METABOLIC SYNDROME

Download Report

Transcript METABOLIC SYNDROME

METABOLIC SYNDROME
กลุ่มอาการที่เพิ่มความเสี่ยงต่ อโรคหัวใจ
และหลอดเลือด
•
•
•
•
อ้ วน
ไขมันในเลือดสูง
นา้ ตาลในเลือดสูง
ความดันโลหิตสูง
METABOLIC SYNDROME
คาพ้ อง
• กลุม่ อาการดื ้ออินซูลิน Insulin resistance syndrome
• จตุฆาต Deadly quartet
• Syndrome X
METABOLIC SYNDROME
METABOLIC SYNDROME
ไขมันไม่ ดเี พิม่ ขึน้ จาก ตับดือ้ ต่ ออินซูลนิ
เซลล์ กล้ ามเนือ้ ดือ้ ต่ ออินซูลนิ
Petersen K F et al. PNAS 2007;104:12587-12594
©2007 by National Academy of Sciences
ไขมันไม่ ดี (LDL) เกาะเส้ นเลือด
้ ร ัง
โรคเรือ
พฤติกรรม
- อ ้วน
- ออกกาลังกาย
สาเหตุ
- เบาหวาน
- ความดันโลหิตสูง
- หัวใจหลอดเลือด
Some features of the metabolic syndrome, namely elevated
apolipoprotein B (apo B) and insulin levels and small LDL particles
(atherogenic metabolic triad)—largely resulting from abdominal obesity
increase coronary heart disease risk beyond the contribution of
traditional risk factors.
Després J et al. Eur Heart J Suppl 2008;10:B24-B33
© The European Society of Cardiology 2008. All rights reserved. For Permissions, please e-mail:
[email protected]
Schematic illustration of the well-documented relationship between
obesity, as crudely assessed by body mass index (BMI), and
cardiovascular disease mortality and morbidity
Després J et al. Eur Heart J Suppl 2008;10:B24-B33
© The European Society of Cardiology 2008. All rights reserved. For Permissions, please e-mail:
[email protected]
การวัดเส้ นรอบพุง
สาหรับประชาชนเพื่อกากับตนเอง
• ว ัดในท่ายืนแยกเท้าห่างก ัน ~ 10 ซม.
• ว ัดทีร่ ะด ับสะดือ
่ งหายใจออก ให้สายว ัดแนบ
• ว ัดชว
ลาต ัวไม่ร ัดแน่น
้
• สายว ัดวางในแนวระด ับขนานก ับพืน
้ รอบพุงสาหร ับการวิจ ัย
การว ัดเสน
การประเมินผลโดยเจ้าหน้าที่
•วัดในท่ ายืนแยกเท้ าห่ างกัน ~ 10 ซม.
•วัดรอบพุงบริเวณขอบบนของกระดูก
เชิงกรานทัง้ 2 ข้ าง
•วัดช่ วงหายใจออก ให้ สายวัดแนบลาตัว
ไม่ รัดแน่ น
•สายวัดวางในแนวระดับขนานกับพืน้
(กรมควบคุมโรคแนะวัดรอบเอวที่ระดับกึ่งกลางระหว่ างปลาย
ของกระดูกซี่โครงซี่สุดท้ ายกับขอบบนของกระดูกเชิงกราน)
ภาวะอ้ วนลงพุง
28 พฤษภาคม 2556
METABOLIC SYNDROME
การตรวจและวินิจฉัย (NCEP & AHA): 3 ใน 5
• รอบเอว > 90 ซม.ในชาย, > 80 ซม.ในหญิง
• Triglyceride > 150 mg/dl
• HDL < 40 mg/dl ในชาย, < 50 mg/dl ในหญิง
• BP > 130/85 mmHg
• FBS > 100 mg/dl
Waist circumference among men of the Québec Health Survey according
to the different combinations of the NCEP-ATP III clinical criteria.
Després J et al. Eur Heart J Suppl 2008;10:B24-B33
© The European Society of Cardiology 2008. All rights reserved. For Permissions, please e-mail:
[email protected]
Schematic illustration of the heterogeneity of coronary heart disease
risk in the presence of the metabolic syndrome and type 2 diabetes.
