ดร. สุริยา จินดาวงษ์ - ศูนย์ สิทธิ มนุษย ชน

Download Report

Transcript ดร. สุริยา จินดาวงษ์ - ศูนย์ สิทธิ มนุษย ชน

ข้าราชการไทยกับประชาคมอาเซียน
ดร. สุริยา จินดาวงษ์
ผู้อานวยการกองการเมืองและความมั่นคง
กรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
20 มิถุนายน 2557
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ
(Bangkok Declaration) เมือ่ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN CHARTER)
มีผลใช้บังคับเมือ
่ 15 ธ.ค. 2551
ในแง่กฎหมาย : เป็ นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนทีจ
่ ะ
วางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างของอาเซียน
ทาให้อาเซียน
- เป็ นองคการระหว
างประเทศ
ยืนยันนิตฐ
ิ านะของ
่
์
ASEAN
- มีกฎกติกาในการทางาน เพือ
่ ให้อาเซียนเป็ น
Rules Based Organization
- มีประสิ ทธิภาพ โดยการจัดโครงสร้างภายใน
อาเซียน
- มีประชาชนเป็ นศูนยกลางและส
่ งเสริม/ปกป้องสิ
์
ทธฺมนุ ษยชน
3
ในแง่การเมือง : เจตจานงคทางการเมื
อ
งในการ
์
ประชาคมอาเซียนไม่ใช่เป็ น….
•
•
•
•
•
สหภาพอาเซียนที่มีลักษณะเหมือนสหภาพยุโรป
องค์ การเหนือรัฐ (supranational organization)
องค์ การที่มีนโยบายความมั่นคงและต่ างประเทศร่ วมกัน
ตลาดร่ วม (common market)
พืน้ ที่ท่ ใี ช้ เงินสกุลเดียวกัน (single currency area)
ประชาคมอาเซียนคือการ….
• มีกติกาและมีการพัฒนาค่ านิยมและบรรทัดฐานร่ วมกัน
• ให้ ภูมภิ าคมีความเป็ นเอกภาพ ความสงบสุข ความแข็งแกร่ ง และความ
รั บผิดชอบร่ วมกันแก้ ไขปั ญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ
• ให้ ภูมภิ าคมีพลวัตรและมองไปยังโลกภายนอก
• เป็ นตลาดและฐานการผลิดร่ วม
• สร้ างเสริมขีดความสามารถแข่ งขัน
• การพัฒนาเศรษฐกิจอย่ างเสมอภาค
• การบูรณาการเข้ ากับเศรษฐกิจโลก
• เป็ นสังคมที่ caring and sharing และมีประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง
ความสาคัญของอาเซียน
• ก่อตั้งที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีส่วนขับเคลื่อน
• อาเซียนเป็ นวาระแห่งชาติ
• ผลประโยชน์และกิจกรรมของอาเซียนช่วยส่งเสริมผลประโยชน์
ของไทย
• อาเซียนเสริมสร้างบทบาทของไทยในภูมิภาคและเวทีโลก
ขนาดและความสาคัญของเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชากร 604 ล้ านคน
(อันดับ 3 ของโลก)
GDP ขนาด 2.18 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ
(อันดับ 9 ของโลก)
เปรี ยบเทียบกับ
›
สหภาพยุโรป
= 5.7 เท่าของไทย
การค้ าระหว่างประเทศ 2.3 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ
(อันดับ 5 ของโลก)
= 5 เท่าของไทย
ต่างชาติมาลงทุนในอาเซียน 114 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ
= 60% ของการลงทุนของ
ต่างชาติในจีน
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP growth)
= 4.7%
ความสาคัญทางเศรษฐกิจของ
อาเซียนต่อไทย
• อาเซียนเป็ นตลาดส่ งออกอันดับ 1 ของไทยตัง้ แต่ 2545 และเป็ นแหล่ ง
นาเข้ าอันดับที่ 2 ตัง้ แต่ ปี 2540 จนถึงปั จจุบัน
• ในปี 2555 มูลค่ าการค้ า 96,670 ล้ าน USD ประมาณ ร้ อยละ 20 ของ
มูลค่ าการค้ าทัง้ หมดของไทยและไทยได้ เปรี ยบดุลการค้ าอาเซียนถึง
