ประชาคมอาเซียน

Download Report

Transcript ประชาคมอาเซียน

ประเทศไทยกับอาเซียนและ
การก้ าวเข้ าสู่ประชาคมอาเซียน
ในปี พ.ศ. 2558
โดย น.ส.บุษฎี สันติพทิ ักษ์
รองอธิบดีกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
30 มีนาคม 2555
ความเป็ นมา
•
•
•
ก่ อตัง้ :
8 สิงหาคม 2510 โดย รมว.กต. อินโดนีเซีย มาเลเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ และไทย ลงนามใน “ปฏิญญากรุ งเทพฯ”
สมาชิก : 10 ประเทศ โดยมีสมาชิกเพิ่มเติม ได้ แก่ บรู ไน (2527)
เวียดนาม (2538) ลาว เมียนมาร์ (2540) และกัมพูชา (2542)
เป้าหมาย : จัดตัง้ ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558
ซึ่งประกอบด้ วย 3 เสาหลัก ได้ แก่
1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
2
จุดเริ่มต้ นของอาเซียน
ASEAN Factsheet
ประชากร – 600.18 ล้ านคน (ปี 2553)
พืน้ ที่- 4.5 ล้ าน ตร. กม.
ศาสนาหลัก- อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู
GDP รวม 1.843 ล้ านล้ าน ดอลลาร์ สหรัฐ
วัตถุประสงค์ ของอาเซียน

ส่ งเสริมความเข้ าใจอันดีระหว่ างประเทศสมาชิก
ธารงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง

เสริมสร้ างเศรษฐกิจและความอยู่ดกี นิ ดีของประชาชน

พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม

ส่ งเสริมความร่ วมมือกับภายนอก และองค์ การระหว่ าง

ประเทศต่ างๆ
บทบาทสาคัญของไทยในอาเซียน
• ไทยเป็ น 1 ใน 5 ประเทศสมาชิกผู้ก่อตัง้ อาเซียน
(อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ และไทย )
• ไทยผลักดันให้ มีการจัดตัง้ เขตการค้ าเสรีอาเซียน (AFTA)
เมื่อปี 2535
• ริเริ่มเรื่องการเสริมสร้ างความเชื่อมโยงระหว่ างกันใน
อาเซียนและกับนอกภูมิภาค (Enhanced ASEAN
Connectivity & beyond)
6
ความสาคัญของอาเซียนต่ อไทย
ในด้ านเศรษฐกิจ
• ท่ องเที่ยว ไทยมีนักท่ องเที่ยวอาเซียน 4.5 ล้ านคน คิดเป็ นร้ อยละ
28.6 ของนักท่ องเที่ยวต่ างชาติทงั ้ หมด(ปี 2553)
• การค้ า เป็ นคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย มีมูลค่ าการค้ าระหว่ างกัน
74,696 ล้ าน USD คิดเป็ นร้ อยละ 19.99 ของมูลค่ าการค้ าทัง้ หมด
ของไทยและไทยได้ เปรียบดุลการค้ า 1 หมื่นล้ านดอลลาร์ สหรั ฐฯ
• การลงทุน สมาชิกอาเซียนเข้ ามาลงทุนในไทย 811.36 ล้ าน
ดอลลาร์ สหรัฐ และไทยไปลงทุนในอาเซียน 1,962.01 ล้ าน
ดอลลาร์ สหรัฐ (ปี 2553)
ประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community)
8
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ปี 2558 (2015)
ประชาคม
การเมืองและ
ความมั่นคง
อาเซียน
(APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจ
(AEC)
ประชาคม
สังคม-วัฒนธรรม
อาเซียน
(ASCC)
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
• ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั ง้ ที่ 13 เมื่อ 20 พ.ย. 2550 ผู้นา
อาเซียนได้ ลงนามกฎบัตรอาเซียน ซึ่งเป็ นเสมือนธรรมนู ญของ
อาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้ างองค์ กร โดยมี
เป้าหมาย 3 ประการ คือ
- มีกฎกติกาในการทางาน (Rules-based)
- มีประสิทธิภาพ
- มีประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง
• มีผลใช้ บังคับเมื่อ 15 ธ.ค. 2551
กฎบัตรอาเซี
ยนต(ASEAN
กฎบั
รอาเซียนCharter)
• ในแง่ กฎหมาย : ธรรมนูญ (Constitution)
เป็ นการก่ อตัง้ ASEAN ให้ เป็ นองค์ การระหว่ าง
ประเทศ
ยืนยันการมีนิตฐิ านะของ ASEAN
ทาให้ ASEAN อยู่บนพืน้ ฐานของกฏเกณฑ์
การจัดโครงสร้ างภายใน ASEAN
กฎบัตรอาเซี
ยนต(ASEAN
กฎบั
รอาเซียนCharter)
• ด้ านการเมือง
 ระบุหลักการสาคัญ อาทิ การไม่
แทรกแซงกิจการภายใน การเคารพใน
อธิปไตยและบูรณภาพแห่ งดินแดน
การระงับข้ อพิพาทโดยสันติวิธี เป็ นต้ น
 หลักฉันทามติ Consensus
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
• สร้ างกฎเกณฑ์ และค่ านิยมร่ วมกัน ด้ านประชาธิปไตย
สิทธิมนุษยชน
• มีเอกภาพ สงบสุข แข็งแกร่ ง และรั บผิดชอบแก้ ไขปั ญหา
ความมั่นคงร่ วมกัน
• มีปฏิสัมพันธ์ กับโลกภายนอก และคงความเป็ นศูนย์ กลาง
และบทบาทของอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. เป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม
เคลื่อนย้ ายสินค้ าเสรี
เคลื่อนย้ ายบริการอย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายการลงทุนอย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน
ปี 2558
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
ลดช่องว่างการพัฒนา
ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่
สนับสนุนการพัฒนา SMEs
e-ASEAN
นโยบายภาษี
นโยบายการแข่งขัน
สิทธิทรัพย์สนิ ทางปัญญา
การคุ้มครองผู้บริโภค
พัฒนาโครงสร้ างพื้นฐาน
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
สร้ างเครือข่ายการผลิต จาหน่าย
จัดทา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
14
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
•
•
•
•
•
•
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
ความยุตธ
ิ รรมและสิทธิ
การส่งเสริมความยัง่ ยืนด้านสิง่ แวดล้อม
การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
 ไม่ จน
การลดช่องว่างทางการพัฒนา




