dT - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
Download
Report
Transcript dT - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
ี dT
แนวทางการรณรงค์ให้ว ัคซน
ในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้
ี
กลุม
่ โรคติดต่อทีป
่ ้ องก ันได้ดว้ ยว ัคซน
สาน ักโรคติดต่อทว่ ั ไป
กรมควบคุมโรค
1. กาหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และ
ประชากรกลุม
่ เป้าหมาย
่ งเวลาการรณรงค์
กาหนดชว
ว ันที่ 1 มกราคม ถึง 30 เมษายน 2558
่ งทีม
โดย 2 เดือนแรกเป็นชว
่ ก
ี ารรณรงค์แบบ
่ งเก็บตก
เข้มข้นในเชงิ รุก และ 2 เดือนหล ังเป็นชว
1. กาหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และ
ประชากรกลุม
่ เป้าหมาย
เป้าหมายของโครงการ
Coverage > 85 % (ในระด ับตาบล) ในประชากรอายุ 20 ถึง
50 ปี
(ผูท
้ เี่ กิดระหว่างมกราคม 2508 ถึง ธ ันวาคม 2538)
วิธก
ี ารคานวณ
้ านวนประชาชนทีไ่ ด้ร ับว ัคซน
ี ตามกลุม
ต ัวตงั้ ใชจ
่ เป้าหมายที่
ระบุไว้ตามทะเบียนสารวจ (โดยไม่ตอ
้ งถามประว ัติการได้ร ับ
ี )
ว ัคซน
ต ัวหารตามทะเบียนสารวจ
ไม่น ับรวมหญิงตงครรภ์
ั้
1. กาหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และ
ประชากรกลุม
่ เป้าหมาย
เป้าหมายโครงการ
ได้ขอ
้ มูลสาค ัญเพือ
่ เป็นบทเรียนในการนาไป
ี อืน
ต่อยอดสาหร ับขยายการให้ว ัคซน
่ ๆ
่ การยอมร ับว ัคซน
ี การบริหาร
ในอนาคต เชน
ั ันธ์
ี การรณรงค์ประชาสมพ
จ ัดการว ัคซน
ปัจจ ัยทีม
่ ผ
ี ลต่อการเพิม
่ หรือลดความครอบคลุม
เป็นต้น
1. กาหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และ
ประชากรกลุม
่ เป้าหมาย
ประชากรเป้าหมาย
ประชากรทีม
่ อ
ี ายุ ๒๐ ถึง ๕๐ ปี ทีม
่ าร ับบริการ
ในจ ังหว ัดภาคเหนือ กลาง และภาคใต้
(ผูท
้ เี่ กิดระหว่างมกราคม ๒๕๐๘ ถึง ธ ันวาคม ๒๕๓๘)
ทงบุ
ั้ คคลชาวไทยและชาวต่างชาติ และเพือ
่ เป็นการ
กระตุน
้ ภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันต่อโรคคอตีบในชุมชน
ให้ครอบคลุมมากทีส
่ ด
ุ ขอให้เจ้าหน้าที่
ี dT แก่กลุม
ฉีดว ัคซน
่ เป้าหมายทุกคน คนละ 1 ครงั้
2. บทบาทของหน่วยงานทีเ่ กีย
่ วข้อง
กรมควบคุมโรค
สคร.
เขต
บริการ
สุขภาพ
สสจ.
สปสช.
รพ./สสอ.
รพสต.
