ASEAN PPT กรมการปกครอง 220414

Download Report

Transcript ASEAN PPT กรมการปกครอง 220414

บทบาทข้ าราชการฝ่ ายปกครองกับการเข้ าสู่
ประชาคมอาเซียน
น.ส. บุษฎี สันติพทิ กั ษ์
รองอธิบดีกรมอาเซียน
กระทรวงการต่ างประเทศ
วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๗
จุดเริ่มต้ นของอาเซียน
เ มื่ อ วั น ที่ 8 สิ ง ห า ค ม 2 5 1 0 ร ม ว . ก ต .
อิ น โดนี เ ซี ย (นายอาดั ม มาลิ ก ) มาเลเซี ย
(ตุ น อั บ ดุ ล ราซั ก บิน ฮุ ส เซน) ฟิ ลิ ป ปิ นส์
(นายนาซิ โ ซ รามอส) สิ ง คโปร์ (นายเอส
ราชารั ตนั ม) และไทย (พันเอก (พิเศษ) ดร.
ถ นั ด ค อ มั น ต ร์ ล ง น า ม ใ น “ป ฏิ ญ ญ า
กรุ งเทพฯ” (Bangkok Declaration)
วัตถุประสงค์ ของอาเซียน
 ส่ งเสริมความเข้ าใจอันดีระหว่ างประเทศสมาชิก
 ธารงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง
 เสริมสร้ างเศรษฐกิจและความกินดีอยู่ดขี อง
ประชาชน
 พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม
 ส่ งเสริมความร่ วมมือกับภายนอก และองค์ การ
ระหว่ างประเทศต่ างๆ
อาเซียนถือกาเนิดที่ประเทศ
ไทย ในปี 2510 สมาชิกผู้ก่อตัง้
• ไทย
• มาเลเซีย
• อินโดนีเซีย
• ฟิ ลิปปิ นส์
• สิงคโปร์
สมาชิกเพิ่มเติม
+ บรูไนฯ ปี 2527
+ เวียดนาม ปี 2538
+ ลาว ปี 2540
+ พม่ า ปี 2540
+ กัมพูชา ปี 2542
ความสาคัญของอาเซียน
 ก่ อตัง้ ที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีส่วนขับเคลื่อน
 อาเซียนเป็ นวาระแห่ งชาติ
 เลขาธิการอาเซียนเป็ นคนไทย 2 ราย (ดร.แผน วรรณเมธี และ
ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ)
 ผลประโยชน์ และกิจกรรมของอาเซียนช่ วยส่ งเสริมผลประโยชน์
ของไทย
 เสริมสร้ างบทบาทของไทยในภูมิภาคและเวทีโลก
ความสาคัญของอาเซียนต่ อไทย
 อาเซียนเป็ นตลาดส่ งออกอันดับ 1 ของไทยตัง้ แต่ 2545 และเป็ น
แหล่ งนาเข้ าอันดับที่ 2 ตัง้ แต่ ปี 2540 จนถึงปั จจุบัน
 ในปี 2555 มูลค่ าการค้ า 96,670 ล้ าน USD ประมาณ ร้ อยละ 20
ของมูลค่ าการค้ าทัง้ หมดของไทยและไทยได้ เปรี ยบดุลการค้ าอาเซียน
ถึง 16,390 ล้ าน USD
 สมาชิกอาเซียนเข้ ามาลงทุนในไทย ประมาณ 20% ของการลงทุน
จากต่ างประเทศทัง้ หมด
 นักท่ องเที่ยวร้ อยละ 30 ของนักท่ องเที่ยวต่ างชาติทงั ้ หมด
มาจากอาเซียน (มาเลเซียมาไทยมากที่สุด)
ขนาดและความสาคัญของเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชากร 604 ล้ านคน
(อันดับ 3 ของโลก)
GDP ขนาด 2.18 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรั ฐฯ
(อันดับ 9 ของโลก)
เปรี ยบเทียบกับ
›
สหภาพยุโรป
= 5.7 เท่ าของไทย
การค้ าระหว่ างประเทศ 2.3 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรั ฐฯ
(อันดับ 5 ของโลก)
= 5 เท่ าของไทย
ต่ างชาติมาลงทุนในอาเซียน 114 พันล้ านดอลลาร์
สหรั ฐฯ
= 60% ของการลงทุนของ
ต่ างชาติในจีน
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP growth)
= 4.7%
กฎบัตรอาเซียน
 ลงนามเมื่อ 20 พ.ย. 2550 / มีผลใช้ บังคับ
เมื่อ 15 ธ.ค. 2551
 เปรี ยบเสมือนธรรมนูญที่กาหนดกรอบด้ าน
กฎหมายและโครงสร้ างองค์ กรของอาเซียน
 ทาให้ อาเซียนมีกฎกติกาในการทางาน
 มีสถานะเป็ นนิตบิ ุคคล
 มีประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง
 วางรากฐานการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน
ในปี 2558
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
เนื้ อหาหลักของกฎบัตรอาเซียน
เป้ าหมายและหลักการ
สมาชิก
โครงสร้างองค์กร
กระบวนการตัดสินใจ
กลไกระงับข้อพิพาท
งบประมาณ
สถานะทางกฎหมาย เอกสิทธิและความคุ้มกัน
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ปี 2558 (2015)
ประชาคม
การเมืองและ
ความมั่นคง
อาเซียน
(APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจ
(AEC)
ประชาคม
สังคม-วัฒนธรรม
อาเซียน
(ASCC)
ประชาคมอาเซียนปี 2558
1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
(ASEAN Political-Security Community : APSC)
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community : AEC)
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC)
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
ASEAN Political-Security Community (APSC)
ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community-APSC)
เป็ นส่วนหนึง่ ของกลไกสืบเนื่องจาก Bali Concord II ในปี พ.ศ.2546 (ค.ศ. 2003) เพื่อการจัดตัง้
ประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) หรื อ วิสยั ทัศน์อาเซียน 2020" (ASEAN Vision
2020) ต่อมา ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครัง้ ที่ 12 ที่เซบู ฟิ ลิปปิ นส์ ได้ เร่งรัดการจัดตังประชาคมอาเซี
้
ยน
ให้ สาเร็จภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015)
ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครัง้ ที่ 14 (ปี 2552) ในสมัยที่ไทยเป็ นประธานอาเซียน ได้ รับรอง
แผนการจัดตังประชาคมการเมื
้
องและความมัน่ คงอาเซียน โดยมุ่งหวังจะเป็ นหลักประกันให้ ประชาชน
และประเทศสมาชิกอาเซียนให้ อยู่อย่างสันติ ในบรรยากาศของความเป็ นประชาธิปไตย ความยุติธรรม
และการมีความปรองดองต่อกัน
เป้าหมายหลักของประชาคมการเมืองและความมั่นคง




ส่งเสริ มสันติภาพและความมัน่ คง
การอยู่ร่วมกันโดยสันติ
แก้ ไขปั ญหาข้ อขัดแย้ งโดยสันติวิธี
สร้ างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกันด้ านประชาธิปไตย
สิทธิมนุษยชน
