Principles of Family Medicine

Download Report

Transcript Principles of Family Medicine

การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและครอบครัว
(Working with the family
of Chronically ill patient)
ผศ.พ.ญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว
คณะแพทยศาสตร์ ร.พ.รามาธิบดี
Hierarchy of natural systems
Biosphere
Society-Nation
Culture-Subculture
Community
Family
Person
Nervous system
Organ system
Tissues
Cells
Organelles
Molecules
Atoms
Subatomic particles
Engel G. The clinical application of the biopsychosocial model.
Am J Psychiatr 1980;137:535-44
Patient-Centred Medicine
ไม่ สบาย
Disease
• ซักประวัติ
Illness
•
•
•
•
Idea
Feeling
Function
Expectation
• ตรวจร่ างกาย
• ตรวจ lab เพิม่ เติม
• วินิจฉัยแยกโรค
•ความรู้ทางพยาธิสภาพ
•ความจริงในทุกมิตขิ องชีวติ
•อธิบายเหมือนกันทุกคน
•เอกลักษณ์ เฉพาะคน
ผูร้ ักษาคิดอย่างไรกับโรคเรื้ อรัง
ทาไมคนไข้
คิด ไม่
รู้ จักดูIdea
แลตัวเอง
เบื่อจะตาย
รู้ สึกไม่ เห็น
จะทาอะไรได้
Feeling เลย
วันนีหน้
ล้ งตรวจ
าที่
คลิFunction
นิกเบาหวาน
อีกแล้ วเหรอเนี่ย
คาดหวัง
Expectation
Holistic Medicine
Family
Person
• Who, Life cycle
• Development
• Family of Origin
Illness
Disease
•Family System
•Family Life cycle
•Family Stress
•Family Coping
•Family Resource
•Impact on Health
Community
•Pt.& Fam Role
•Resource
•HSS
•Work
•School
•Culture
•Religion
พัฒนาการของคนต่างวัย
(Human Development Cycle)
•
•
•
•
•
•
•
•
•
สิ บปี อาบน้ า บ่หนาว
ซาวปี แอ่วสาวบ่กา้ ย
สามสิ บปี บ่ หน่ายสงสาร
สี่ สิบปี ยะก๋ านเหมือนฟ้ าผ่า
ห้าสิ บปี สาวน้อยด่าบ่เจ็บจจ
หกสิ บปี ไอเหมือนฟานโขก
เจ็บสิ บปี บ่าโหกเต็มตัว๋
แปดสิ บปี ไค่หวั เหมือนไห้
เก้าสิ บปี ไข้กต็ าย บ่ไข้กต็ าย
พัฒนาการของครอบครัวต่ างวัย
(Family Life Cycle)
•
•
•
•
•
•
•
•
Stage
Stage
Stage
Stage
Stage
Stage
Stage
Stage
of
of
of
of
of
of
of
of
Couple
The Birth
Young Children
Children
Adolescent
Young Adult
Middle age
Elderly
ระบบครอบครัว (Family System)
ประเมินทั้งระบบ
1. มีใครอยู่บ้าง (Organ)
2. พูดคุยสื่ อสารกันอย่ างไร (Hormone)
3. แต่ ละคนมีหน้ าที่อะไรบ้ าง (Function)
4. ใครเป็ นใหญ่ บ้าง (Hierarchy)
5. ปกติอยู่กนั อย่ างไร (Homeostasis)
6. ครอบครัวเปลีย่ นไปอย่ างไรตามวัย (Morphogenesis)
7. ใครกันแน่ ที่ป่วย (Remote pathogen)
การประเมินครอบครัว
(Family Assessment)
1. ปัญหาของครอบครัว (Family Stress)
: แผนภูมคิ รอบครัว
: วัยครอบครัว
2. วิธีแก้ ปัญหาของครอบครัว (Coping)
3. ทีพ่ งึ่ ของครอบครัว (Resource)
4. ผลต่ อสุ ขภาพของคนในครอบครัว
(Impact on health)
