สรุปการเตรียมความพร้อมของไทย

Download Report

Transcript สรุปการเตรียมความพร้อมของไทย

ความเป็ นมาและทิศทาง
ประชาคมอาเซียน
พิทก
ั ษ์
อาเซียน
ต่างประเทศ
2556
โดย บุษฎี สันติ
รองอธิบดีกรม
กระทรวงการ
ว ันที่ 20 พฤษภาคม
รู ้จักประชาคมอาเซียน
ปฏิญญากรุงเทพฯ 8 สิงหาคม
พ.ศ. 2510
Bangkok Declaration (ค.ศ.
1967)
Main Objectives: “To accelerate the economic growth, social progress and cultural
development; to promote regional peace and stability; to maintain close and
beneficial cooperation with existing international and regional organizations..”
ว ัตถุประสงค ์ของอาเซียน
•
•
•
•
•
ส่งเสริมความเข้าใจอ ันดีระหว่าง
ประเทศสมาชิก
ธารงสันติภาพ เสถียรภาพ ความ
่
มันคง
เสริมสร ้างเศรษฐกิจและความกินดี
อยู ่ดข
ี องประชาชน
พัฒนาสังคมและว ัฒนธรรม
ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก
ASEAN Factsheet
อาเซียนถือ
่
กาเนิ ดทีประเทศ
ไทย ในปี 2510
สมาชิกผู ก
้ อ
่ ตัง้
• ไทย
• มาเลเซีย
• อินโดนี เซีย
• ฟิ ลิปปิ นส ์
• สิงคโปร ์
่
สมาชิกเพิมเติ
ม
+ บรูไนฯ ปี
2527
+ เวียดนาม
ปี
2538
+ ลาว ปี
2540
+ พม่า ปี
ความสาคัญของอาเซียน
• ประชากร – 604.8 ล้านคน
้ -่ 4.5 ล้าน ตาราง กม.
• พืนที
• GDP รวม 2,178 พันล้าน USD
• การค้ารวม 2,389 พันล้าน USD
• การลงทุนจากต่างประเทศ 114,111
ล้าน USD
ทีม
่ า : www.asean.org ASEAN Statistics 2011
ความสาคัญของอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชากร 604 ล ้านคน
เปรียบเทียบก ับ
GDP ขนาด 2.18 ล ้านล ้าน
สหรัฐฯ
สหภาพยุโรป
(อันดับ 3 ของโลก)
= 5.7 เท่าของไทย
(อันดับ 9 ของโลก)
การค ้าระหว่างประเทศ 2.3 ล ้าน
ล ้านดอลลาร์สหรัฐฯ
= 5 เท่าของไทย
(อันดับ 5 ของโลก)
การลงทุนโดยตรง 114 พันล ้าน
ดอลลาร์สหรัฐฯ
= 60% ของจีน
(1 ใน 10 ของโลก)
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
(GDP growth)
= 4.7%
›
ความสาค ัญของอาเซียนต่อไทย
้ั
• อาเซียนเป็ นตลาดส่งออกอ ันดับ 1 ของไทยตงแต่
2545 และ
้ั
เป็ นแหล่งนาเข้าอ ันด ับที่ 2 ตงแต่
ปี 2540 จนถึงปั จจุบน
ั
• ในปี 2555 มู ลค่าการค้า 96,670 ล้าน USD ประมาณ ร ้อยละ
้
20 ของมู ลค่าการค้าทังหมดของไทยและไทยได้
เปรียบ
ดุลการค้าอาเซียนถึง 16,390 ล้าน USD
• สมาชิกอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทย ประมาณ 20% ของการ
้
ลงทุนจากต่างประเทศทังหมด
่
• นักท่องเทียวกว่
า 6 ล้านคน คิดเป็ นร ้อยละ 28 ของ
่
้ั
่ ด)
นักท่องเทียวต่
างชาติทงหมด
(มาเลเซียมาไทยมากทีสุ
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