 ความรับผิดชอบร่วมกันในการสร้ างความมัน่ คงที่
ครอบคลุมรอบด้ าน เช่น โรคระบาด ภัยพิบตั ิธรรมชาติ
และการรับมือกับภัยคุกคามความมัน่ คงรูปแบบใหม่
 สร้ างปฏิสมั พันธ์กบั โลกภายนอกและคงความเป็ น
ศูนย์กลางและบทบาทของอาเซียน
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
ASEAN Political-Security Community (APSC)
แผนการจัดตัง้ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC Blueprint)
1. ประชาคมที่มีกติกาและมีการพัฒนาค่านิยมและบรรทัดฐานร่ วมกัน
2. ประชาคมที่ทาให้ ภมู ิภาคมีความเป็ นเอกภาพ มีความสงบสุข มีความแข็งแกร่ง
พร้ อมทังมี
้ ความรับผิดชอบร่วมกันเพื่อแก้ ไขปั ญหาความมัน่ คงที่ครอบคลุมในทุกมิติ
3. ประชาคมที่ทาให้ เป็ นภูมิภาคที่มีพลวัตรและมองไปยังโลกภายนอกที่มีการรวมตัวและลักษณะ
พึง่ พาซึง่ กันและกันมากยิ่งขึ ้น
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
ความยุตธิ รรมและสิทธิ
การส่ งเสริมความยั่งยืนด้ านสิ่งแวดล้ อม
การสร้ างอัตลักษณ์ อาเซียน
การลดช่ องว่ างทางการพัฒนา
รวมใจเป็ น
หนึ่ง
ไม่ เจ็บป่ วย
ไม่ จน
ปลอดภัย
มีการศึกษา
Overview of progress and status of implementation
(Source : ASEAN Secretariat)
Average of 82.5% of all action lines
completed or being implemented
APSC 78%
AEC 79.7%
ASCC 90%
ความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
(ASEAN Connectivity)
ข้ อริเริ่มของไทยในช่ วงการเป็ นประธานอาเซียนเมื่อปี 2552
แผนแม่ บทว่ าด้ วยการเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
(Master Plan on ASEAN Connectivity) มี 3 ด้ าน คือ
ด้ านโครงสร้ างพืน้ ฐาน ด้ านกฎระเบียบ และด้ านประชาชน
ในการประชุมสุดยอด ครัง้ ที่ 18 ผู้นาอาเซียนสนับสนุน
ข้ อเสนอของไทยให้ มีการเชื่อมโยงที่ขยายไปถึงภูมิภาคอื่น
(Connectivity Plus)
ภัยคุกคามด้ านความมั่นคง
ภัยคุกคามรู ปแบบใหม่
ภัยคุกคามรู ปแบบเดิม
การก่ อการร้ าย
โรคระบาด
การลักลอบขนอาวุธ
การฟอกเงิน
การลักลอบค้ ายาเสพติด
การค้ าสตรีและเด็ก
อาชญากรรมทาง ศก.ระหว่ างประเทศ
การเกิดภัยพิบัติ / ภัยธรรมชาติ
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
การลักลอบเข้ าเมืองโดยผิดกฎหมาย
การเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ
การกระทาอันเป็ นโจรสลัด
ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ
- ปั ญหาเขตแดน
- สงคราม
การเตรี ยมความพร้ อมสู่ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
10 ประเด็นเร่ งด่ วนในการจัดตัง้ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
1. การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 6. การบรรเทาภัยพิบตั ิ
2. การต่อต้ านการค้ ามนุษย์
7. การป้องกันและปราบปรามการทุจริ ตและ
การส่งเสริ มหลักธรรมาภิบาล
3. การต่อต้ านการก่อการร้ าย
4. การต่อต้ านอาชญากรรมข้ ามชาติ
8. การส่งเสริ มและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
9. การส่งเสริ มความร่วมมือกับภาคประชาสังคม
5. ความมัน่ คงทางทะเล
10. การดาเนินการตามสนธิสญ
ั ญาว่าด้ วย
เขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ (SEANWFZ Treaty)
การดาเนินการของหน่ วยงานไทยด้ านการเมืองและความมั่นคง
นโยบายรัฐบาล
แผนปฏิบตั ิการฯ
ยุทธศาสตร์ของไทย
คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ
คณะกรรมการดาเนินการเพื่อจัดตัง้ ประชาคมการเมือง
และความมั่นคงอาเซียน
ยุทธศาสตร์ ของไทยเพื่อเตรี ยมความพร้ อม
สาหรั บการจัดตัง้ APSC ภายในปี 2558 (สมช.)
แผนปฏิบัตกิ ารฯ
(ทุกกระทรวงฯ)
การปรับปรุงโครงสร้ างองค์กร
การเตรี ยมทรัพยากรเพื่อ
รองรับการเป็ นประชาคม
การสร้ างความตระหนักรู้แก่เจ้ าหน้ าที่
และประชาชน
1. การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ภูมหิ ลัง
- การประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน ครัง้ ที่ 31 เมื่อปี 2541: ปฏิญญาร่วมสาหรับการเป็ น
เขตปลอดยาเสพติดอาเซียน (Joint Declaration for a Drug-Free ASEAN)
- การประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน ครัง้ ที่ 33 เมื่อปี 2543 ร่นเป้าหมายจากปี 2563 เป็ นปี 2558
เพื่อให้ สอดคล้ องกับเป้าหมายของการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน
- ASEAN Work Plan on Combating Illicit Drug Production, Trafficking and Use (2009-2015)
หรื อ แผนปฏิบตั ิการ ASOD
กรอบความร่ วมมือ
- ที่ประชุมรัฐมนตรี อาเซียนด้ านอาชญากรรมข้ ามชาติ (AMMTC)
- ที่ประชุมเจ้ าหน้ าที่อาวุโสว่าด้ วยอาชญากรรมข้ ามชาติ (SOMTC) และ SOMTC+ ซึง่ เป็ นเวทีหารื อกับ
ประเทศคูเ่ จรจาของอาเซียน ได้ แก่ จีน ญี่ปนุ่ เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย สหภาพยุโรป นิวซีแลนด์ รัสเซีย และ
สหรัฐฯ
- ที่ประชุมเจ้ าหน้ าที่อาวุโสว่าด้ วยเรื่ องยาเสพติด (ASOD)
- การประชุมอาเซียนว่าด้ วยความร่ วมมือด้ านการเมืองและความมัน่ คงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ARF)
ภายใต้ ARF Work Plan for Counter-Terrorism and Transnational Crime (CTTC)
1. การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
สถานะล่ าสุด
- ผู้นาอาเซียนได้ รับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้ วยการเป็ นเขตปลอดยาเสพติดในปี ค.ศ. 2015 (ASEAN
Leaders’ Declaration ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 20 เมื่อเดือนมีนาคม 2555 ณ กรุงพนมเปญ