16,390 ล้ าน USD
• สมาชิกอาเซียนเข้ ามาลงทุนในไทย ประมาณ 20% ของการลงทุนจาก
ต่ างประเทศทัง้ หมด
• นักท่ องเที่ยว 5.6 ล้ านคน คิดเป็ นร้ อยละ 30% ของนักท่ องเที่ยวต่ างชาติ
ทัง้ หมด (มาเลเซียมาไทยมากที่สุด)
FORECASTS IN GDP GROWTH
องค์ประกอบของประชาคมการเมือง
และความมันคงอาเซี
่
ยน
• ประชาคมการเมือง
• มีค่านิยมร่ วมกัน (ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน)
• มีวสิ ัยทัศน์ ทางการเมืองร่ วมกัน
• เน้ นเรื่องการมีกติกา (rules-based)
• ประชาคมความมั่นคง
• Traditional Security Issues
• Non-Traditional Security Issues
• Comprehensive Security
ความท้าทายด้านการเมือง
และความมันคงในภู
่
มิภาค
• ความท้ าทายด้ านการเมือง
• วัฒนธรรมทางการเมืองและวิสัยทัศน์ ท่ หี ลากหลาย
• หลักการไม่ แทรกแซงในกิจกรรมภายในประเทศและ
การส่ งเสริมผลประโยชน์ ของภูมิภาค
• ความท้ าทายด้ านความมั่นคง
• Traditional: ความขัดแย้ งในเรื่องการอ้ างสิทธิทบั ซ้ อน
• Non-Traditional: อาชญากรรมข้ ามชาติและภัยคุกคาม
ข้ ามพรมแดนอื่นๆ
สภาพแวดล้ อมที่มีผลกระทบต่ อการดาเนินนโยบายของอาเซียน
 เปลี่ยนจากโลก 2 ขัว้ ในยุคสงครามเย็น เป็ นโลกที่มีประเทศมหาอานาจ
ทัง้ ด้ านการเมือง เศรษฐกิจ รวมทัง้ มี emerging powers มากขึน้
สภาพแวดล้ อม
ทางการเมือง
ระหว่ างประเทศ
 สหรัฐฯ ประสบปั ญหาบทบาทผู้นา และความท้ าทายจาก
สถานการณ์ ในตะวันออกกลาง / เกาหลีเหนือ ในขณะที่พยายามดาเนิน
นโยบายปรับความสมดุลทางยุทธศาสตร์ (Strategic Rebalancing) ต่ อ
เอเชีย
เพื่อกลับเข้ ามามีบทบาทนาอีกครัง้
 รัสเซียพยายามกลับมามีบทบาทในระดับโลกอีกครัง้ โดยใช้ นา้ มัน
และก๊ าซธรรมชาติ และนากลุ่ม BRICS (Brazil, Russia, India, China,
South Africa) ให้ มาคานอิทธิพลสหรัฐฯ
 จีนและอินเดียเพิ่มบทบาทมากขึน้ ในภูมภิ าค โดยเฉพาะในด้ าน
เศรษฐกิจ (Rising Asia – competitive, prosperous)
 ญี่ปุ่นพยายามคงบทบาทของตนในภูมภิ าค
 Transnational Crimes ปั ญหาความมั่นคงมีความซับซ้ อน และมี
หลายมิตมิ ากขึน้ การก่ อการร้ ายสร้ างความไม่ แน่ นอนในสถานการณ์
คุณลักษณะประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. เป็ นตลาดและฐานการผลิตรวม
่
2. สรางเสริ
มขีดความสามารถแขงขั
้
่ น
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค
่
4. การบูรณาการเขากั
้ บเศรษฐกิจโลก
14
คุณลักษณะของประชาคมเศรษฐกิจ
1. เป็ นตลาดและฐานผลิตเดียวกัน
เคลือ
่ นย้ายสิ นคา้
เสรี
เปิ ดเสรีการคาสิ
0
้ นคา้ ลดภาษีเหลือรอยละ
้
ในปี 2553
เคลือ
่ นย้ายบริการ เปิ ดเสรีบริการเรงรั
่ ด 4 สาขา
อยางเสรี
(e-ASEAN, สุขภาพ ทองเที
ย
่ ว โลจิ
่
่
สติกส์)
เคลือ
่ นย้ายการ
ลงทุนอยางเสรี
่
เปิ ดเสรีการลงทุน ส่งเสริมและคุมครองการ
้
ลงทุนระหวางประเทศอาเซี
ยนภายใตหลั
่
้ ก
National Treatment
เคลือ
่ นย้าย
ลงนาม MRA วิชาชีพ 7 สาขา (วิศวกร
แรงงานฝี มืออยาง
พยาบาล สถาปนิก นักสารวจ แพทย ์
่
เสรี
ทันตแพทย ์ และนักบัญชี)
ทาให้การ
ส่งเสริมการเชือ
่ มโยงตลาดทุนระหวางกั
นและ
่
เคลือ
่ นย้ายเงินทุน พัฒนาตลาดพันธบัตรมาตรการเปิ ดเสรีบญ
ั ชี
เสรีขน
ึ้
ทุน
คุณลักษณะของประชาคมเศรษฐกิจ