่ 20 พ.ย. 2550 ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนครงที
้ั ่
• เมือ
่ นเสมือนธรรมนู ญ
13 ผู น
้ าอาเซียนลงนามกฎบัตรอาเซียน ซึงเป็
่
ของอาเซีย นทีจะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร
า้ งองค ์กร
โดยมีเป้ าหมาย 3 ประการ คือ
-
มีกฎกติกาในการทางาน (Rulesbased)
- มีประสิทธิภาพ (effective)
มีประชาชนเป็ นศู นย ์กลาง (peoplecentered)
่ 15 ธ.ค. 2551
• มีผลใช้บงั ค ับเมือ
11
นโยบายร ัฐบาล
นาประเทศไทยไปสู ่การเป็ น
ประชาคมอาเซียนในปี 2558
อย่างสมบู รณ์ โดยสร ้างความ
พร ้อมและความเข้มแข็ง ทัง้
ทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรม และการเมืองและความ
่
มันคง”
“
สาขาความร่วมมือของ
อาเซียน
ด้านการเมืองและ
่
ความมั
นคง
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคมและ
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
(ASEAN Political-Security Community: APSC)
วัตถุประสงค ์
่
• ส่งเสริมสันติภาพและความมันคงของภู
มภ
ิ าค
• อยู ่รว
่ มกันโดยสันติสุข
• สามารถแก้ไขปั ญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวธ
ิ ี
้ั
แผนงานการจัดตงประชาคมการเมื
องและความ
่
มันคงมี
เป้ าหมายหลัก
้
• มีกฎกติกาเป็ นพืนฐานภายใต้
คา
่ นิ ยมร่วมกัน
่
• มีความร ับผิดชอบร่วมกันในการร ักษาความมันคง
สาหร ับ
่
ประชาชนทีครอบคลุ
มอย่างรอบด้าน เช่น ภัย
พิบต
ั ิ
ประชาคมการเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2558
1. เป็ นตลาดและฐานการผลิต
2.ร่วสร
ม ้างเสริมขีดความสามาร
่
เคลือนย
้ายสินค ้าเสรี
่
เคลือนย
้ายบริการอย่างเสรี
่
เคลือนย
้ายการลงทุนอย่างเสรี
่
เคลือนย
้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
่
เคลือนย
้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึน้
e-ASEAN
นโยบายภาษี
นโยบายการแข่งขัน
สิทธิทร ัพย ์สินทางปัญญา
การคุมครองผู
้
บ้ ริโภค
้
พัฒนาโครงสร ้างพืนฐาน
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
4. การบู รณาการเข้ากับเศร
ลดช่องว่างการพัฒนา
ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่
สนับสนุ นการพัฒนา SMEs
ปร ับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
สร ้างเครือข่ายการผลิต จาหน่ า
จัดทา FTA กับประเทศนอกภูมภ
ิ
15
คุณลักษณะของประชาคมการเศรษฐกิจอาเซียน
เป็ นตลาดและฐานผลิตเดียวกัน
เปิ ดเสรีการค้า
ลดภาษีเหลือร ้อยละ 0 ในปี 2553
เปิ ดเสรีการค้า
บริการ
เปิ ดเสรีบริการเร่งร ัด 4 สาขา
่ โลจิ
(e-ASEAN, สุขภาพ ท่องเทียว
สติกส ์)
ส่งเสริมและคุม
้ ครองการลงทุนระหว่าง
ประเทศอาเซียนภายใต้หลัก National
Treatment
่