- ไทยเป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรี อาเซียนสมัยพิเศษด้ านยาเสพติด (Special ASEAN
Ministerial Meeting on Drug Matters) ขึ ้นเป็ นครัง้ แรก เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2555 ที่กรุงเทพฯ
เพื่อติดตามความคืบหน้ าของการดาเนินการตามแผนปฏิบตั ิการ ASOD โดยที่ประชุมได้ รับทราบ
ผลการดาเนินการตามแผนปฏิบตั ิการ ASOD ตามที่ได้ มีการจัดทา Mid-term Review ขึ ้น และ
ได้ ยืนยันเจตนารมณ์ในการบรรลุถึงการเป็ นเขตปลอดยาเสพติดอาเซียนในปี 2558
- บรูไนฯ ได้ เป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรี อาเซียนสมัยพิเศษด้ านยาเสพติด ครัง้ ที่ 2 เมื่อเดือน
กันยายน 2556
- ในกรอบ ARF ไทยเป็ น lead country ด้ าน Illicit drugs (Priority Area 1) โดยมีบทบาทในการผลักดัน
ความร่วมมือเพื่อการแลกเปลี่ยนข้ อมูลด้ านการต่อต้ านยาเสพติด และอยู่ระหว่างการพิจารณาจัด
Workshop on the Concept Development of the ARF Transnational Threat Information Sharing
Center (ATTIC) ร่วมกับสหรัฐฯ
2. การต่ อต้ านการค้ ามนุษย์
ภูมหิ ลัง
- ในปั จจุบนั หลายประเทศในอาเซียนเป็ นทังต้
้ นทาง ทางผ่านและปลายทางสาหรับการค้ ามนุษย์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งสตรี และเด็ก และเป็ นปั ญหาเร่งด่วนที่รัฐบาลไทยให้ ความสาคัญในการเร่งรัดแก้ ไข
- ไทยถูกจัดอันดับอยู่ใน Tier 2 Watch List ของรายงานสถานการณ์การค้ ามนุษย์ของสหรัฐฯ
(TIP Report) เป็ นปี ที่ 2 ติดต่อกันแล้ ว
- ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 10 เมื่อเดือน พ.ย. 2547 ที่เวียงจันทน์ ได้ รับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้ วย
ความร่วมมือในการต่อต้ านการค้ ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรี และเด็ก (ASEAN Declaration Against
Trafficking in Persons Particularly Women and Children)
- ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 18 เมื่อเดือน พ.ค. 2554 ที่กรุงจาการ์ ตา ได้ รับรองเอกสาร ASEAN
Leaders’ Joint Statement in Enhancing Cooperation against Trafficking in Persons in Southeast Asia
กรอบความร่ วมมือ
- ที่ประชุมรัฐมนตรี อาเซียนด้ านอาชญากรรมข้ ามชาติ (AMMTC)
- ที่ประชุมเจ้ าหน้ าที่อาวุโสว่าด้ วยอาชญากรรมข้ ามชาติ (SOMTC) และ SOMTC+ คูเ่ จรจา
- คณะทางานด้ านการค้ ามนุษย์ของ SOMTC (SOMTC WG on TIP)
2. การต่ อต้ านการค้ ามนุษย์
สถานะล่ าสุด
- SOMTC WG on TIP ได้ จดั ตังคณะท
้
างานผู้เชี่ยวชาญเพื่อพิจารณาจัดทาอนุสญ
ั ญาว่าด้ วย
การต่อต้ านการค้ ามนุษย์ของอาเซียน (ASEAN Convention on Trafficking in Persons - ACTIP)
และแผนปฏิบตั ิการระดับภูมิภาคเพื่อต่อต้ านการค้ ามนุษย์ (Regional Plan of Action to Combat
Trafficking in Persons - RPA) ควบคูก่ นั ไป
- ในการจัดทาเอกสารทัง้ 2 ฉบับ ไทยให้ ความสาคัญกับสร้ างกลไกระดับภูมิภาคที่มีความสมดุลระหว่าง
มาตรการป้องกันและมาตรการปราบปราม รวมถึงมาตรการคุ้มครองและเยียวยาเหยื่อค้ ามนุษย์ที่เป็ นไป
ตามมาตรฐานสากล และเคารพต่อหลักสิทธิมนุษยชน
3. การต่ อต้ านการก่ อการร้ าย
ภูมหิ ลัง
- ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 7 เมื่อเดือน ธ.ค. 2541 ณ บันดาร์ เสรี เบกาวัน ผู้นาอาเซียนได้ รับรอง
ปฏิญญาอาเซียนว่าด้ วยการดาเนินการร่วมกันในการต่อต้ านการก่อการร้ าย (ASEAN Declaration on Joint
Action to Counter Terrorism) โดยประณามเหตุการณ์การก่อการร้ าย 9/11 ที่สหรัฐอเมริ กา
- ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 8 เมื่อเดือน พ.ย. 2545 ผู้นาอาเซียนได้ ออกแถลงการณ์ว่าด้ วย
การก่อการร้ าย (Declaration on Terrorism) เพื่อประณามเหตุการณ์การก่อการร้ ายที่บาหลี
กรอบความร่ วมมือ
- ที่ประชุมรัฐมนตรี อาเซียนด้ านอาชญากรรมข้ ามชาติ (AMMTC)
- ที่ประชุมเจ้ าหน้ าที่อาวุโสว่าด้ วยอาชญากรรมข้ ามชาติ (SOMTC) และ SOMTC+คูเ่ จรจา
- คณะทางานด้ านการต่อต้ านการก่อการร้ าย (SOMTC Working Group on Counter Terrorism)
- การประชุมรัฐมนตรี กลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรี กลาโหมประเทศคูเ่ จรจา (ASEAN Defence Ministers’
Meeting - Plus - ADMM-Plus) ซึง่ มี EWG ด้ านการต่อต้ านการก่อการร้ าย (Counter Terrorism)
ซึง่ อินโดนีเซียและสหรัฐฯ เป็ น ปธ. ร่วมในปั จจุบนั และสิงคโปร์ กบั ออสเตรเลีย จะเป็ นประธานร่วม
ในปี 2557-2559
- ASEAN Regional Forum Inter-Sessional Meeting on Counter-Terrorism and Transnational Crime
(ARF ISM on CTTC)
3. การต่ อต้ านการก่ อการร้ าย
สถานะล่ าสุด
- เอกสารที่สาคัญของอาเซียน คือ อนุสญ
ั ญาอาเซียนว่าด้ วยการต่อต้ านการก่อการร้ าย (ASEAN
Convention on Counter Terrorism - ACCT) ซึง่ ผู้นาอาเซียนได้ ลงนามในการประชุมสุดยอดอาเซียน
ครัง้ ที่ 12 เมื่อเดือน ม.ค. 2550 ณ เมืองเซบู มีผลบังคับใช้ แล้ วตังแต่
้ วนั ที่ 27 พ.ค. 2554 และประเทศ
สมาชิกอาเซียนทุกประเทศให้ สตั ยาบันแล้ ว โดยมี SOMTC WG on CT เป็ นกลไกหลัก
ในการติดตาม และประเมินผลการดาเนินการตาม ACCT
- ACCT เป็ นอนุสญ
ั ญาอาเซียนฉบับแรกที่เกี่ยวข้ องกับความร่ วมมือต่อต้ านการก่อการร้ ายในภูมิภาค
โดยมีขอบเขตความร่วมมือครอบคลุมทังการป
้ ้ องกัน การบังคับใช้ กฎหมาย และการบาบัดฟื น้ ฟูผ้ กู ระทาผิด
โดยรวมมาตรการทังด้
้ านกฎหมายและไม่ใช่กฎหมาย เช่น การส่งเสริ มความรู้ของประชาชนและให้
