หารจัดการ
เพื่อนาความรู้ จากแหล่ งความรู้ ไปให้ ผ้ ใู ช้ เพื่อทาให้ เกิดการ
ปรั บปรุ ง และนวัตกรรม





การจัดการความรู้ทดี่ ีเริ่มด้ วย
สัมมาทิฐิ : ใช้การจัดการความรู ้เป็ นเครื่ องมือเพื่อบรรลุ
ความสาเร็ จและความมัน่ คงในระยะยาว
การจัดทีมริ เริ่ มดาเนินการ
การฝึ กอบรมโดยการปฏิบตั ิจริ ง และดาเนินการต่อเนื่อง
การจัดการระบบการจัดการความรู ้
คนสาคัญทีด่ าเนินการจัดการความรู้
1. ผู้บริหารสู งสุ ด (CEO)
2. คุณเอือ้ (Chief Knowledge Officer, CKO)
3. คุณอานวย (Knowledge Facilitator , KF)
4. คุณกิจ (Knowledge Pracititoner, KP)
5. คุณประสาน (Network Manager)
กรอบแนวคิดการจัดการความรู้
ตัวอย่างแผนผังอิชิคะวะ
แผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa diagram) หรื อแผงผัง
ก้างปลา
ส่ วนหัวและตา (Knowledge Vision - KV)
ส่ วนกลางลาตัว (Knowledge Sharing - KS)
ส่ วนหาง (Knowledge Assets - KA)