ส่งเสริมการเชือมโยงตลาดทุ
นระหว่าง
กันและพัฒนาตลาดพันธบัตรมาตรการ
เปิ ดเสรีบญ
ั ชีทุน
เปิ ดเสรีการ
ลงทุน
เปิ ดเสรีการ
่
เคลือนย้
าย
เงินทุน
คุณลักษณะของประชาคมการเศรษฐกิจอาเซียน
มีขด
ี
ความสามารถ
ในการแข่งขัน
สู ง
เน้นการดาเนิ นนโยบายการแข่งขัน e้
ASEAN การพัฒนาโครงสร ้างพืนฐาน
การคุม
้ ครองทร ัพย ์สินทางปั ญญา การ
พัฒนา ICT และพลังงาน
มีพฒ
ั นาการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจที่ ของ SMEs
เท่าเทียมกัน ให้ความช่วยเหลือแก่สมาชิกใหม่
่
(CLMV) เพือลดช่
องว่างระดับการพัฒนา
มีการบู รณาการ ปร ับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
เข้ากับเศรษฐกิจ เน้นการจัดทา FTA++
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)
วัตถุประสงค ์
่ ประชาชนเป็ นศู นย ์กลาง มี
มุ่งหวังเป็ นประชาคมทีมี
่ ออาทรและแบ่
้
สังคมทีเอื
งปั น ให้ประชาชนมีการกินดี
่
อยู ด
่ ี ปราศจากโรคภัย มีสงแวดล้
ิ่
อมทีดี
มี
ความรู ้สึกเป็ นอ ันหนึ่งอ ันเดียวกัน
้
แผนการจัดตังประชาคมฯ
ประกอบด้วยความร่วมมือ 6
ด้าน ได้แก่
• การพัฒนาทร ัพยากรมนุ ษย ์
• การคุม
้ ครองและสวัสดิการสังคม
• ความยุตธ
ิ รรมและสิทธิ
่ นด้านสิงแวดล้
่
• ส่งเสริมความยังยื
อม
• การสร ้างอ ัตลักษณ์อาเซียน
• การลดช่องว่างทางการพัฒนา
ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน
การพัฒนา
ทร ัพยากรมนุ ษย ์
ความยุตธ
ิ รรมและ
สิทธิ
การคุม
้ ครองและ
สวัสดิการสังคม
่ นด้าน
การส่งเสริมความยังยื
่
สิงแวดล้
อม
การลดช่องว่าง
ทางการพัฒนา
รวมใจ
เป็ นหนึ่ง
การสร ้างอัตลักษณ์
อาเซียน
ไม่
เจ็บป่ วย
ไม่จน
มี
การศึกษ
า
ปลอดภัย
FTA between ASEAN and Partners
ASEAN-China FTA
ASEAN-Korea FTA
RCEP (Regional
Comprehensive
Economic
Partnership)
ASEAN-Japan CEP
Market Size
ASEAN-India FTA
AEC: 604 million
RCEP: 3,365 million
ASEAN-Australia- New
Zealand FTA
เสาการเมือง
และความมั่นคง
มั่นคง
เสาเศรษฐกิจ
มั่งคัง่
เสาสังคม
และวัฒนธรรม
้
เอืออาทรและ
แบ่งปันกัน
ประชาคมอาเซียนภายในปี
2558
่
ความเชือมโยงระหว่
างกันในอาเซียน
(ASEAN Connectivity)
่
่
• เป็ นผลจากความริเริมของไทยในช่
วงทีไทย
่ 2552
เป็ นประธานอาเซียนเมือปี
่
• แผนแม่บทฯ ระบุการเชือมโยง
3 ด้าน คือ
้
ด้านโครงสร ้างพืนฐานด้
านกฎระเบียบ และ
ด้านประชาชน
้ั ่ 18 ผู น
• ในการประชุมสุดยอด ครงที
้ า
่
อาเซียนได้สนับสนุ นข้อเสนอของไทยทีจะให้
่ วย
่
่
ขยายไปถึ
งภู มภ
ิ าคอืนด้
มีการเชือมโยงที
(Connectivity Plus)
่
การเชือมโยงในอาเซี
ยนเป็ นผล
่
สืบเนื่องจากความริเริมของไทย
่
ในช่วงทีไทยเป็
นประธานอาเซียน
่ 2552
เมือปี
ได้มก