ชุมชน ชุมชน ชุมชน ชุมชน ชุมชน
การดาเนิ นงาน
่ การรณรงค ์
ก่อนการรณรงค ์ ช่วงทีมี
หลังการรณรงค ์
• จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอ/
• การสารวจประชากรเป้ าหมาย
• การรายงานผลการปฏิบ
พร ้อมใช้งาน
• การจัดทาแผนปฏิบต
ั งิ านและ
• การติดตามให้ว ัคซีนแก่ก
าหนดผังจุดบริการ
กลไกการติดตามการดาเนิ•นกงาน
่
เป้ าหมายทีพลาดในวันร
•
กิ
จ
กรรม
่
• สถานทีให้บริการวัคซีน
-การให้สุขศึกษาและประชาสัม•พัการเฝ
นธ ์ ้ าระวังอาการภายห
• การจัดเตรียมวัคซีน/อุปกรณ์
ร ับวัคซีน
้
ต่างๆ และระบบลู กโซ่ความเย็-ชี
น แจงประชาชนให้ทราบถึงประโยชน์
• แนวทางการตอบสนองแ
-อาการข้างเคียงจากวัคซีน/แนวทาง
• การระดมความร่วมมือ
ประสานงานกรณี AEFI ร
การดู แล
อาสาสมัคร
• After Action Review
• แจกเอกสารแผ่นพับ
• การอบรมอาสาสมัคร
• การให้ว ัคซีน
• การประชาสัมพันธ ์
• บันทึกการให้ว ัคซีนในแบบฟอร ์ม
• การสังเกตอาการภายหลังได้ร ับวัคซีน
• After Action Review
3. การเตรียมการก่อนการรณรงค์
3.1 การสารวจประชากรเป้าหมาย
้ อ
ใชข
้ มูลจากฐานข้อมูลประชากรของจ ังหว ัด และ
้ ที่ ตรวจสอบ
มอบหมายให้บค
ุ ลากรสาธารณสุขในพืน
ั
ื่
้ ทีจ
ประชากรทีอ
่ าศยอยู
ใ่ นพืน
่ ริงอีกครงั้ เพือ
่ สรุปเป็นรายชอ
ทงหมดในทะเบี
ั้
ยนทีจ
่ ะใชร้ ณรงค์
้ ทีจ
้ ที่ ในกรณีทม
บุคลากรในพืน
่ ะร ับผิดชอบประชากรในพืน
ี่ ี
ี ในหน่วยบริการนอกพืน
้ ที่ แต่ละพืน
้ ที่
การขอร ับว ัคซน
ี ตามทะเบียน
จะประสานตรวจสอบ ยืนย ันการได้ร ับว ัคซน
้ ทีท
สารวจของเขตพืน
่ รี่ ับผิดชอบ
3. การเตรียมการก่อนการรณรงค์
สาหร ับในบางจ ังหว ัดทีเ่ คยมีการรณรงค์ไปแล้ว
่ งทีม
ในชว
่ ก
ี ารระบาดของโรคคอตีบ ก็มค
ี วาม
่ เดียวก ัน
จาเป็นทีจ
่ ะต้องสารวจประชากรเชน
เพือ
่ จะได้ทราบข้อมูลทีเ่ ป็นปัจจุบ ันและสามารถ
ให้การรณรงค์ได้ครอบคลุม ครบถ้วน
3.2 การจ ัดทาแผนปฏิบ ัติงานและกลไกติดตามการดาเนินงาน
ั
ี ให้ชดเจน
ควรจ ัดทาแผนปฏิบ ัติการรณรงค์ให้ว ัคซน
้ ที่
ในภาพรวมและทุกระด ับ โดยมีรายละเอียดในเรือ
่ งพืน
ทีด
่ าเนินการ จานวนกลุม
่ เป้าหมาย ระยะเวลาปฏิบ ัติงาน
ผูร้ ับผิดชอบ การควบคุมกาก ับ ตลอดจนวิธบ
ี ริการ
้ ที่ โดยเฉพาะในพืน
้ ทีท
แต่ละพืน
่ เี่ ข้าถึงยาก และประชากร