Després J et al. Eur Heart J Suppl 2008;10:B24-B33
© The European Society of Cardiology 2008. All rights reserved. For Permissions, please e-mail:
[email protected]
METABOLIC SYNDROME
การรักษา
•
•
•
•
ออกกาลัง: 30-60 นาที ทุกวัน
ลดนา้ หนัก: 5-10% ของนา้ หนักตัวเดิม
กินอาหารสุขภาพ: ผัก ผลไม้ ปลา เมล็ดธัญพืช
หยุดสูบบุหรี่
การออกกาลัง
1. แอโรบิค: กล้ ามเนื ้อใช้ ออกซิเจนในการใช้ กลูโคส
– เดินเร็ว วิ่งจ็อกกิ่ง ว่ายน ้า ขี่จกั รยาน
– ต่อเนื่องนานเกินกว่า 3 นาที
2. สร้ างกล้ ามเนื ้อ: กล้ ามเนื ้อไม่ใช้ ออกซิเจนในการใช้ กลูโคส
– ยกน ้าหนัก วิ่งสปริ น้ ขึ ้นลงบันได
กล้ามเนื้อ และ ไขมัน
การใช้พลังงานของกล้ามเนื้อ
แอโรบิค
แอโรบิค
•
•
•
•
•
•
•
•
ลดความดันโลหิต
ลดอัตราการเต้ นหัวใจขณะพัก
เพิ่มฤทธิอินซูลินที่กล้ ามเนื ้อ
เพิ่ม HDL
เพิ่ม cardiac output
ลดอัตราการหายใจขณะพัก
เพิ่มปริ มาณเลือดไปฟอกที่ปอด
เผาผลาญพลังงาน ลดน ้าหนัก
ความสาคัญของ การสร้างกล้ามเนื้อ
• ทาให้ กล้ ามเนื ้อแข็งแรง
• เพิ่ม การเผาผลาญพลังงานของกล้ ามเนื ้อ
• เพิ่ม ความสามารถในการใช้ กลูโคส
• เผาผลาญไขมันต่อไปอีก 18-24 ชัว่ โมง
Resistance training
• ยกน ้าหนัก ซิทอัพ กระโดดจัม๊
• เพิ่ม ความแข็งแรงและอดทนของกล้ ามเนือ้
• ทาให้ ออกกาลังกายได้ นานขึ ้น ไม่เหนื่อย
การยืดเหยียด
การออกกาลังกาย กับ สุ ขภาพ
• การออกกาลังกายเป็ นประจาเป็ นส่วนสาคัญของการรักษาสุขภาพ
• ทาให้ น ้าหนักเหมาะสม
• ป้องกัน หรื อ ชะลอการเป็ นเบาหวาน โรคหัวใจ กระดูกพรุนและ
มะเร็ง
• ควรออกกาลังกายปานกลาง วันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 5 วัน
• เดินเร็ว ทาสวน เต้ น ว่ายน ้า ขี่จกั รยาน
• ยืดเหยียด และยกน ้าหนัก
• สนุก
การออกกาลังกาย กับ ภูมิคุมกัน
• ขับไล่เชื ้อโรคออกจากปอด
• ขจัดเซลล์ผิดปกติออกทางเหงื่อ ปั สสาวะ
• เลือดไหลเวียนดีทาให้ ร่างกายอบอุน่ เม็ดเลือดขาว และสาร
ภูมิคมุ กันเคลื่อนที่ได้ รวดเร็ว
• ลดฮอร์ โมนที่เกิดจากความเครี ยด
• (ถ้ าออกกาลังกายหนักเกินไป ทาให้ เกิดความเครี ยดได้ )
• เปลี่ยนจาก “นัง่ ๆนอนๆ” เป็ น “ยืนๆเดินๆ”
Body & mind
• Gentle stretching &
focusing on breathing
• “จิตใจควบคุมการเคลื่อนไหว”
• รามวยจีน
• จิตใจแจ่มใส
• เพิ่มภูมิค้ มุ กัน
เผาผลาญ > รับประทาน = น้ าหนักลด
• เดิน 30 ไมล์ เผาผลาญพลังงาน 3,500 แคลอรี่
• รับประทาน > เผาผลาญ 100 แคลอรี่ /วัน
= นา้ หนักขึน้ 10 ปอนด์ /ปี
• เริ่มต้ นจากการเดิน 3 ครัง้ /สัปดาห์
• เซลล์ กล้ ามเนือ้ ใช้ พลังงานได้ มากกว่ าเซลล์ ไขมัน
• แอโรบิค 2.5-5 ชั่วโมง/สัปดาห์
• สร้ างกล้ ามเนือ้ 75 นาที – 2.5 ชั่วโมง/สัปดาห์
• ยืดเหยียด 2 ครัง้ /สัปดาห์
เดิน เดิน
220 - อายุ
นา้ หนักตัวลดลงได้ 5–10% ของนา้ หนักตัว
(นา้ หนัก 70 กก.ลด 10 % เท่ ากับลดไป 7กก. คงเหลือนา้ หนักตัว 63 กก.)