ี ารจัดทาแผนแม่บทฯ
(ASEAN Master Plan on
Connectivity) โดยระบุการ
่
เชือมโยงเป็
น 3 รู ปแบบ คือ ด้าน
กายภาพ ด้านสถาบัน/ระบบ และ
่
การเชือมโยงระหว่
างประชาชน
่
การเชือมโยงจะมี
สว
่ นสาคัญในการ
สนับสนุ นการสร ้างประชาคมของ
อาเซียน โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ
โดยไทยน่ าจะได้นบ
ั ผลประโยชน์
่ ด ในฐานะทีเป็
่ นศูนย ์กลาง
มากทีสุ
่
ของเครือข่ายการเชือมโยง
้ั ่ 18
ในการประชุมสุดยอด ครงที
ผู น
้ าอาเซียนได้สนับสนุ นข้อเสนอ
่
่
่
ของไทยทีจะให้
มก
ี ารเชือมโยงที
่ วย
ขยายไปถึงภู มภ
ิ าคอืนด้
(Connectivity Plus)
ประชาคมอาเซียนกับงานด้าน
สาธารณสุข
่
• ประชาคมการเมืองและความมันคง
อาเซียน
่
(ประเด็นความมันคงรู
ปแบบใหม่)
• ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ภายใต้
ความตกลงว่าด้วยบริการของอาเซียน
การเปิ ดตลาดบริการสาขาวิชาชีพ
ด้านสุขภาพของ ปท. สมาชิกอาเซียน
่
และ การเชือมโยงระหว่
างก ันใน
อาเซียน)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กับแรงงาน
AEC Blueprint
กาหนดเป้ าหมายการ
เปิ ดเสรีการค้าบริการ
4 รู ปแบบ คือ
(1) ไม่มข
ี อ
้ จากัดสาหร ับการค้าบริการข้าม
พรมแดน (Mode 1 : การให้บริการข้าม
พรมแดน และ
Mode 2 : การบริโภคในต่างประเทศ)
(2) ให้นก
ั ลงทุนอาเซียนเข้ามาลงทุนในธุรกิจ
บริการ (Mode 3 :
้ รกิจ) และสามารถถือหุน
การจัดตังธุ
้ ได้อย่าง
ข้อผู กพันการเปิ ดเสรีการค้าบริการ
สาขาบริการทัง้ 12 ได้แก่
บริการธุรกิจ
สุขภาพ
บริการทางการศึกษา
บริการขนส่ง
บริการด้านนันทนาการ
ก่อสร ้างและวิศวกรรม
่
บริการสือสาร
่
การท่องเทียว
บริการทางการเงิน
่
บริการสิงแวดล้
อม
บริการจัดจาหน่ าย
บริการ
บริการ
บริการด้าน
่
และบริการอืนๆ
ยนสามารถถือหุน
้ ได้ถงึ 70% ในธุรกิจบริการในอาเ
ปี 2549
(2006)
สาขาเร่งร ัดการรวมกลุ่ม
e-ASEAN (โทรคมนาคมคอมพิวเตอร ์) สุขภาพ/
่
ท่องเทียว/การบิ
น
PIS: Priority
Integration Sectors
โลจิ
สติกส ์
สาขา
่
อืนๆ
49%
ปี 2551
(2008)
51%
ปี 2553
(2010)
ปี 2556
(2013)
ปี 2558
(2015)
70%
49%
51%
49%
51%
70%
70%
เป้ าหมายการเปิ ดเสรีบริการ = 128 สาขาย่อย
ไทยสามารถขยายธุรกิจบริการในอาเซียนได้ โดยเฉพาะในสาขาที่
่ โรงแรม ร ้านอาหาร สุขภาพ
ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเทียว
้ งดู ดการลงทุนเข้ามา
ซ่อมรถ ก่อสร ้าง การศึกษา เป็ นต้น รวมทังดึ
้ ในขณะเดียวกัน เป็ นช่องทางให้อาเซียนเข้า
ในประเทศมากขึน
้ เกิดการแข่งขัน ทาให้
มาประกอบธุรกิจบริการในไทยได้สะดวกขึน
้
เอกชนไทยมีโอกาสพัฒนาธุรกิจมากขึน
FLEXIBILITY
สามารถไม่เปิ ด
เสรี ในบาง
สาขาย่อยได้
การเตรียมความพร ้อมของ