2. มีขด
ี ความสามารถ นโยบายดานภาษี
e-ASEAN การพัฒนา
้
ในการแขงขั
น
้ ฐาน การคุ้มครองทรัพยสิ์ นทาง
่ นสูง โครงสรางพื
้
ปัญญา
การพัฒนา ICT
การคุ้มครองผู้บริโภค และพลังงาน
3. มีพฒ
ั นาการทาง ส่งเสริมการมีส่วนรวมและการขยายตั
วของ
่
เศรษฐกิจที่
SMEs
เทาเที
ให้ความช่วยเหลือแกสมาชิ
กใหม่ (CLMV)
่ ยมกัน
่
เพือ
่ ลดช่องวางระดั
บการพัฒนา
่
4. การบูรณาการ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียน
เข้ากับเศรษฐกิจโลก กับประเทศภายนอกภูมภ
ิ าค เช่น การจัดทา
เขตการค้าเสรีของอาเซียนกับประเทศคูเจรจา
่
รวมทัง้ ส่งเสริมการสรางเครื
อขายในด
านการ
้
่
้
ผลิต/จาหน่ายภายในภูมภ
ิ าคให้เชือ
่ มโยงกับ
เศรษฐกิจโลก
สภาพแวดล้ อมที่มีผลกระทบต่ อการดาเนินนโยบายของอาเซียน
สภาพแวดล้ อม
ทางเศรษฐกิจ
 ระบบเศรษฐกิจมีลักษณะไร้ พรมแดนมากขึน้
 ความร่ วมมือทางการค้ าพหุภาคีในกรอบ WTO ไม่ คืบหน้ า
ประเทศต่ างๆ หันมาแสวงหาความร่ วมมือในระดับทวิภาคี/ภูมภิ าค
มากขึน้ (regionalism)
o การทา FTA เป็ นเกมใหม่ ทัง้ ในระดับทวิภาคี / กลุ่ม
ประเทศ มีการทา FTA ทับซ้ อนกัน เช่ น ไทย-ญี่ปนุ่
อาเซียน-ญี่ปนุ่ (อาเซียนมี FTA กับ 6 ประเทศ คือ จีน
ญี่ปนุ่ เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย)
ในขณะที่ประเทศอาเซียนบางประเทศก็เข้ าร่ วม TPP
 การขยายตัวของเครือข่ ายต่ างๆ นาไปสู่การเกิดกลุ่ม (bloc)
ในภูมภิ าคและอนุภมู ภิ าคต่ างๆ มากมาย เช่ น ACMECS, GMS,
BIMSTEC, IMT-GT ทาให้ เกิดความซา้ ซ้ อน
สภาพแวดล้ อมที่มีผลกระทบต่ อการดาเนินนโยบายของอาเซียน
 โลกยุคใหม่ มีการสื่อสารรวดเร็ว การเคลื่อนย้ ายความรู้ และ
เทคโนโลยีโดยเสรีจะเป็ นการสร้ างโอกาสในการเข้ าถึงข้ อมูล
ข่ าวสารเพื่อการเรียนรู้ และการถ่ ายทอดเทคโนโลยี
สภาพแวดล้ อม
ทางสังคม
 ความมั่นคงเปลี่ยนจากการเน้ น state security เป็ นเรื่องข้ าม
พรมแดน (trans-boundary challenges) ซึ่งส่ งผลกระทบต่ อสังคม
เช่ น ปั ญหายาเสพติด การค้ ามนุษย์ แรงงานต่ างด้ าวผิดกฎหมาย
โรคเอดส์ โรคซาร์ ส ภัยธรรมชาติ (epidemics, environment,
health, natural disasters)
การแตรียมความพร้อม:
ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์
• การรับมือและการใช้ ประโยชน์ จากกระแสของค่ านิยม
ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนและธรรมาภิบาล
• การสร้ างแนวร่ วมในลักษณะ whole of nation approach
โดยใช้ multi-stakeholder effort เพื่อสร้ างประชาคม
อาเซียน
• การส่ งเสริม Defense และ Deterrence ควบคู่ไปกับ
Cooperation, Confidence-Building และ Preventive
Diplomacy
ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMUNITY :
ASCC)
เป้าหมาย
เพือ
่ ให้อาเซียนเป็ นสั งคมทีม
่ ี
เอกภาพ มีความเอือ
้ อาทรตอกั
่ น
มีความเป็ นอยูที
่ ี พัฒนาทุก
่ ด
ดาน
และมีความมัน
่ คงทาง
้
สั งคม
20
คุณลักษณะของประชาคมสั งคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน
 การพัฒนามนุ ษย ์
เน้นการบูรณาการดานการศึ
กษา สร้างสั งคมความรู้ พัฒนาทรัพยากร
้
มนุ ษย ์ ส่งเสริมการจ้างงานทีเ่ หมาะสม ส่งเสริม ICT
 การคุมครองและสวั
สดิการสั งคม
้
ขจัดความยากจน สร้างเครือขายความปลอดภั