ไม่ เจ็บป่ วย
มีการศึกษา
ปลอดภัย
รวมใจเป็ นหนึ่ง
แผนแม่ บทว่ าด้ วยความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
ความเชื่อมโยงด้ าน
โครงสร้ างพืน้ ฐาน
ความเชื่อมโยงด้ านกฎระเบียบ
• เปิ ดเสรีและอานวยความสะดวก
• คมนาคม
ทางการค้ า
• เทคโนโลยีสารสนเทศ
• เปิ ดเสรี และอานวยความสะดวกใน
การบริการและการลงทุน
• พลังงาน
• ความตกลง/ข้ อตกลงยอมรั บร่ วมกัน
• ความตกลงการขนส่ งในภูมิภาค
• พิธีการในการข้ ามพรมแดน
• โครงการเสริมสร้ างศักยภาพ
ความเชื่อมโยง
ด้ านประชาชน
• การศึกษาและ
วัฒนธรรม
• การท่ องเที่ยว
ความสัมพันธ์ กับภายนอกภูมิภาค
U.S.A. Australia
Canada
Russia
New
Zealand
ASEAN
Republic
of
China
E.U.
Korea
Japan
India
17
การเตรียมความพร้ อม
สู่ประชาคมอาเซียน
ภาครัฐ
- จัดตัง้ คณะกรรมการอาเซียนแห่ งชาติ
- ผลักดันการตัง้ ASEAN Unit ในทุกหน่ วยงาน
- จัดฝึ กอบรมเพื่อพัฒนาข้ าราชการ
- จัดทาหลักสูตรอาเซียน
- แก้ ไขและปรับปรุ งกฎหมาย
- เพื่อให้ สอดคล้ องกับพันธกรณี
- เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่ งขัน
ภาคเอกชน
- พัฒนาศักยภาพของภาคเอกชน (SMEs) และ
แรงงานไทย เพื่อแข่ งขันในตลาดอาเซียน
- ใช้ ประโยชน์ จากที่ตงั ้ ของไทย เป็ น “regional hub”
- ส่ งเสริมการสร้ างเครือข่ ายนักธุรกิจในอาเซียน
- ส่ งเสริมการใช้ ประโยชน์ จาก FTA
- จัดทายุทธศาสตร์ เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิด
จากการเปิ ดเสรี
ภาคประชาชนและภาคการศึกษา
สร้ าง “คนไทยสาหรั บโลกอาเซียน”
• ทักษะภาษา - อังกฤษ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น
ภาษาประเทศสมาชิกอาเซียน
• รู้ จัก เข้ าใจ และเป็ นมิตรกับประเทศเพื่อนบ้ านอาเซียน
• พัฒนาการศึกษา ให้ ตอบสนองตลาดแรงงาน (พัฒนาและปรั บทัศนคติ
ต่ อการเรี ยนในสายอาชีพ)
• ศึกษาข้ อมูลของประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงการสร้ างความตระหนักรู้ เรื่ องอาเซียน
ของกระทรวงการต่ างประเทศ
-
อาเซียนสัญจร
โครงการสัมมนาครู ต้นแบบสู่ประชาคมอาเซียน
ค่ ายยุวทูตอาเซียน
การบรรยายตามหน่ วยงานต่ างๆ
จัดสัมมนา
22
เว็บไซต์ เกี่ยวกับอาเซียน
www.mfa.go.th/asean
www.dtn.moc.go.th (ศูนย์ ข้อมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน)
www.aseansec.org
www.southeastasia.org
www.aseanwatch.org
www.cil.nus.edu.sg
www.aseanmedia.net
23
•www.mfa.go.th/ASEAN
•[email protected]
• รายการ “เราคืออาเซียน” วิทยุสราญรมย์
AM 1575 Khz ทุกวันอังคาร เวลา 17.30 – 18.00 น.
• Facebook “เราคืออาเซียน”
One Vision
One Identity
One Community
24