ไขมันในช่ องท้ องจะลดลงได้ 30%
คนอ้ วน ถ้ าลดนา้ หนักลง อย่ างน้ อยร้ อยละ 5
ของนา้ หนักตัว ร่ วมกับการออกกาลังกาย
สม่าเสมอ
จะป้องกันการเกิดโรคเบาหวานได้ ร้ อยละ 58
เป้ าหมายการจัดการนา้ หนักและรอบเอว
• ป้องกันมิให้ น ้าหนักเพิ่ม
• ลดน ้าหนักลง 5-10 %
• รักษาน ้าหนัก
ป้ องกันมิให้น้ าหนักเพิม่
• เพิ่มการเคลื่อนไหวออกกาลัง ใช้ พลังงาน
ออกไปอย่ างน้ อยวันละ 100 แคลอรี
• ลดการกินอาหารลงวันละ 100 แคลอรี และ
กินอย่ างฉลาด
ลดน้ าหนักลง 5-10 %
• ออกแรง/ออกกาลังอย่ างน้ อยวันละ 30 นาที ถ้ าไม่ ลดให้
เพิ่มระยะเวลา เป็ น 45 นาที จนถึง 60 นาทีต่อวัน
• กินลดลงวันละ 500-1000 แคลอรี หรือประมาณ 1/3-1/2
ของอาหารที่กินต่ อวันโดยกินอย่ างฉลาด
รักษาน้ าหนัก
• ออกแรง/ออกกาลังวันละ 60-90 นาทีต่อวัน
• กินเท่ าที่ร่างกายต้ องการใช้
Why Diets Don't Work
• traditional "dieting" may be exactly the
wrong way to do it.
• การควบคุมอาหาร/อดอาหารตามธรรมเนียมอาจจะเป็ น
วิถีท่ ผี ิดแน่ ๆ
The Vicious Diet Cycle
วงจรอาหารอุบาทว์
• ส่ วนใหญ่ อาหารตามธรรมเนียมหรือที่นิยมควบคุมกันมักจะ
จากัดกันมากเกินไป ทาให้ ได้ พลังงานน้ อยเกินไป หรือ ได้
สารอาหารจาเป็ นไม่ เพียงพอ อาทิ โปรตีน และไขมันจาเป็ น
• ในตอนแรกนา้ หนักจะลดอย่ างรวดเร็ว ส่ งเสริมให้ เรากิน
อาหารตามธรรมเนียมนัน้ ต่ อๆไป
• แต่ นา้ หนักที่ลดลงนัน้ ส่ วนใหญ่ เกิดจาก นา้ และกล้ ามเนือ้
โดยไขมันลดลงน้ อยมาก
The Vicious Diet Cycle
วงจรอาหารอุบาทว์
• ไม่ นานหลังช่ วงฮันนีมูน ร่ างกายจะตอบสนองต่ อวิกฤตอาหาร
โดยเข้ าสู่ภาวะฉุกเฉิน
• นัน้ คือ ระบบการเผาผลาญพลังงานจะช้ าลงเพื่ออนุรักษ์
พลังงานไว้ คอร์ ตซิ อลจะหลั่งออกมาในกระแสเลือดและเริ่ ม
เก็บสะสมไขมันหน้ าท้ องไว้
• นัน้ เท่ ากับว่ าไม่ ใช่ แค่ หยุดลดนา้ หนัก แต่ กลับเพิ่มไขมันหน้ า
ท้ องด้ วย ซึ่งเป็ นตัวร้ ายในภาวะเมตาบอลิกซินโดรม
The Vicious Diet Cycle
วงจรอาหารอุบาทว์
• เมื่อถึงเวลานี ้ เราจะเพลียมาก หิวมาก หมดกาลังใจที่จะ
ควบคุมอาหาร
• โชคร้ ายที่ตอนนี ้ ร่ างกายมีกล้ ามเนือ้ น้ อยลง การเผา
ผลาญพลังงานทาได้ น้อยกว่ าช่ วงก่ อนควบคุมอาหาร
• ดังนัน้ ไม่ เพียงแค่ นา้ หนักจะกลับคืนมา แต่ จะเพิ่มขึน้ ด้ วย
• วงจรอดอาหารแบบนีไ้ ม่ ดีสาหรับเมตาบอลิกซินโดรม
การอดอาหารส่ งผลร้ ายเมตาบอลิกซินโดรม
•
•
•
•
เนื่องจากทาลายระบบการตอบสนองของอินซูลินและนา้ ตาล