ยทางสั งคม ความมัน
่ คงและ
่
ความปลอดภัยดานอาหาร
การควบคุมโรคติดตอ
้
่
 ความยุตธิ รรมและสิ ทธิ
คุ้มครองสิ ทธิผด
แรงงานยายถิ
น
่ ฐาน ความรับผิดชอบตอสั
ู้ อยโอกาส
้
้
่ งคม
ของธุรกิจ
 ส่งเสริมความยัง่ ยืนดานสิ
่ งแวดลอม
้
้
การจัดการปัญหาสิ่ งแวดลอมของโลก
ปัญหามลพิษทางสิ่ งแวดลอมข
าม
้
้
้
แดน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 การสรางอั
ตลักษณอาเซี
ยน
้
์
สร้างความรูสึ้ กความเป็ นอาเซียนรวมกั
น อนุ รก
ั ษมรดกทางวั
ฒนธรรมของ
่
์
อาเซียน
 การลดช่องวางด
านการพั
ฒนา
่
้
ดาเนินแผนงาน/โครงการความช่วยเหลือดานต
างๆ
ในกรอบอาเซียนและ21
้
่
อนุ ภูมภ
ิ าคอืน
่ ๆ
การแตรียมความพร้อม:
ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ (ต่อ)
• การปรับปรุ งกฎหมายไทยเพื่อรองรับการเป็ นส่ วนหนึ่ง
ของประชาคมอาเซียน
• เพื่อให้ สามารถปฏิบัตติ ามพันธกรณีของอาเซียน
• เพื่อให้ ประเทศไทยมีขีดความสามรถในการแข่ งขัน
• เพื่อรับมือกับการที่จะต้ องเป็ น rules-based
community มากยิ่งขึน้ (เช่ นในเรื่อง dispute
settlement)
•เพื่อเตรียมความพร้ อมในเรื่องของ harmonization
ประชาคมสั งคม-วัฒนธรรม
อาเซียน
 ไมเจ็
่ บป่วย
 ไมจน
่

มีการศึ กา
 ปลอดภัย
 เอือ
้ อาทร
การเชื่อมโยงในอาเซียนเป็ นผลสืบเนื่อง
จากความริเริ่มของไทยในช่ วงที่ไทยเป็ น
ประธานอาเซียนเมื่อปี 2552
ได้ มีการจัดทาแผนแม่ บทฯ (ASEAN Master
Plan on Connectivity) โดยระบุการเชื่อมโยง
เป็ น 3 รูปแบบ คือ ด้ านโครงสร้ างพืน้ ฐาน
ด้ านกฎระเบียบ และการเชื่อมโยงด้ าน
ประชาชน
การเชื่อมโยงจะมีส่วนสาคัญในการสนับสนุน
การสร้ างประชาคมของอาเซียน โดยเฉพาะ
ด้ านเศรษฐกิจ โดยไทยน่ าจะได้ รับ
ผลประโยชน์ มากที่สุด ในฐานะที่เป็ น
ศูนย์ กลางของเครือข่ ายการเชื่อมโยง
ในการประชุมสุดยอด ครัง้ ที่ 18 (ปี 2554)
ผู้นาอาเซียนได้ สนับสนุนข้ อเสนอของไทย
ที่จะให้ มีการเชื่อมโยงที่ขยายไปถึงภูมภิ าค
อื่นด้ วย (Connectivity Plus)
แผนแม่ บทว่ าด้ วยความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
ความเชื่อมโยงด้ าน
โครงสร้ างพืน้ ฐาน
• คมนาคม (ราง ถนน
สะพาน นา้ อากาศ)
• เทคโนโลยีสารสนเทศ
• พลังงาน (ระบบท่ อส่ ง
ก๊ าซ ระบบสายส่ ง
ไฟฟ้า)
ความเชื่อมโยงด้ าน
กฎระเบียบ
ความเชื่อมโยง
ด้ านประชาชน
• เปิ ดเสรีและอานวยความสะดวก
ทางการค้ า
• แลกเปลี่ยนการศึกษา
และวัฒนธรรม
• เปิ ดเสรีและอานวยความสะดวกใน
การบริการและการลงทุน
• ส่ งเสริมการท่ องเที่ยว
ระหว่ างกัน
• ความตกลง/ข้ อตกลงยอมรับร่ วมกัน
• ความตกลงการขนส่ งในภูมภิ าค
• พิธีการในการข้ ามพรมแดน
• โครงการเสริมสร้ างศักยภาพ
การจัดการกับผลกระทบเชิงลบจากความเชื่อมโยง
การแตรียมความพร้อม:
ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์
• การส่ งเสริมความเชื่อมโยง (connectivity)
• การมีระบบ cross-border management ที่ดี ควบคู่ไป
กับการมี cross-border facilitation ที่มีประสิทธิภาพ
• ASEAN Single Gateway? ควบคู่ไปกับ ASEAN
Single Window
• ASEAN Single Visa
• Cost Sharing และ Shared Responsibility เพื่อให้ เกิด
ประชาคมที่ปลอดภัย (A Safe ASEAN Community)
ก่ อนก้ าวย่ างต่ อไปสู่อาเซียน...