ประชาชนตระหนักถึงการมีสว่ นร่วมในการต่อต้ านการก่อการร้ าย อนุสญ
ั ญาฯ ได้ ระบุถึงประเด็น
การห้ ามมิให้ ใช้ ศาสนา เชื ้อชาติ อุดมการณ์ และการเมืองเป็ นข้ ออ้ างในการก่อการร้ าย และกาหนดว่า
การกระทาความผิดตามอนุสญ
ั ญาฯ ไม่ใช่ความผิดทางการเมือง ที่อาจทาให้ มีการปฏิเสธการส่งผู้ร้าย
ข้ ามแดน
- กรอบ ADMM-Plus ได้ จดั การฝึ กผสมเมื่อเดือน ก.ย. 2556 ณ ประเทศอินโดนีเซีย
เพื่อเสริ มสร้ างศักยภาพและพัฒนาขีดความสามารถในด้ านการต่อต้ านการก่อการร้ ายของอาเซียนกับ
ประเทศสมาชิก ADMM-Plus โดยศูนย์ปฏิบตั ิการต่อต้ านการก่อการร้ ายจะส่งชุดปฏิบตั ิการเข้ าร่ วม
4. การต่ อต้ านอาชญากรรมข้ ามชาติ
ภูมหิ ลัง
- อาเซียนได้ จดั ทา ASEAN Declaration on Transnational Crime เมื่อปี 2540 และ ASEAN Plan of
Action (PoA) to Combat Transnational Crime เมื่อปี 2542 รวมถึง Work Programme to Implement
the ASEAN PoA to Combat Transnational Crime
- กรอบ SOMTC เน้ นความร่วมมือในด้ านการแลกเปลี่ยนข้ อมูล กฎหมายและการบังคับใช้ กฎหมาย
การพัฒนาขีดความสามารถและการฝึ กปฏิบตั ิการรวมถึงการส่งเสริ มความร่วมมือกับภายนอกภูมิภาค
ในสาขาความร่วมมือ 8 สาขา ได้ แก่ (1) การก่อการร้ าย (2) การลักลอบค้ ายาเสพติด (3) การค้ ามนุษย์
(4) การลักลอบค้ าอาวุธ (5) ปั ญหาโจรสลัด (6) การฟอกเงิน (7) อาชญากรรมเศรษฐกิจ และ
(8) อาชญากรรมไซเบอร์ โดยไทยเป็ น lead shepherd ในด้ านการลักลอบค้ ายาเสพติด
กรอบความร่ วมมือ
- ที่ประชุมรัฐมนตรี อาเซียนด้ านอาชญากรรมข้ ามชาติ (AMMTC)
- ที่ประชุมเจ้ าหน้ าที่อาวุโสว่าด้ วยอาชญากรรมข้ ามชาติ (SOMTC) และ SOMTC+คูเ่ จรจา
- การประชุม ARF Inter-Sessional Meeting on Counter-Terrorism and Transnational Crime
3. การต่ อต้ านอาชญากรรมข้ ามชาติ
สถานะล่ าสุด
- ในกรอบ SOMTC ได้ มีการจัดตังคณะท
้
างานของสาขาความร่ วมมือต่าง ๆ แล้ ว ดังนี ้
สาขาความร่ วมมือ
Lead Shepherd
การก่อการร้ าย
อินโดนีเซีย
การค้ ามนุษย์
ฟิ ลิปปิ นส์
อาชญากรรมไซเบอร์
สิงคโปร์
- ไทยต้ องการให้ มีการบรรจุสาขาความร่ วมมือเพื่อต่อต้ านอาชญากรรมสิ่งแวดล้ อมในกรอบ SOMTC
เพื่อให้ อาเซียนสามารถแก้ ปัญหาการลักลอบค้ าพืชและสัตว์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น
- กลไกที่สาคัญของไทยในการประสานความร่วมมือภายในประเทศเพื่อต่อต้ านอาชญารรม
ข้ ามชาติ คือ คณะกรรมการประสานงานด้ านอาชญากรรมข้ ามชาติ ซึง่ มีรองผู้บญ
ั ชาการตารวจแห่งชาติ
เป็ นประธาน และประกอบด้ วยผู้แทนจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง โดยมีบทบาทสาคัญในการประสาน
ท่าทีและผลักดันผลประโยชน์ของประเทศร่วมกันในภาพรวม และกรอบ SOMTC และ AMMTC
- ในกรอบ ARF ISM on CTTC มีการจัดทา ARF Work Plan for CTTC ทุก ๆ 2 ปี โดยปั จจุบนั
อยู่ระหว่างการจัดทาแผนงาน ปี ค.ศ. 2013-2014
5. ความมั่นคงทางทะเล
ภูมหิ ลัง
- ประเทศไทยเป็ นจุดยุทธศาสตร์ เส้ นทางการเดินเรื อที่สาคัญในภูมิภาค และมีผลประโยชน์ทางทะเล
ประมาณ 7.5 ล้ านล้ านบาทต่อปี โดยเฉพาะในด้ านพาณิชย์นาวีและการประมง โดยปั จจุบนั ไทยให้
ความสาคัญกับการส่งเสริ มความร่ วมมือระดับต่าง ๆ เพื่อจัดการกับภัยคุกคามความมัน่ คงทางทะเลรูปแบบ
ใหม่ที่มีความซับซ้ อนมากยิ่งขึ ้น ได้ แก่ โจรสลัดและอาชญากรรมข้ ามชาติทางทะเลอื่น ๆ
กรอบความร่ วมมือ
- ASEAN Maritime Forum (AMF) จัดขึ ้นเป็ นประจาทุกปี ตังแต่
้ ปี 2553 เป็ นต้ นมา
- Expanded ASEAN Maritime Forum (EAMF) โดยฟิ ลิปปิ นส์เป็ นเจ้ าภาพจัดขึ ้นครัง้ แรกในปี 2555 โดย
ขยายความร่วมมือให้ ครอบคลุมประเทศคูเ่ จรจาของอาเซียน อีก 8 ประเทศ ได้ แก่ จีน ญี่ปนุ่ เกาหลีใต้ สหรัฐฯ
รัสเซีย อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
- ARF Inter-Sessional Meeting on Maritime Security (ARF ISM on MS) เป็ นเวทีหารื อประเด็น
ความมัน่ คงทางทะลในกรอบ ARF ที่ครอบคลุมสมาชิกทัง้ 26 ประเทศและ 1 กลุม่ ประเทศ
- AMMTC และ SOMTC ซึง่ มีสาขาความร่วมมือด้ าน Sea Piracy
- การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรั ฐมนตรี กลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence
Ministers’ Meeting - Plus - ADMM-Plus) ซึง่ มี EWG ด้ านความมัน่ คงทางทะเล (Maritime Security)
ซึง่ มาเลเซียและออสเตรเลียเป็ น ปธ. ร่วมในปั จจุบนั และบรูไนฯ กับนิวซีแลนด์ จะเป็ นประธานร่ วมในปี
2557-2559
5. ความมั่นคงทางทะเล
สถานะล่ าสุด
- ฟิ ลิปปิ นส์เป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุม AMF ครัง้ ที่ 3 ระหว่างวันที่ 3-5 ต.ค. 2555 ณ กรุงมะนิลา
โดยประเด็นที่ที่ประชุมให้ ความสาคัญ ได้ แก่ การแบ่งปั นและแลกเปลียนข้ อมูลระหว่างกัน การระงับ
ข้ อพิพาทดินแดนทางทะลโดยสันติวิธี การต่อต้ านโจรสลัด และการอนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะและ
การส่งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ รวมถึงการสร้ างกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการทาประมง
- การประชุม EAMF ครัง้ ที่ 1 (จัดแบบ Back-to-back กับ AMF ครัง้ ที่ 3) ได้ หารื อเกี่ยวกับการเคารพ
และปฏิบตั ิตามกฎหมายระหว่างประเทที่เกี่ยวข้ อง การส่งเสริ มความเชื่อมโยงท โดยมุ่งเน้ นความร่วมมือ
ในด้ านการส่งเสริ มความมัน่ คงทางทะเลร่วมกัน
- ในกรอบ ADMM-Plus ได้ จดั การฝึ กซ้ อมภาคสนามด้ านความมัน่ คงทางทะเลในช่วงเดือน ก.ย. - ต.ค.