เข้ าใจ ... ผู้ป่วยทีม่ โี รคเรื้อรัง
(CARE FOR CHRONICALLY ILL PATIENT)
ความแตกต่างของกลุ่มโรค
• โรคปัจจุบนั
• โรคเรื้ อรัง
• โรคที่หมดหวัง
ลักษณะพิเศษของโรคเรื้ อรัง
• เป็ นข่าวร้าย
• เสี ยหายถาวร
• ดาเนินโรคไม่หยุดนิ่ง
• ทรุ ดดิ่งลงเรื่ อยๆ
• มีชีวติ ขึ้นลง เดี๋ยวทรงเดี๋ยวทรุ ด
หลักการดูแลผูป้ ่ วยด้วยโรคเรื้ อรังและ
ครอบครัว
• เข้าจจกลไกครอบครัว
• วางแผนร่ วมกัน
• สื่ อสารต่อเนื่อง
• หากลุ่มเพื่อนจหม่
• อย่าจห้ตกหนักจครคนเดียว
โรคเรื้ อรังจนผูจ้ หญ่
ปัจจัยต่อการปรับตัวของผูป้ ่ วยผูจ้ หญ่
•
•
•
•
ผลกระทบต่ อบทบาทหน้ าทีเ่ ดิม
ช่ วงระยะทีโ่ รคกลับเป็ นซ้า
การยอมรับการพึง่ พิงสลับกับการเป็ นตัวของตัวเอง
ความสามารถของครอบครัวในการแยกแยะ “ปกติ” หรือ
“ผิดปกติ” ได้ ขณะทีป่ ่ วยเรื้อรัง
• ความรู้ สึกผิด
การประเมินผู้ใหญ่ ทมี่ โี รคเรื้อรัง
วันหนึ่งๆทาอะไรได้ บ้าง
ชีวติ เปลีย่ นไปอย่างไรตั้งแต่ ป่วย
รู้สึกอย่ างไรทีต่ ้ องมาหาหมอตามนัด
หวังผลการรักษาไว้ อย่ างไร
เป้าหมายการดูแล
ผู้ใหญ่ ทเี่ ป็ นโรคเรื้อรัง
ให้ ทากิจกรรมทีผ่ ู้ป่วยคิดว่ าสาคัญให้ ได้ มากทีส่ ุ ด
ให้ เข้ าสั งคมได้ ใกล้ เคียงเดิม
ชลอหรือป้ องกันทุพพลภาพทีอ่ าจเกิดขึน้
•
•
•
•
•
•
•
แนวทางการดูแลผูป้ ่ วยผูจ้ หญ่
ที่มีโรคเรื้ อรังและครอบครัว
เข้าจจความสูญเสี ย
ประเมินกลไกครอบครัว
สนับสนุนจห้ครอบครัวเข้ามามีส่วนร่ วมแต่แรก
จห้สุขศึกษาทีละน้อย แต่บ่อยครั้ง
วางแผนควบคุมอาการต่างๆจห้สบายที่สุด
ประเมินว่ากลับไปทากิจวัตรจนสังคมได้เพียงจด
ช่วงอาการกลับซ้ า ประเมินครอบครัวจหม่ต้ งั แต่ตน้
โรคเรื้ อรังจนเด็ก
ครอบครัวที่มีเด็กป่ วยเรื้อรัง
เป็ นวิกฤตของครอบครัว
วงจรอุบาทว์ (พ่ อแม่ ร้ ู สึกสู ญเสี ย + ลูกรู้ สึกสู ญเสี ย)
ทั้งบ้ านรู้ สึกควบคุมสถานการณ์ ไม่ ได้
วิกฤตหนัก ช่ วงโรคกลับซ้า รุนแรงกว่ า ช่ วงวินิจฉัย
พ่ อแม่ มกั รู้ สึกผิดรุนแรง และ โทษกันเอง
ครอบครัวจะแยกตัวจากสั งคมปกติ
ปัญหาการดูแลโรคเรื้อรังในเด็ก
พ่ อแม่ บงการ เพราะรู้ สึกว่ าควบคุมสถานการณ์ ไม่ ได้
เด็กเลีย้ งยาก เพราะพ่อแม่ แยกแยะไม่ ได้ ระหว่ างพัฒนาการ
เด็กตามวัย กับ ความเจ็บป่ วย
ยกระดับเด็กป่ วย ให้ สาคัญทีส่ ุ ดในบ้ านอยู่เสมอ
มี เด็กทีถ่ ูกลืม อยู่ในบ้ าน
ปัญหาของบ้ าน เปลีย่ นไปตาม วัยของเด็ก
มิติการดูแลสุ ขภาพเด็ก
พ่อแม่ เข้ มแข็ง
เด็กป่ วย
พ่อแม่ เข้ มแข็ง
เด็กแข็งแรง
พ่อแม่ เข้ มแข็ง
เด็กป่ วย
เด็กแข็งแรง
เด็กป่ วย
พ่อแม่ มีปัญหา
เด็กแข็งแรง
พ่อแม่ มีปัญหา
พ่อแม่ มีปัญหา
กลไกของบ้านเมื่อเด็กป่ วยเรื้ อรัง
Sick Kid
Parental Grief
Parent Guilty
Marital
Conflict
Parent
Overindulgence
Child’s Grief
Exacerbate
illness
Demanding Kid
Manipulative sibling
แนวทางการดูแลผูป้ ่ วยเด็ก
ที่มีโรคเรื้ อรังและครอบครัว
1.
2.
3.
4.
5.