(กลับมาสารวจตัวเองก่ อน)
จุดอ่อน
•
•
•
•
•
•
•
ภาษาต่ างประเทศ
แรงงานขาดแคลน
ผลจากการเปิ ดชายแดน (ยาเสพติด
อาชญากรรม แรงงานผิดกฎหมาย)
วัตถุดบิ และแหล่ งนา้ ขาดแคลน
นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ระบบโลจิสติกส์
การบูรณาการ
จุดแข็ง
•
•
•
•
•
•
•
ได้ รับการยอมรับจากประเทศต่ าง ๆ ใน
เรื่องประชาธิปไตย เสรีภาพ และสิทธิ
มนุษยชน
จุดที่ตัง้ (คมนาคม จุดผ่ านแดน)
เศรษฐกิจมีความหลากหลายและ
เข้ มแข็ง
ภาคเกษตร (เน้ นยั่งยืน)
ท่ องเที่ยวและวัฒนธรรม
สุขภาพ ครัวไทย
การคมนาคมทางบก
การเตรียมความพร้ อม:
ด้ านโครงสร้ างและวิธีคิด
Structural Change
Mindset Change
Learning
การเตรี ยมความพร้ อม: ด้ านโครงสร้ างและวิธีคดิ
 Structural Change
◦ ปรับโครงสร้ างส่วนราชการ โดยเพิ่ม “หน่วยอาเซียน” ในหน่วยงานระดับ
กระทรวง
◦ ปรับปรุง/ปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ
◦ ประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนให้ ใกล้ ชิดยิ่งขึ ้น
◦ เตรี ยมความพร้ อมด้ านงบประมาน
 Mindset Change
◦ สร้ างความรู้สกึ ร่วมกันในความเป็ นอาเซียน
◦ ปรับแนวคิดและวิสยั ทัศน์ให้ กว้ างกว่าประเทศไทย
 Learning
◦ ส่งเสริ มการเรี ยนรู้และพัฒนาทักษะภาษาและวิชาชีพ
◦ สร้ างความตระหนักรู้และมีข้อมูลที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
30
การเตรี ยมความพร้ อม: ประเด็นสาคัญ
Language Skills and Competencies
◦ ภาษาอังกฤษและภาษาเพื่อนบ้ าน
Integrated and Holistic Approach
◦ Team Thailand (Whole of Country Approach)
◦ Whole of Nation Approach
Futures Strategies
◦ การมองภาพสถานการณ์ 20 ปี ในอนาคต
◦ การวางแผนล่วงหน้ า 20 ปี
31
การเตรี ยมความพร้ อม: ประเด็นสาคัญ (ต่ อ)
Professionalism and Service
◦ มาตรฐานภูมิภาคและมาตรฐานโลก
 Good Governance
◦ มีความคาดหวังสูงขึ ้น
 Innovation and Initiative
◦ Meritocracy
◦ R&D
32
คณะกรรมการ
อาเซียนแห่งชาติ
คณะทางานเรื่ องการ
เตรี ยมความพร้ อม
คณะกรรมการ
APSC
คณะกรรมการ
AEC
คณะกรรมการ
ASCC
การจัดทาสื่อเผยแพร่ ต่าง ๆ
www.mfa.go.th/asean
www.facebook.com/ASEANThailand.mfa
วิทยุสราญรมย์ รายการ « เราคืออาเซียน »
ทุกวันอังคาร เวลา 17.30 – 18.00 น.
AM 1575 KHz