2556 โดยกองทัพเรื อของไทยเข้ าร่วม
- ไทยได้ เข้ าเป็ นภาคีอนุสญ
ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UN Convention on
the Law of the Sea - UNCLOS) อย่างสมบูรณ์แล้ ว โดยอนุสญ
ั ญาฯ มีผลบังคับใช้ กบั ไทยเมื่อวันที่ 14
มิ.ย. 2554 นอกจากนี ้ สภาความมัน่ คงแห่งชาติยงั อยู่ระหว่างการจัดทายุทธศาสตร์ ความมัน่ คงทางทะเล
5. ความมั่นคงทางทะเล
สถานะล่ าสุด (ต่อ)
- ในฐานะประเทศผู้ประสานงานความสัมพันธ์อาเซียน-จีน ไทยให้ ความร่วมมือกับการส่งเสริ ม
ความสัมพันธ์อาเซียน-จีนในภาพรวม และการสร้ างบรรยากาศที่เอื ้ออานวยต่อการปฏิบตั ิตามปฏิญญาว่า
ด้ วยการปฏิบตั ิของภาคีในทะเลจีนใต้ (Declaration on the Conduct of Parties in the South China
Sea – DOC) และการเจรจาจัดทาแนวปฏิบตั ิในทะเลจีนใต้ (Code of Conduct – COC)
- ไทยได้ เป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียนอย่างไม่เป็ นทางการเมื่อวันที่ 13 - 14
ส.ค. 2556 ณ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ เพื่อใช้ โอกาสในการประสานท่าทีและเตรี ยมความพร้ อมของ
ฝ่ ายอาเซียนในการหารื อกับฝ่ ายจีนในเรื่ องทะเลจีนใต้ ก่อนเข้ าร่วมการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศ
อาเซียน-จีน สมัยพิเศษ (ASEAN-China Special Foreign Ministers’ Meeting) ที่จีนเป็ นเจ้ าภาพจัดขึ ้น
ในช่วงเดือน ส.ค. 2556 รวมทังเตรี
้ ยมการสาหรับการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน ในเดือน ต.ค. 2556 ที่
บรูไนฯ
- มีความคืบหน้ าและพัฒนาการที่ดีเมื่อเจ้ าหน้ าที่อาวุโสอาเซียน-จีนได้ พบหารื อเมื่อ 14 ก.ย. 2556 ที่ซูโจว
และเจรจาเรื่ องการจัดทา COC อย่างเป็ นทางการครัง้ แรก นอกจากนี ้ ไทยจะเป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุม
เจ้ าหน้ าที่อาวุโสอาเซียน-จีนในเดือน เม.ย. 2557 และขับเคลื่อนให้ มีการเจรจาเรื่ อง COC ต่อไป
6. การบรรเทาภัยพิบัติ
ภูมหิ ลัง
- APSC Blueprint ข้ อ B.5 ระบุเรื่ องการเสริ มสร้ างความร่ วมมือของอาเซียนด้ านการตัดการภัยพิบตั ิ
และการตอบสนองต่อสถานการณ์ฉกุ เฉิน โดยมุ่งเน้ นการเพิ่มพูนการตอบสนองที่มีประสิทธิ ภาพและ
ทันท่วงที การเพิ่มพูนการประสานงานระหว่างทหารและพลเรื อน และการจัดทาแนวปฏิบตั ิมาตรฐาน
สาหรับกรอบการดาเนินการเตรี ยมความพร้ อมระดับภูมิภาคและการประสานงานในด้ านการบรรเทาภัย
พิบตั ิและการปฏิบตั ิการตอบสนองสถานการณ์ฉกุ เฉินร่ วมกัน โดยสอดคล้ องกับความตกลงอาเซียนว่า
ด้ วยการจัดการภัยพิบตั ิและการตอบโต้ สถานการณ์ฉกุ เฉิน (ASEAN Agreement on Disaster
Management and Emergency Response - AADMER) ซึง่ มีผลบังคับใชเมื่อ 24 ธ.ค. 2552
กรอบความร่ วมมือ
- ARF Inter-Sessional Meeting on Disaster Relief (ARF ISM on DR) โดยเป็ นกลไกที่ม่งุ ส่งเสริ ม
การประสานงานระหว่างทหารและพลเรื อน โดยส่งเสริ มความร่วมมือทังในรู
้ ปแบบของการประชุมหารื อ
และการฝึ กซ้ อมบรรเทาภัยพิบตั ิเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
ในการรับมือกับภัยพิบตั ิ
- ADMM-Plus ซึง่ มี EWG ด้ านการให้ ความให้ ความช่วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ิ
(Humanitarian assistance and disaster relief - HADR) ซึง่ สปป. ลาว และญี่ปนเป็
ุ่ นประธานร่วมในปี
2557-2559
6. การบรรเทาภัยพิบัติ
กรอบความร่ วมมือ (ต่อ)
- นอกจากนี ้ ยังมีคณะกรรมการอาเซียนด้ านการจัดการภัยพิบตั ิ (ASEAN Committee on Disaster
Management - ADCM) ก่อตังขึ
้ ้นเมื่อปี 2546 เพื่อส่งเสริ มให้ มีการดาเนินการเชิงรุกในการจัดการ
ภัยพิบตั ิในภูมิภาคอาเซียน โดยเป็ นกลไกภายใต้ เสาสังคมและวัฒนธรรม
สถานะล่ าสุด
- ไทยและสาธารณรัฐเกาหลีได้ ร่วมกันเป็ นเจ้ าภาพจัด ASEAN Regional Forum Disaster Relief
Exercise 2013 (ARF DiREx 2013) เมื่อวันที่ 7-11 พ.ค. 2556 ณ อ.ชะอา จ.เพชรบุรี หน่วยงานหลักของ
ไทยในครัง้ นี ้ ประกอบด้ วย กระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงมหาดไทย
(กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) การจัดการฝึ กซ้ อมสาเร็จลุล่วงไปด้ วยดีและได้ รับความสนใจ
จากสมาชิก ARF องค์การระหว่างประเทศ และหน่วยงานต่างๆ ของไทย
- การฝึ กซ้ อมครัง้ นี ้ มีผ้ เู ข้ าร่วมกว่า 1,600 คน จากประเทศสมาชิก ARF 23 ประเทศ และสหภาพยุโรป
การฝึ กซ้ อม ARF DiREx 2013 มีเป้าหมายเพื่อยกระดับการประสานความร่ วมมือระหว่างหน่วยงานฝ่ าย
พลเรื อนและฝ่ ายทหาร ภาครัฐและเอกชน ทังในประเทศและต่
้
างประเทศ อย่างไรก็ดี การฝึ กซ้ อมสะท้ อน
ให้ เห็นถึงความท้ าทายในการประสานงานที่เกี่ยวข้ องกับการรับมือกับภัยพิบตั ิ โดยเฉพาะความพร้ อมของ
การอานวยความสะดวกการนาเข้ าความช่วยเหลือจากต่างประเทศเมื่อเกิดสถานการณ์ภยั พิบตั ิร้ายแรง
7. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการส่ งเสริมหลักธรรมาภิบาล
ภูมหิ ลัง
- APSC Blueprint กาหนดกิจกรรมความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกในการป้องกันและปราบปราม
การทุจริ ต (แผนงานข้ อ A.1.7) ดังนี ้
(1) กาหนดกลไกที่เกี่ยวข้ องในการปฏิบตั ิกบั กิจกรรมเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริ ตและ
สร้ างเสริ มความเชื่อมโยงและความร่ วมมือระหว่างองค์กรที่เกี่ยวข้ อง
(2) สนับสนุนให้ ทกุ ประเทศสมาชิกอาเซียนลงนามในบันทึกความเข้ าใจว่าด้ วยความร่ วมมือเพื่อ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริ ตที่บางประเทศได้ มีการลงนามแล้ ว เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2547
(3) ส่งเสริ มความร่วมมือของอาเซียนเพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริ ต โดยคานึงถึงบันทึก