การดือ้ ต่ ออินซูลินเป็ นหลักสาคัญของเมตาบอลิกซินโดรม
การลดกล้ ามเนือ้ จะลดปริมาณการใช้ กลูโคสเป็ นพลังงาน
ทาให้ อนิ ซูลินสูงขึน้ เพื่อกาจัดนา้ ตาลออกจากกระแสเลือด
โดยไปเก็บไว้ ในรูปไขมัน
• จนกว่ าจะทาลายวงจรนีไ้ ด้
การอดอาหารส่ งผลร้ ายเมตาบอลิกซินโดรม
• หนึ่งในการควบคุมอาหารที่อันตรายต่ อเมตาบอลิกซินโดรม
คือ การได้ รับโปรตีนไม่ เพียงพอ และขาดไขมันที่จาเป็ น
• เพราะฉะนัน้ จึงควรรับประทานโปรตีนคุณภาพสูง และไขมัน
ที่ดีต่อสุขภาพ ในขณะที่ลดนา้ หนัก
การอดอาหารส่ งผลร้ ายเมตาบอลิกซินโดรม
• โปรตีนช่ วยเสริมสร้ างกล้ ามเนือ้ และควบคุมระดับนา้ ตาล
• เมื่อรับประทานคาร์ โบไฮเดรตร่ วมกับโปรตีน ร่ างกายจะใช้
เวลานานขึน้ ในการดูดซึมคาร์ โบไฮเดรต ทาให้ ระดับนา้ ตาล
ค่ อยๆเพิ่มขึน้ อย่ างปลอดภัย
อะไรคือทางเลือกที่ดี ?
• การเปลี่ยนแปลงสู่วถิ ีชีวติ สุขภาพ
• สุขนิสัยในการรับประทานอาหาร
–ความแตกต่ างของสารอาหารหลักที่ให้ พลังงาน
(Macro-nutrients, CPF)
• อาหารที่ให้ นา้ ตาลต่า (Low glycemic food)
–ความสมดุลของอาหารที่ให้ นา้ ตาลในแต่ ละมือ้
(Balance glycemic load)
อะไรคือทางเลือกที่ดี ?
• เลือกรั บประทานอาหารสุขภาพ
–รับประทานอาหารมือ้ เล็กๆ หลายๆมือ้ ในแต่ ละวัน
–ท้ องจะอิ่ม และการเผาผลาญพลังงานได้ สูง
• ออกกาลังกายปานกลาง
– Strength or resistance training and
– Cardio work
สิ่ งที่ควรรับประทาน:
เลือกอาหารทีค่ วบคุมระดับนา้ ตาลในเลือด
• ระดับนา้ ตาลที่สูงเกินไปกระตุ้นให้ อนิ ซูลินออกมามาก
เกินไป ทาให้ ไขมันสะสมมากเกินไป
• ระดับนา้ ตาลที่พ่ ุงสูง เป็ นประจา เสี่ยงต่ อการเกิดเบาหวาน
ชนิดที่ 2 (type II diabetes, T2DM)
• ไขมันบางอย่ างอาจจะไม่ ดีต่อสุขภาพ (ไขมันที่จาเป็ นต่ อ
ร่ างกายก็มี) แต่ วายร้ ายหลักมักจะเป็ นแป้งและนา้ ตาล
อาหารที่ตอ้ งหลีกเลี่ยง
• อาหารที่ทาให้ ระดับนา้ ตาลในเลือดสูงขึน้ อย่ างรวดเร็ว
• นา้ ตาลทรายขาว ข้ าวขาว มันฝรั่ง (มันเทศพอใช้ ได้ )
ผลิตภัณฑ์ จากแป้งขาว เช่ น ขนมปั งขาว แป้งพิซซ่ า เส้ น
พาสต้ า
• ไขมันไม่ อ่ มิ ตัวเชิงซ้ อน ไขมันทรานส์ (polyunsaturated
and trans-fats)
• แอลกอฮอล์ , เกลือแกง, และอาหารแปรรูป
The Glycemic Index
• จานวน ที่แสดงถึง ความเร็วของคาร์ โบไฮเดรต
ในอาหารที่จะเปลี่ยนเป็ นกลูโคสในร่ างกาย
• ยิ่งเร็ว ยิ่งทาให้ นา้ ตาลในเลือดสูงพุ่งเร็ว
The Glycemic Index
• Glycemic index less than 55 are low-glycemic
foods.