ทีไ่ ม่สามารถเข้าถึงบริการได้งา
่ ย ประชากรข้ามชาติ
ควรมีกลไกประสานการดาเนินงานรณรงค์ โดยอาจเป็น
รูปแบบคณะทางานเฉพาะกิจ หรือคณะกรรมการทีม
่ อ
ี ยูแ
่ ล้ว
3.2 การจ ัดทาแผนปฏิบ ัติงานและกลไกติดตามการดาเนินงาน
กระบวนการติดตามอาจกาหนดเป้าหมายความครอบคลุม
่ มีการกาหนดเป้าหมาย
ทุกระยะของการรณรงค์ เชน
ั
่ งทีม
่ อาจกาหนด
ทุก 1 สปดาห์
ในชว
่ ก
ี ารรณรงค์เข้มข้น เชน
ั
เป้าหมายความครอบคลุมร้อยละ 30 ในสปดาห์
แรก และ
ั
ร้อยละ 50 ในสปดาห์
ท ี่ 2 เพือ
่ ให้แต่ละหน่วยงานมีเป้าหมาย
เดียวก ัน และให้มก
ี ารรายงานเป้าหมายเพือ
่ ติดตามผลการ
ั
ดาเนินงานทุกสปดาห์
(ตามความเหมาะสม)
ิ้ สุดการรณรงค์
จนกว่าจะสน
3.3 รูปแบบการรณรงค์
เร่งร ัดการดาเนินงานในระยะทีไ่ ม่นานจนเกินไป
4 เดือน (2 เดือนแรกแบบเข้มข้น 2 เดือนหล ังเก็บตก)
เขตเมือง เชงิ รุกไปตามแหล่งชุมชนต่างๆ
ี กรณีเป็นหน่วยบริการเคลือ
3.4 สถานทีใ่ ห้บริการว ัคซน
่ นที่
ควรเป็นทีม
่ อ
ี ากาศถ่ายเทดี เป็นบริเวณทีร่ ม
่ มีบริเวณ
กว้างขวางเพียงพอทีจ
่ ะรองร ับผูม
้ าร ับบริการและ
อาสาสม ัครทีม
่ าให้บริการ และควรมีการจ ัดบริเวณสาหร ับ
ั
ปฐมพยาบาลกรณีมเี หตุฉุกเฉิน และบริเวณสงเกตอาการ
ี การคมนาคม
สาหร ับผูม
้ าร ับบริการภายหล ังร ับว ัคซน
่ ต่อผูป
สะดวกต่อผูม
้ าร ับบริการและสะดวกต่อการสง
้ ่ วยใน
กรณีฉุกเฉิน มีอป
ุ กรณ์ทจ
ี่ าเป็นพร้อม ตามมาตรฐานการ
ดาเนินงานสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
3 . 5 ก า ร จ ั ด เ ต รี ย ม ว ั ค ซ ี น ร ะ บ บ ลู ก โ ซ่ ค ว า ม เ ย็ น
และว ัสดุอป
ุ กรณ์
ี
ว ัคซน
ี การเตรียมอุปกรณ์ระบบ
การเบิกและการร ับว ัคซน
่ วามเย็นให้ปฏิบ ัติตามแนวปฏิบ ัติปกติ
ลูกโซค
ตามมาตรฐานการดาเนินงานสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
15 มกราคม
2558
่ แบบสารวจการจ ัดสง
่ ว ัคซน
ี
การสง
1.
ั
เภสชกรข
ัตติยะ อุตม์อา
่ ง
ประสานจ ังหว ัดในภาคเหนือ (เขตบริการสุขภาพที่ 1-3)
ั
ั มอ
โทรศพท์
02 590-3222 โทรศพท์
ื ถือ 08-0291-3312
อีเมล์ [email protected]
2.
ั
ื้ นาค
เภสชกรหญิ
งปิ ยะนาถ เชอ
ประสานจ ังหว ัดในภาคกลาง (เขตบริการสุขภาพที่ 4-6)
ั
ั มอ
โทรศพท์
02 590-3222 โทรศพท์
ื ถือ 08-4761-7449
อีเมล์ [email protected]
3.