ความเข้ าใจข้ างต้ นและกลไกอื่น ได้ แก่ ความตกลงอาเซียนว่าด้ วยการให้ ความช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
ทางอาญา (ASEAN Treaty on Mutual Legal Assistance in Criminal Matters)
(4) ส่งเสริ มให้ ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ได้ ลงนามอนุสญ
ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วยการต่อต้ าน
การทุจริ ตให้ สตั ยาบันอนุสญ
ั ญาดังกล่าว
(5) ส่งเสริ มให้ มีการแลกเปลี่ยนการปฏิบตั ิที่ดี ทัศนวิสยั และประเด็นการวิจยั ที่เกี่ยวกับค่านิยม
ศีลธรรม และความซื่อตรง ผ่านทางช่องทางต่างๆ โดยคานึงข้ อเสนอแนะจากการสัมมนาต่างๆ เช่น
เวทีหารื ออาเซียนเรื่ องคุณธรรม (ASEAN Integrity Dialogue)
7. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการส่ งเสริมหลักธรรมาภิบาล
กรอบความร่ วมมือ / กลไกที่สาคัญ
- บันทึกความเข้ าใจว่าด้ วยความร่วมมือเพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริ ต (Memorandum of
understanding on Cooperation for Preventing and Combating Corruption) เป็ นกรอบความร่วมมือ
ระหว่างหน่วยงานต่อต้ านการทุจริ ตในอนุภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Southeast Asia Parties
against Corruption (SEA-PAC) ซึง่ ทุกประเทศในภูมิภาคเป็ นภาคีแล้ ว ยกเว้ นเมียนมาร์
- ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ ยกเว้ นเมียนมาร์ ได้ ให้ สตั ยาบันอนุสญ
ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วย
การต่อต้ านการทุจริ ต (United Nations Convention against Corruption – UNCAC) โดยไทยได้ ให้
สัตยาบัน UNCAC เมื่อปี 2554
- ไทยเป็ นประเทศสุดท้ ายในอาเซียนที่ให้ สตั ยาบันความตกลงอาเซียนว่าด้ วยการให้ ความช่วยเหลือซึง่
กันและกันทางอาญา (ASEAN Treaty on Mutual Legal Assistance in Criminal Matters)
7. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการส่ งเสริมหลักธรรมาภิบาล
สถานะล่ าสุด
- สนง. ป.ป.ช. อยู่ระหว่างการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ชาติว่าด้ วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริ ต
ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556-2560) นอกจากนี ้ ยังได้ จดั ตังคณะอนุ
้
กรรมการเตรี ยมความพร้ อมในการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริ ตตามแนวทางการจัดตังประชาคมการเมื
้
องและความมัน่ คงอาเซียน โดยมีข้อริ เริ่ มการ
จัดทาอนุสญ
ั ญาอาเซียนว่าด้ วยเรื่ องการต่อต้ านการทุจริ ต (ASEAN Anti-Corruption Convention –
AACC) ด้ วย ซึง่ อยู่ระหว่างการพิจารณาของหน่วยงานฝ่ ายไทย
- เมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2556 นายกรัฐมนตรี ได้ ประกาศนโยบาย “เดินหน้ า... หยุดคอร์ รัปชัน่ ” ซึง่ ย ้าเจตนารมณ์
ของรัฐบาลในการแก้ ปัญหาการทุจริ ตและส่งเสริ มธรรมาภิบาล เสริ มสร้ างความโปร่งใส เปิ ดเผยและพร้ อม
ให้ การตรวจสอบของภาครัฐ โดยเฉพาะการพัฒนาระบบการจัดซื ้อจัดจ้ างภาครัฐให้ ได้ มาตรฐานสากลและ
ตรวจสอบได้ โดยจัดตังคณะท
้
างานผู้ทรงคุณวุฒิขึ ้นเป็ นกลไกในการตรวจสอบการการทุจริ ตและประพฤติ
มิชอบในแวดวงราชการ
8. การส่ งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ภูมหิ ลัง
- กฎบัตรอาเซียนที่กาหนดให้ อาเซียนจัดตังองค์
้ กรสิทธิมนุษยชนอาเซียนขึ ้นเพื่อส่งเสริ มและคุ้มครอง
สิทธิมนุษยชนและเสรี ภาพขันพื
้ ้นฐาน และได้ มีการระบุเรื่ องการส่งเสริ มและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนไว้ ใน
ข้ อ A.1.5 ของ APSC Blueprint ด้ วย
- ที่ประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน เมื่อเดือน ก.ค. 2552 ได้ เห็นชอบการจัดตังคณะกรรมาธิ
้
การ
ระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้ วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental Commission on Human
Rights - AICHR) ขึ ้นเพื่อเป็ นองค์กรที่มีอานาจหน้ าที่ในการส่งเสริ มและคุ้มครองสิทธิ มนุษยชน
ตามที่ระบุไว้ ในขอบเขตอานาจหน้ าที่ (TOR) ของ AICHR
สถานะล่ าสุด
- ปฏิญญาอาเซียนว่าด้ วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Human Rights Declaration - AHRD) จัดทาขึ ้น
โดย AICHR ซึง่ ได้ รับมอบหมายจากที่ประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน ครัง้ ที่ 42 เมื่อเดือน ก.ค. 2552
โดยที่ประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียนประสงค์ให้ ปฏิญญาฉบับนี ้เป็ นพื ้นฐานในการพัฒนาไปสู่
การเป็ นกรอบความร่ วมมืออาเซียนด้ านสิทธิมนุษยชน เช่น อนุสญ
ั ญา สนธิสญ
ั ญา รวมทังการจั
้
ดทาตรา
สารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับสิทธิมนุษยชนในอนาคต
8. การส่ งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
สถานะล่ าสุด (ต่อ)
เมื่อวันที่18 พ.ย. 2555 ผู้นาอาเซียนได้ ให้ การรับรอง AHRD ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครัง้
ที่ 21 ควบคูก่ บั การลงนามในแถลงการณ์พนมเปญเพื่อรับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้ วยสิทธิ มนุษยชน
ดังกล่าว โดย AHRD ประกอบด้ วยเนื ้อหาสาระหลัก 7 ส่วน ได้ แก่ (1) อารัมภบท (2) หลักการทัว่ ไป (3)
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (4) สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม (5) สิทธิในการพัฒนา
(6) สิทธิในสันติภาพ (7) ความร่วมมือในการส่งเสริ มและปกป้องสิทธิมนุษยชน
ภารกิจสาคัญของ AICHR ในปั จจุบนั คือ การเผยแพร่ปฏิญญาฯ ให้ เป็ นที่รับรู้ของสาธารณชน
ในวงกว้ างและทุกภาคส่วน ผู้แทนไทยใน AICHR และในคณะทางานฯ ได้ จดั กิจกรรมสร้ างเสริ มความ