• Glycemic index between 56 and 69 are mediumglycemic foods.
• Glycemic index over 70 are considered highglycemic foods.
The Glycemic load
ขึน้ อยู่กบั สั ดส่ วนของคาร์ โบไฮเดรตในอาหาร
• ส่ วนของคาร์ โบไฮเดรตในอาหารที่มี high glycemic
index, แต่ ปริมาณของคาร์ โบไฮเดรตนัน้ ในอาหารมีน้อย
(low quantity of that carb)
• อาหารนัน้ จะมี glycemic load ต่า
The Glycemic load
• The glycemic load scale : 1-60
• 01-10 = low, 11-20 = medium, 21-60 =high
ตัวอย่ าง
แตงโม 1 ส่ วนมี glycemic index สูง = 74
แต่ แตงโมมีนา้ เป็ นส่ วนประกอบหลัก จึงมีคาร์ โบไฮเดรตน้ อย
และมี glycemic load ต่า = 4
การเลือกอาหาร โดยใช้ Glycemic Index
ตัวอย่ าง
• ขนมปั งขาว 1 แผ่ นมี glycemic index สูง = 76
• แต่ ขนมปั งฟั กทอง 1 แผ่ นมี glycemic index = 53
• ดังนัน้ การทาแซนด์ วชิ ด้ วยขนมปั งฟั กทองจะแตกต่ างจาก
ขนมปั งขาวมาก
• ข้ าวโอ๊ ตสาเร็จรูป มี glycemic index of 79, แต่ ข้าว
โอ๊ ตธรรมดา มี glycemic index of 55
การเลือกอาหาร โดยใช้ Glycemic Index
• แอปเปิ ล glycemic index of 36
• สับปะรด glycemic index of 59
• ถ้ าผสมข้ าวโอ๊ ตสาเร็จรู ปกับสับปะรดจะมี combined
glycemic index = 138
• ข้ าวโอ๊ ตสาเร็จรูปร่ วมกับแอปเปิ ล glycemic index
ใกล้ เคียงกับข้ าวโอ๊ ตธรรมดาร่ วมกับสับปะรด
• ทางเลือกที่ดีท่ สี ุด คือ ข้ าวโอ๊ ตธรรมดาร่ วมกับแอปเปิ ล
glycemic index เพียง 91
สิ่ งทีต่ ้ องเรียนรู้
• ทาไมต้ องกิน กินเพราะหิว หรื อ เพราะอยากกิน
ควรกินเพื่ออยู่
• หลีกเลี่ยงการอดอาหาร ไม่ งดมือ้ อาหาร
• รั บประทานอาหารเช้ าภายใน 1 ชั่วโมงหลังตื่นนอน
• หยุดรั บประทานอาหารอย่ างน้ อย 2 ชั่วโมงก่ อนนอน
จาเป็ นต้ องดืม่ นา้ มากแค่ ไหน
•
•
•
•
ขึน้ อยู่กับ อายุ ขนาดร่ างกาย และกิจกรรม อุณหภูมิ
ผู้ใหญ่ ชาย ควรได้ อย่ างน้ อย 15 แก้ ว (3.7 ลิตร)/วัน
ผู้ใหญ่ หญิง ควรได้ อย่ างน้ อย 11 แก้ ว (2.7 ลิตร)/วัน
โดยทั่วไปจะได้ ประมาณ 20% จากอาหาร
ไม่ ควรดืม่ พลังงาน
•
•
•
•
ควรได้ รับพลังงานจากอาหาร ไม่ ใช่ นา้
เนื่องจากการดื่มมักจะได้ พลังงานเกิน
ยกเว้ นนมพร่ องมันเนย
นา้ ผลไม้ กไ็ ม่ ควรรั บประทาน เนื่องจากพลังงานสูง