ค้นหาความคิด ความรู ้สึกผิดของครอบครัวเกี่ยวกับโรค
แก้ไขความเข้าจจผิดของสมาชิกจนบ้าน
พยายามดาเนินชีวติ ปกติ ไม่จห้แยกตัวจากสังคม
ส่ งเสริ มผูป้ ่ วยเด็กจห้ดูแลตัวเองได้มากที่สุด
ส่ งเสริ มความเป็ นส่ วนตัวของเด็กวัยรุ่ น
การประเมินผ้ ูป่วยเด็กทีม่ โี รคเรื้อรัง
 วัยของเด็ก พัฒนาการต้ องการอะไร
 วัยของโรค เช่ น ช่ วงวินิจฉัยใหม่ ช่ วงโรคกลับซ้า ช่ วง
ทรุดหนัก ช่ วงทรงๆ ช่ วงฟื้ นตัว
 ความเข้ มแข็งของพ่อแม่ ผู้ปกครอง
 อนาคตของบ้ าน
ประเมินการปรับตัวของผู้ป่วยเด็ก
 เก่งด้ านไหน โตขึน้ อยากเป็ นอะไร
 มีเพือ่ นสนิทกีค่ น ใครบ้ าง
 การเรียนเป็ นอย่ างไรบ้ าง
 คนในบ้ านเป็ นอย่ างไร ดุไหม
ประเมินการปรับตัวของผ้ ูปกครอง
• รู้ สึกผิดหรือเปล่า
• ความสั มพันธ์ ภายในบ้ าน
• ความต้ องการของครอบครัว
• ผลกระทบต่ อชีวติ คู่
• ความสั มพันธ์ กบั ทีมผู้รักษา
สุ ขภาพผูด้ ูแลผูป้ ่ วย
การดูแลผู้ดูแลผู้ป่วย
เป็ นผ้ ปู ่ วยทีแ่ ฝงอย่ ู
• ประเมิน : เหนื่อย สั บสน รู้ สึกผิดแค่ ไหน
• ถาม : ได้ พกั บ้ างไหม แผนการเงิน แหล่ งทีพ่ งึ่ ในชุมชน
• ชวนคุย : เป้าหมายการดูแล คิดอย่ างไร อยากให้ เป็ นอย่ างไร
ประโยชน์ และโทษของการรักษาวิธีต่างๆ
ปัจจัยต่ อความเหนื่อยล้ าของผู้ดูแล
Caregiver Burden
สภาพผู้ป่วยต้ องพึง่ พิงมาก
เพศผู้ดูแล : ผ้ หู ญิง อ่ อนไหวง่ าย
สุ ขภาพผู้ดูแล : อ่ อนแอ ป่ วย เศร้ า
หน้ าที่รับผิดชอบมาก: ดูแลผ้ ปู ่ วย พามาหาหมอ
ทากับข้ าว ถูบ้าน เลี้ยงหลาน ฯลฯ
ทาไมคนไข้ ทาตัวแบบนี้
(WHY BEHAVE LIKE THIS ?)
สาร :
คาพูด และ ท่ าทาง
ตอบสนอง :
คาพูด และ ท่ าทาง
Satir’s model :
Cognitive-Behaviour Linkage
Consciousness
Unconsciousness
ความเชื่อเรื่องสุขภาพ
(Health Belief Model)
 5 องค์ประกอบ :
1. มีแรงจูงใจให้ดแู ลสุขภาพตนเอง
2. ตระหนักว่าตนมีความเสี่ยงต่อโรคนั้นๆ
3. ตระหนักว่าถ้าป่ วยจะมีผลกระทบมาก
4. ชัง่ ตวงวัดข้อดีขอ้ เสียในการมาดูแลสุขภาพ
5. มีตวั ประตุน้
ความเชื่อว่ าใครควบคุมสุ ขภาพ
(Locus of Control)
1. ฉันเอง (Internal controller)
2. อานาจเหนือมนุษย์ (External controller)
3. มนุษย์ คนอืน่ (Powerful other)
ระยะการเปลีย่ นพฤติกรรม
( From Prochaska JO. Am Psychol 1992;47(9):1102-1114 )
Maintenance
ACTION
Preparation
Contemplation
Precontemplation
จะดูแลอย่ างไรเมือ่ เจอ difficult pt.
• ฟั งด้ วยใจ ไม่ ใช่ ฟังด้ วยหู [Active listening]
•
•
•
•
•
รู้ จักเรื่ องราวของเขาให้ มากขึน้
ไม่ ต้องสนใจเรื่ องโรคที่คุมไม่ ได้
เข้ าใจเห็นใจในสิ่งที่เขาสูญเสีย
ให้ กาลังใจ
ทบทวนวินิจฉัยและปรั บการรั กษาใหม่
โรคเรื้อรัง คือ ตัวเราที่ไม่ เที่ยง
ต้ องเรียนรู้ ทจี่ ะอยู่กบั มันอย่ างมีความสุ ข
เหมือนนิยายที่อ่านค้ างไว้ ยังไม่ ถงึ ตอนจบ