ตระหนักรู้เรื่ องสิทธิมนุษยชน รวมทังหารื
้ อกับภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน
ในทัว่ ทุกภูมิภาคของประเทศ ตลอดจนหารื อกับองค์กรรายสาขาของอาเซียนเพื่อนา AHRD ไปสู่
การปฏิบตั ิ
- ผู้แทนไทยคนปั จจุบนั (คนที่ 2) ใน AICHR คือ ดร.เสรี นนทสูติ (คนแรกได้ แก่ อ.ศรี ประภา เพชรมีศรี
ปฏิบตั หน้ าที่เมื่อ 2553-2555)
9. การส่ งเสริมความร่ วมมือกับภาคประชาสังคม
ภูมหิ ลัง
- APSC Blueprint ข้ อ A.1.6 ระบุเรื่ องการเพิ่มการมีสว่ นร่วมองค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียนที่
เกี่ยวข้ องต่อการขับเคลื่อนความคิดริ เริ่ มเพื่อพัฒนาการทงการเมืองของอาเซียนให้ ดาเนินไปข้ างหน้ า
โดยปั จจุบนั องค์กรรายสาขาต่าง ๆ ของอาเซียน (ASEAN Sectoral Bodies) ล้ วนมีบทบาทในการ
ส่งเสริ มความร่วมมือกับภาคประชาสังคมเพื่อให้ ประชาคมอาเซียนเป็ นประชาคมที่มีประชาชนเป็ น
ศูนย์กลางอย่างแท้ จริ ง
สถานะล่ าสุด
- ไทยมีบทบาทสาคัญในการผลักดันการมีปฏิสมั พันธ์ระหว่าง AICHR กับองค์กรภาคประชาสังคม
และให้ ความสาคัญกับการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน โดยในส่วนของ
กระทรวงการต่างประเทศได้ จดั ให้ มีการพบหารื อระหว่างผู้แทนภาคประชาสังคมกับผู้บริ หารของ
กระทรวงฯ อย่างสม่าเสมอ เพื่อแลกเปลี่ยนข้ อคิดเห็นและรับทราบข้ อห่วงกังวลของภาคประชาสังคม
- ที่ประชุม ADMM ครัง้ ที่ 3 เมื่อเดือน ก.ค. 2552 ได้ รับรองเอกสาร Concept Paper on Defence
Establishments and CSOs Cooperation on Non-Traditional Security โดยได้ มีการจัดการประชุม
Workshop แล้ วรวม 3 ครัง้ (ปี 2552 2553 และ 2554) ณ กรุงเทพฯ เพื่อหารื อแนวทาง กลไก และรูปแบบ
ของการมีสว่ นร่วมของภาคประชาสังคมในการดาเนินกิจกรรมของฝ่ ายทหาร โดยมุ่งเน้ นในเรื่ องการ
จัดการภัยพิบตั ิซงึ่ เป็ นภัยคุกคามที่ประชาชนเป็ นผู้ได้ รับผลกระทบโดยตรง
10. การดาเนินการตาม SEANWFZ Treaty
ภูมหิ ลัง
สนธิสญ
ั ญาว่าด้ วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEANWFZ)
จัดทาขึ ้นในปี 2538 และมีผลบังคับใช้ ในปี 2540 โดยมีประเทศสมาชิกอาเซียนทัง้ 10 ประเทศเป็ นรัฐภาคี
และประเทศไทยเป็ นประเทศผู้เก็บรักษาสนธิสญ
ั ญา (Depository State) ห้ ามมิให้ รัฐภาคีพฒ
ั นา ผลิต
ครอบครอง หรื อทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ ภายในเขตอาณา เขตเศรษฐกิจจาเพาะ (Exclusive Economic
Zone – EEZ) และไหล่ทวีป (Continental Shelves – CS) รวมทังสนั
้ บสนุนการใช้ พลังงานนิวเคลียร์
ในทางสันติ โดยได้ มีการจัดตังคณะกรรมาธิ
้
การสาหรับเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ (SEANWFZ Commission) และระบบการควบคุมเพื่อให้ มีการปฏิบตั ิตามพันธกรณี
ของสนธิสญ
ั ญา ซึง่ ประกอบด้ วยระบบพิทกั ษ์ ความปลอดภัยของทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่าง
ประเทศ การแลกเปลี่ยนข้ อมูล และการจัดตังคณะค้
้
นหาความจริ ง
การลงนามในพิธีสารแนบท้ ายสนธิสญ
ั ญาฯ โดยประเทศ NWS ถือเป็ นนโยบายสาคัญของ
อาเซียนมาโดยตลอด อย่างไรก็ดี ประเทศ NWS ยังไม่สามารถลงนามในพิธีสารได้ เนื่องจากประเทศที่
ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ (NWS) บางประเทศได้ แจ้ งต่ออาเซียนว่าจะมีข้อสงวนต่อพิธีสารแนบท้ าย
สนธิสญ
ั ญาฯ โดยประเทศสมาชิกอาเซียนอยู่ระหว่างการหารื อกับประเทศ NWS ได้ แก่ จีน ฝรั่งเศส
สหราชอาณาจักร รัสเซีย และ สหรัฐอเมริ กา เพื่อเจรจาให้ ประเทศ NWS ปรับแก้ ถ้อยคาในข้ อสงวนมิให้
กระทบต่อจุดมุ่งหมายของสนธิสญ
ั ญาและสามารถลงนามในพิธีสารโดยเร็วที่สดุ
10. การดาเนินการตาม SEANWFZ Treaty
สถานะล่ าสุด
- เมื่อวันที่ 14-15 พ.ค. 2556 ไทยและสหรัฐอเมริ กาได้ ร่วมกันเป็ นเจ้ าภาพจัดการสัมมนา ASEAN
Regional Forum Confidence Building Measure (CBM) Seminar on Implementation of UNSCR
1540 ครัง้ ที่ 2 โดยการสัมมนาเน้ นเรื่ องความมัน่ คงทางนิวเคลียร์ และการจัดการการค้ าทางยุทธศาสตร์
(Strategic trade management) โดยคานึงถึงผลกระทบทางลบที่เกิดจากความเชื่อมโยงในภูมิภาค
ที่เพิ่มมากขึ ้น ซึง่ อาจทาให้ การขนถ่ายสินค้ าที่สามารถนาไปผลิตเป็ นอาวุธนิวเคลียร์ ได้ นอกจากนี ้
ในการสัมมนาดังกล่าว ผู้แทนจากสานักงานปรมาณูเพื่อสันติยงั ได้ นาเสนอข้ อริ เริ่ มของไทยในการสร้ าง
เครื อข่ายหน่วยงานพิทกั ษ์ ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ ของอาเซียน (ASEAN Network of Regulatory
Bodies on Atomic Energy - ASEANTOM) อีกด้ วย
สาระสาคัญประชาคมอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจ
ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
(ASEAN Economic
Community)
(ASEAN Political-Security
Community)
ตลาด/ฐานการผลิตเดียว
ภูมิภาคที่สามารถแข่ งขัน มี
การพัฒนาที่เท่ าเทียม และ
บูรณาการเข้ ากับเศรษฐกิจโลก
AEC
Blueprint
การเชื่อมโยงทาง
กายภาพ
• คมนาคม
• ICT
• พลังงาน
ประชาธิปไตย โปร่ งใสธรร
มาภิบาล คุ้มครองสิทธิ
มนุษยชน ร่ วมมือแก้ ไขปั ญหา
ข้ ามชาติ ความร่ วมมือ
อาเซียน เพื่อความสงบสุข
เป็ นเอกภาพ
APSC
Blueprint
ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรม (ASEAN SocioCultural Community)
พัฒนามนุษย์ สวัสดิการสังคม
ลดความยากจน ส่ งเสริม
ผู้ด้อยโอกาส สร้ างอัตลักษณ์
อาเซียน แก้ ปญหาสิ่งแวดล้ อม
ASCC
Blueprint
Master Plan on ASEAN Connectivity
การเชื่อมโยงด้ านกฎระเบียบ
• เปิ ดเสรี +อานวยความสะดวกทางการค้ า บริการ
+ การลงทุน
• ความตกลงการขนส่ งในภูมิภาค
• พิธีการในการข้ ามพรมแดน
• เสริมสร้ างศักยภาพ
การเชื่อมโยง
ระหว่างประชาชน
• การศึกษาและวัฒนธรรม
• การท่ องเที่ยว
ก่ อนก้ าวย่ างต่ อไปสู่อาเซียน...