ไทยใน
การเข้าสู ่
ประชาคมอาเซียน
การบูรณาการยุทธศาสตร ์ประเทศกับยุทธศาสตร ์
เข ้าสูป
่ ระชาคมอาเซียน
 ยุทธศาสตร ์ประเทศ
1) Growth & Competitiveness
2) Inclusive Growth
3) Green Growth
4) Internal Process
+ ยุทธศาสตร ์เข้าสู ่ประชาคม
อาเซียน 8 ด้าน
= ยุทธศาสตร ์ประเทศ 1) Growth &
Competitiveness
2) Inclusive Growth 3) Green
นโยบายร ัฐบาล
่ ันที่ 22 มกราคม 2556
• เมือว
่ บเคลือน
่
นายกร ัฐมนตรีประกาศนโยบายเพือขั
ยุทธศาสตร ์ประเทศ 4 ด้าน
1) ยุทธศาสตร ์การสร ้างขีดความสามารถในการ
แข่งขัน
2) ยุทธศาสตร ์การสร ้างโอกาสความเสมอภาคและ
เท่าเทียมก ันทางสังคม
3) ยุทธศาสตร ์การสร ้างการเติบโตบนคุณภาพชีวต
ิ ที่
่
เป็ นมิตรต่อสิงแวดล้
อม
4) ยุทธศาสตร ์การปร ับสมดุลและพัฒนาระบบการ
บริหารจัดการภาคร ัฐ
การเตรียมความพร ้อมของประเทศไทย
ภาพรวม
• การผนวกวิสย
ั ทัศน์และแผนปฏิบต
ั ก
ิ าร
ของอาเซียนเข้าสู ่นโยบายของร ัฐบาลและ
่
ส่วนราชการ เพือผลั
กดันให ้ไทยสามารถบรรลุ
่ ้นาอาเซียนมีรว่ มกัน
วิสยั ทัศน์หรือเป้ าประสงค ์ทีผู
่
• การประสานนโยบายเกียวกั
บอาเซียนผ่าน
คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ
• การสร ้างองค ์ความรู ้ของหน่ วยราชการ
่ นต่อเหตุการณ์
ร ับทราบข ้อมูลอาเซียนทีทั
่
บุคลากรมีความรู ้ความเข ้าใจเกียวกั
บอาเซียน
การเตรียมความพร ้อมของประเทศไทย
• ทุนมนุ ษย ์ : การวางแผนพัฒนาทร ัพยากรมนุ ษย ์ การ
วางแผนผลิตบุคลากรให ้สอดคล ้องกับความต ้องการของ
ตลาดในประเทศและต่างประเทศ อาทิ ปริมาณกาลังคน
ภาษา
้ อการแข่งขันที่
• การพัฒนากฎระเบียบให ้ทันสมัยและเอือต่
เป็ นธรรม
่ ยวข
่
• พัฒนามาตรฐานธุรกิจและมาตรฐานวิชาชีพทีเกี
้องสู่
ระดับนานาชาติ
• ให ้ความสาคัญกับการพัฒนา และถ่ายโอนเทคโนโลยี
• มาตรการสนับสนุ นของภาคร ัฐ อาทิ เงินทุน ข ้อมูลเชิงลึก
สรุปการเตรียมความพร ้อมของไทย
ิ
• พัฒนาภาษาอังกฤษ เรียนรู ้ภาษาประเทศสมาชก
ี น
อาเซย
ึ ษาและทาความเข ้าใจพันธกรณีของไทยและ
• ศก
การดาเนินการภายใต ้แผนการจัดตัง้ ประชาคม
ี นทัง้ สามเสา
อาเซย
ึ ษา และเรียนรู ้ขนบธรรมเนียมประเพณี
• เข ้าใจ ศก
ี น เพือ
วัฒนธรรมของชาติตา่ ง ๆ ในอาเซย
่ เข ้าใจ
ี นอืน
และรับมือกับการทางานของคนชาติอาเซย
่ ๆ
• สร ้างเครือข่ายของผู ้ทีเ่ กีย
่ วข ้องในด ้านสาธารณสุข
ี น
ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับอาเซย
่
เว็บไซต ์เกียวกับอาเซี
ยน
• www.asean.org
• www.mfa.go.th/asean
• www.dtn.moc.go.th (ศูนย ์ข ้อมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน)
• www.aseanwatch.org
• www.cil.nus.edu.sg
• www.aseanmedia.net