ั
ั พจน์เลิศอรุณ
เภสชกรอภิ
ชย
ประสานจ ังหว ัดในภาคใต้ (เขตบริการสุขภาพที่ 11-12)
ั
ั มอ
โทรศพท์
02 590-3222 โทรศพท์
ื ถือ 08-1553-7774
อีเมล์ [email protected]
ี ระบบลูกโซค
่ วามเย็นและ
3.5 การจ ัดเตรียมว ัคซน
ว ัสดุอป
ุ กรณ์
ั
่ ว ัคซน
ี ให้แก่หน่วยบริการ
องค์การเภสชกรรมจะต้
องสง
ภายในเวลาทีก
่ าหนด
ว ัสดุอป
ุ กรณ์อน
ื่ ๆ
ให้หน่วยบริการประสานสสจ. ในการเบิกว ัสดุอป
ุ กรณ์
ั
ให้พร้อมอย่างน้อย 1 ถึง 2 สปดาห์
ก่อนการรณรงค์
่ เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยา พลาสเตอร์ กระติก
อุปกรณ์ เชน
่ ัคซน
ี สาลี แอลกอฮอล์ ยาแก้ปวดลดไข้ เป็นต้น
สาหร ับใสว
3.6การระดมความร่วมมือของอาสาสม ัครก่อนการรณรงค์
้ ที่
เจ้าหน้าทีส
่ าธารณสุขผูร้ ับผิดชอบในแต่ละพืน
ควรประสานงานก ับหน่วยงานองค์กร และ
กลุม
่ บุคคลในท้องถิน
่ เพือ
่ ขอความร่วมมือ
่ อาสาสม ัคร ร่วมสน ับสนุนกิจกรรม
ในการสง
ั
ื่ ให้แน่ชด
ในว ันรณรงค์ รวบรวมรายชอ
เพือ
่ เตรียมการฝึ กอบรม และเตรียมอุปกรณ์
ให้เพียงพอ
3.7 การระดมความร่วมมือ การอบรมแนะนาอาสาสม ัคร
่ งทีม
บทบาทสาค ัญของอาสาสม ัครในชว
่ ก
ี าร
ั
รณรงค์คอ
ื การให้คาแนะนาชกชวนประชาชน
ี และเป็นทีมงานชว
่ ย
ให้มาร ับบริการว ัคซน
ี
ในการให้บริการว ัคซน
ี้ จงแก่เจ้าหน้าที่
สสจ. จ ัดให้มก
ี ารประชุมชแ
้ ที่
สาธารณสุขทีเ่ ป็นผูร้ ับผิดชอบหล ักในแต่ละพืน
้ ทีค
เจ้าหน้าทีส
่ ธ. ทีร่ ับผิดชอบแต่ละพืน
่ วรจ ัดการ
ั อ
้ มวิธก
ฝึ กอบรม พร้อมทงมี
ั้ การสาธิตและซกซ
ี าร
ปฏิบ ัติงานแก่เจ้าหน้าทีร่ ว่ มคณะ
ั ันธ์โครงการ
3.8 การประชาสมพ
ประสานงานก ับเจ้าหน้าทีส
่ าธารณสุข ทีเ่ กีย
่ วข้อง
อย่างทว่ ั ถึงในประเด็นรายละเอียดเกีย
่ วก ับการรณรงค์
ั ันธ์ก ับประชาชน
ประชาสมพ
ั ันธ์ให้ประชาชนรูเ้ รือ
ควรประชาสมพ
่ งการรณรงค์และ
ื่ มวลชน
ให้ความร่วมมือในการร ับบริการ โดยผ่านทางสอ
ื่ ชุมชน และสอ
ื่ บุคคลทุกชอ
่ งทาง
สอ
* อาจพิจารณาให้เจ้าหน้าทีส
่ าธารณสุขทีม
่ อ
ี ายุ 20 ถึง 50 ปี
ี ก่อนเริม
ร ับว ัคซน