(กลับมาสารวจตัวเองก่ อน)
จุดอ่อน
 ภาษาต่ างประเทศ
 แรงงานขาดแคลน
 ผลจากการเปิ ดชายแดน (ยาเสพติด
อาชญากรรม แรงงานผิดกฎหมาย)
 วัตถุดบิ และแหล่ งนา้ ขาดแคลน
 นวัตกรรมและเทคโนโลยี
 ระบบโลจิสติกส์
 การบูรณาการ
จุดแข็ง

ได้ รับการยอมรับจากประเทศต่ าง ๆ ใน
เรื่องประชาธิปไตย เสรีภาพ และสิทธิ
มนุษยชน

จุดที่ตัง้ (คมนาคม จุดผ่ านแดน)
•
เศรษฐกิจมีความหลากหลายและเข้ มแข็ง

ภาคเกษตร (เน้ นยั่งยืน)

ท่ องเที่ยวและวัฒนธรรม

สุขภาพ ครัวไทย

การคมนาคมทางบก
ประโยชน์ ที่ไทยได้รบั จากประชาคมอาเซียน
การเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ
- มีสันติภาพและมั่นคง
แก้ ไขข้ อพิพาทด้ วยสันติ
- มีความไว้ เนือ้ เชื่อใจกัน
- มีความร่ วมมือเพื่อแก้ ไข
ปั ญหาข้ ามชาติ
- เพิ่มอานาจการต่ อรอง/
การเจรจากับประเทศและ
กลุ่มประเทศต่ าง ๆ
- เสริมสร้ างบทบาทไทย
ในเวทีระหว่ างประเทศ
- เพิ่มพูนการค้ า/การลงทุน
กับประเทศสมาชิก
- ขยายตลาดการค้ า
ได้ ประโยชน์ จากการ
ประหยัดต่ อขนาด
ดึงดูดนักลงทุนจากภายนอก
- ลดต้ นทุนการผลิต
(วัตถุดบิ แรงงาน เงินทุน)
- การทาเขตการค้ าเสรี
ระหว่ างกลุ่ม
- การเคลื่อนย้ ายแรงงาน
วิชาชีพ (มีฝีมือ)
สังคม/วัฒนธรรม
- เร่ งพัฒนาทุนมนุษย์
- ส่ งเสริมการคุ้มครองและ
สวัสดิการสังคม
- แก้ ไขปั ญหาที่มีผลกระทบ
ต่ อสังคม เช่ น โรคระบาด
ยาเสพติด
- ร่ วมมือกันในการลด
ผลกระทบจากสิ่งแวดล้ อม
เช่ น ภัยพิบัติ และส่ งเสริม
ความรับผิดชอบต่ อสังคม
ขององค์ กรธุรกิจ
อนาคตอาเซียนหลังปี 2558
 การรวมตัวของอาเซียนเป็ นกระบวนการต่อเนื่อง ไม่ได้ สิ ้นสุดเมื่อเข้ าสู่ประชาคม
อาเซียนในปี 2558
 อาเซียนในอนาคตต้ องสามารถตอบสนองต่อความท้ าทายและความเปลี่ยนแปลง
ต่างๆ ได้ โดยควรมุง่ เน้ นด้ านต่อไปนี ้
 รักษาสันติภาพและเสถียรภาพ
 บูรณาการทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่อไป
 เพิ่มความสามารถในการรับมือประเด็นท้ าทายใหม่ ๆ
 มุง่ สูก่ ารเป็ นประชาคมที่ตงอยู
ั ้ บ่ นพื ้นฐานความรู้
 รักษาเป็ นความเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกัน เพื่อให้ อาเซียนเป็ นผู้ขบั เคลื่อน
หลักในภูมิภาค
 ยกระดับบทบาทของอาเซียนในเวทีโลก และขยายความร่วมมือกับ
ภูมิภาคอื่น ๆ อาทิ แอฟริกา
การดาเนินการเพื่อให้ ไทยพร้ อม
เข้ าสู่ประชาคมอาเซียน
ต้ องทางานอย่ างบูรณาการอย่ างแท้ จริง (fully integrated)
โดยมีคณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติเป็ นกลไกขับเคลื่อน
มองภาพเดียวกัน มีความเข้ าใจตรงกันเรื่ อง positioning ของ
ไทยและผลประโยชน์หลักที่ไทยต้ องการผลักดัน
Integrate และ synergize แผนงานของกระทรวงต่ างๆ โดย
ควรจะสอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การพัฒนากลไกภายในประเทศ โดยการเสริ มสร้ างบุคลากร
ด้ านอาเซียนในกระทรวงหลัก ๆ และส่งเสริ มให้ ประชาชนมีความรู้
ความเข้ าใจเกี่ยวกับอาเซียนอย่างทัว่ ถึง
บทบาทข้ าราชการฝ่ ายปกครอง
 การแปลงนโยบายเป็ นเชิงรู ปธรรมและปฏิบัติ
 โครงการ เป้าหมาย ทรั พยากรบุคคล งบประมาณ
 ที่ตงั ้ เชิงยุทธศาสตร์ จุดแข็งและจุดอ่ อน ศักยภาพอยู่ท่ ีไหน
 การส่ งเสริมเรื่ องการศึกษา ทักษะ อาชีพ ทัศนคติ
 ความรั บผิดชอบ ธรรมาภิบาล ความโปร่ งใส การต่ อต้ านการทุจริ ต
อาชญากรรมข้ ามชาติ สิทธิมนุษยชน ภัยพิบัติ
 การพัฒนาเยาวชนคนรุ่ นใหม่ เครื่ องมืออุปกรณ์ ส่ ือสาร เทคโนโลยี
สารสนเทศ
 Think Globally, Act Locally
กรมอาเซียน
กระทรวงการต่ างประเทศ
http://www.mfa.go.th/asean
https://www.facebook.com/ASEANThailand.MFA
One Vision
One Identity
One Community