และเส้ นใยน้ อย
ควรรับประทานคาร์ โบไฮเดรตในตอนเช้ า
และระหว่ างวันที่ทากิจกรรม
• เนื่องจากคาร์ โบไฮเดรตจาเป็ นต่ อการให้ พลังงาน
• จากัดคาร์ โบไฮเดรตในตอนเย็น
• สาหรับมือ้ เย็น ควรมีคาร์ โบไฮเดรตน้ อย เช่ น รับประทาน
เนือ้ ปลาหรือไก่ ไร้ มันกับผักสลัด หรือ คาร์ โบไฮเดรตที่มี
glycemic load ต่า
Proteins and Metabolic Syndrome
• ไม่ ควรลดโปรตีนเพื่อลดนา้ หนัก เพราะจะลดมวล
กล้ ามเนือ้
• ป้องกันการพุ่งสูงของนา้ ตาลและอินซูลิน
เนื่องจาก โปรตีนช่ วยลดการดูดซึมคาร์ โบไฮเดรต
• ควรรั บประทานโปรตีนที่มีคุณภาพ
ไม่ ใช้ อาหารซุปเปอร์ โปรตีน?
• ร่ างกายยังคงต้ องการคาร์ โบไฮเดรตเพื่อใช้ ให้ พลังงาน
• โปรตีนไม่ เหมาะที่จะมาใช้ ให้ พลังงาน จะทาให้
อ่ อนเพลีย สับสน และของเสียอื่นๆจากโปรตีน
• โปรตีนจากสัตว์ มีแนวโน้ มที่จะมีไขมันอิ่มตัวสูง
• โปรตีนที่เกิน ก็จะเก็บไว้ ในรู ปไขมัน
ต้ องโปรตีนมากแค่ ไหน?
•
•
•
•
จาเป็ นต่ อการสร้ างเซลล์ และเนือ้ เยื่อ
ขึน้ กับอายุ นา้ หนัก มวลกล้ ามเนือ้ และกิจกรรม
ถ้ าเกินจะถูกร่ างกายเปลี่ยนเป็ นกลัยโคเจนและไขมันเก็บไว้
กฎสัดส่ วนของอาหารที่ให้ พลังงาน
–50% จาก โปรตีนคุณภาพ
–30% จาก คาร์ โบไฮเดรตที่ให้ นา้ ตาลต่า
–20% จาก ไขมันสุขภาพ
แหล่งโปรตีนที่ดี
• ตามลาดับ : ปลา หอย ไก่ บ้าน ไก่ งวง เนือ้ หมูไม่ มี
มัน เนือ้ วัว
• ปลาในแหล่ งนา้ เย็น เช่ น แซลม่ อน แมคเคอเรล
จะให้ โอเมกา-3ด้ วย
• ไข่ ขาว 2 , ไข่ แดง 1
• เนือ้ ไม่ มีมัน ไก่ ไม่ มีหนัง ไม่ ใช้ ซอสหรื อนา้ มันมาก
แหล่งโปรตีนที่ดี
• โปรตีนที่ดีจากผลิตภัณฑ์ นม คือ
–low-fat cheese and cottage cheese
–low-fat milk and yogurt
–Greek yogurts มีโปรตีนมากกว่ าโยเกิร์ทธรรมดา
2 เท่ า
• โปรตีนจากถั่วเหลือง หรื อถั่ว ถ้ าจะดีย่ งิ ขึน้ ควรไม่ มี
ไขมัน
ไขมันในอาหาร 4 กลุ่มพืน้ ฐาน
• ไขมันในอาหารที่ไม่ ดี 2 กลุ่ม คือ 1. saturated fats
2. trans fats
• ไขมันในอาหารที่ดี 2 กลุ่ม 1. monounsaturated
fats 2. polyunsaturated fats
Saturated fats
• ได้ จากสัตว์ เช่ น เนือ้ และ ผลิตภัณฑ์ จากนม
• เพิ่ม cholesterol และ LDL
• เพิ่มความเสี่ยงต่ อ โรคหลอดเลือดหัวใจ และ เบาหวาน
Trans fats