่ การรณรงค์ จะทาให้สามารถอธิบาย
แก่กลุม
่ เป้าหมายได้ด ี และเป็นปัจจ ัยสาค ัญในการยอมร ับ
ี ของกลุม
ว ัคซน
่ เป้าหมาย
ั ันธ์
้ หาทีใ่ ชใ้ นการประชาสมพ
กรอบเนือ
ความสาค ัญของปัญหาคอตีบ ทีม
่ อ
ี ยูใ่ นประเทศไทยและประเทศเพือ
่ นบ้าน
้ ทีภ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การระบาดใหญ่ของโรคคอตีบในพืน
่ าคอีสานตอนล่าง
ื้ ได้และมีความเสย
ี่ งเนือ
ผูใ้ หญ่สามารถติดเชอ
่ งจากสว่ นใหญ่ไม่เคยได้ร ับ
ภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ัน
ี
โรคคอตีบเป็นโรคทีป
่ ้ องก ันได้ดว้ ยว ัคซน
ี คอตีบ-บาดทะย ักจะเป็นประโยชน์ตอ
ี
การให้ว ัคซน
่ ผูร้ ับว ัคซน
(ป้องก ันโรคคอตีบและบาดทะย ัก)และการป้องก ันโรคแก่สว่ นรวมในวงกว้าง
จะมีการรณรงค์ในระหว่างว ันที่ มกราคม ถึง เมษายน 2558 สามารถ
ไปร ับบริการได้ตามจุดบริการต่างๆ
ี ป้องก ันบาดทะย ักแล้ว จะต้องมาร ับว ัคซน
ี ในว ัน
สาหร ับผูท
้ เี่ คยได้ร ับว ัคซน
่ ก ัน เพือ
รณรงค์ดว้ ยเชน
่ กระตุน
้ ภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรคคอตีบ
4. การปฏิบ ัติงานในว ันรณรงค์
จ ัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอและพร้อมใชง้ าน
้ื ทีเ่ พียงพอและสะดวกต่อการ
กาหนดผ ังจุดบริการให้มพ
ี น
ปฏิบ ัติงาน
กิจกรรมประกอบด้วย
ั ันธ์ แจกเอกสารแผ่นพ ับ
ึ ษาและประชาสมพ
การให้สข
ุ ศก
ี้ จงประชาชน ให้ทราบถึงประโยชน์ของการรณรงค์
ชแ
้ งต้น
อาการข้างเคียงและแนวทางการดูแลเบือ
ี
การให้ว ัคซน
ี ในแบบฟอร์ม
บ ันทึกการให้ว ัคซน
ั
ี อย่างน้อย 30 นาที
การสงเกตอาการภายหล
ังได้ร ับว ัคซน
ให้ยาแก้ปวดลดไข้ สาหร ับบรรเทาอาการปวดและลดไข้
การแนะนาล่วงหน้า
การแนะนาล่วงหน้ามีล ักษณะคล้ายก ับการให้ความรู ้
้ อ
ื่ สารเป็นข้อมูล
หรือการแนะนาโดยตรง แต่ขอ
้ มูลทีใ่ ชส
้ ก ับผูร้ ับบริการในอนาคต
ทีค
่ าดว่าอาจเกิดขึน
ต ัวอย่างการแนะนาล่วงหน้า
ี คอตีบ-บาดทะย ัก คุณอาจมีไข้ได้นะคะ
“หล ังฉีดว ัคซน
่ นใหญ่ไข้จะขึน
ี 1 ถึง 2 ชว่ ั โมงและ
้ หล ังได้ร ับว ัคซน