• มักจะพบในอาหารที่มีไขมันไม่ อ่ มิ ตัวซึ่งผ่ านกระบวนการ
ให้ คงตัว และเก็บได้ นานขึน้ เช่ น มาการีน
• หรือพบในอาหารที่มีไขมันไม่ อ่ มิ ตัวที่ผ่านความร้ อน
นานๆ เช่ น อาหารทอด ใช้ นา้ มันซา้ ๆ
• เพิ่ม LDL และ ลด HDL
Monounsaturated fats
•
•
•
•
พบในสัตว์ ปีก พืช และเมล็ดพืช
เช่ น นา้ มันมะกอก อโวคาโด ถั่วต่ างๆ
ช่ วยการทางานของ อินซูลิน คุมระดับนา้ ตาล
เพิ่ม HDL ลด LDL ดีต่อหัวใจ
Polyunsaturated fats
• พบในอาหาร และนา้ มันจากพืช
• เช่ น นา้ มันข้ าวโพด นา้ มันเมล็ดทานตะวัน
• เพิ่ม HDL ลด LDL
• ลดความเสี่ยงต่ อการเกิด เบาหวาน
The Omega-3s
•
•
•
•
•
เป็ น polyunsaturated fats superpower of fats
พบใน cold water fish
ลดความเสี่ยงต่ อ โรคหลอดเลือดหัวใจ
ช่ วยลดความดันโลหิตสูง
ช่ วยการทางานของสมอง
อย่ า! เลือกของดี ร่ วมกับ ของไม่ ดี
• เนื ้อปลาแซมม่อน ทอด เนย
• เนื ้ออกไก่(ดีกว่าเนื ้อหมู) ราด ครี มซอส
Healthy Food for People With
Metabolic Syndrome
• Green Vegetables: Leafy Greens, Cruciferous
Vegetables, Legumes
• Beans, Peas, Lentils, Peanuts
• Fish and Lean Meats: Fish and Shellfish,
Poultry, Red Meat, Pork Products
• Fat Free Dairy Product: fat free milk , Yogurt,
Cottage cheese
• Bran and Cereals: Oats
ี่ งที่
ปัจจ ัยเสย
เปลีย
่ น แปลงไม่ได้
•
•
•
ผลล ัพธ์สด
ุ ท้าย
•
อายุ
เพศ
พ ันธุกรรม
ปั จจัยเสี่ยงทางสรี รวิทยา
•
โรคอ้ วน
•
•
•
•
ี่ งทีเ่ ปลีย
ปัจจ ัยเสย
่ น
แปลงได้
•
•
•
•
ขาดการออกกาล ัง
กินอาหารทีอ
่ ด
ุ ม
ด้วยไขม ัน เกลือ
พล ังงาน
สูบบุหรี่
ดืม
่ แอลกอฮอล์
มาก
•
ความด ันสูง
เบาหวาน
ภาวะต้าน
อินซูลน
ิ
ไขม ันชนิดเลว
สูง(LDL)
•
โรคหลอดเลือด
ห ัวใจตีบ
โรคห ัวใจจากความ
ด ันสูง
โรคหลอดเลือด
สมอง
โรคหลอดเลือด
แดงสว่ นปลายตีบ
METABOLIC SYNDROME
เมื่อใดควรพบแพทย์
• เมื่อคุณมีกลุม่ อาการที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือด
และหัวใจ อย่างน้ อย 1 อย่าง
ยาลดน้ าหนัก
•
•
•
•
เมื่อออกกาลังการและควบคุมอาหารแล้ ว 3-6 เดือน ไม่ได้ ผล
ลดได้ รวดเร็ว
ดื ้อยาเมื่อใช้ ไป 3 เดือน
ผลข้ างเคียง
– นอนไม่ หลับ
– หงุดหงิด
– ใจสั่น
– ประสาทหลอน
– ท้ องผูก