สว
เป็นอยูไ่ ม่เกิน 2 ว ัน ให้ร ับประทานยาลดไข้ บางคนอาจ
ี ซงึ่ สว
่ น
มีอาการปวดบวม แดงร้อน บริเวณทีฉ
่ ด
ี ว ัคซน
ใหญ่ม ักเกิดอาการภายใน 2 ถึง 6 ชว่ ั โมง ให้ประคบเย็น
และร ับประทานยาบรรเทาอาการปวด”
ี /รูปแบบการบรรจุ
ล ักษณะทวไปของว
่ั
ัคซน
ี )ี ว ัคซน
ี มี
รูปแบบหลายโด๊ส ต่อ 1 ขวด (10 โด๊ส, 5 ซซ
ล ักษณะเป็นของเหลวแขวนตะกอนสเี ทาขาว (Greyish-white
suspension)
ี ี ฉีดเข้ากล้ามเนือ
้
ขนาดและวิธใี ช ้ : 0.5 ซซ
ข้อห้ามใช ้
ผูท
้ ม
ี่ ป
ี ระว ัติการแพ้รน
ุ แรง หรือมีปฏิกริ ย
ิ ารุนแรงภายหล ัง
ี ชนิดนี้ หรือว ัคซน
ี ทีม
่ นประกอบของท็อกซน
ิ
ได้ร ับว ัคซน
่ ส
ี ว
บาดทะย ัก หรือคอตีบมาก่อน
่ นประกอบ
ผูท
้ ม
ี่ ป
ี ระว ัติแพ้ตอ
่ สารชนิดใดชนิดหนึง่ ซงึ่ เป็นสว
ี นี้
ของว ัคซน
ี และเทคนิคการฉีด
การเตรียมว ัคซน
ี ี หรือ 3 ซซ
ี ี
กระบอกฉีดยาขนาด 1 ซซ
ขนาดเข็มฉีดขนาด 23-26 G ยาว 1-2 นิว้
(ในผูใ้ หญ่ควรใชเ้ ข็ มทีย
่ าวเพียงพอทีจ
่ ะลงลึก
ั้
ี ทีม
้ โดยเฉพาะผูร้ ับว ัคซน
ถึงชนกล้
ามเนือ
่ ภ
ี าวะ
นา้ หน ักเกินหรืออ้วน)
ี
การฉีดว ัคซน
่ ยลดความ
ดึงผิวหน ังให้ตงึ เฉียงลง เป็น Z-track จะชว
เจ็บปวดขณะฉีดได้
เข็มตงตรง
ั้
90 องศา
ั
สงเกตอาการภายหล
ังได้ร ับ
ี อย่างน้อย 30 นาที
ว ัคซน
ี ในขณะให้บริการ
การดูแลร ักษาว ัคซน
ควรให้บริการในทีร่ ม
่
ี ในกระติกหรือกล่องโฟมทีม
่ ง
เก็บว ัคซน
่ อ
ี ณ
ุ หภูมอ
ิ ยูใ่ นชว
ี ส
+2 ถึง +8 องศาเซลเซย
ี ให้ตงตรง
วางขวดว ัคซน
ั้
ั ัสก ับ icepack หรือนา้ แข็งโดยตรง
ี สมผ
ห้ามวางขวดว ัคซน
ี ในระหว่างรอบริการ
ห้ามปักเข็มคาขวดว ัคซน
้ ล้วไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 8 ชว่ ั โมง
หล ังเปิ ดใชแ
เปิ ดกระติกเท่าทีจ
่ าเป็นเท่านนและปิ
ั้
ดฝาให้สนิท
5. การปฏิบ ัติงานหล ังว ันรณรงค์
การลงบ ันทึกและรายงานผลการปฏิบ ัติงาน
ี แก่กลุม
ี ในว ัน
การติดตามให้ว ัคซน
่ เป้าหมายทีพ
่ ลาดว ัคซน
รณรงค์
้ ทีบ
ผูร้ ับผิดชอบเขตพืน
่ ริการควรตรวจสอบประชากร
ื่ ตามทะเบียนสารวจและย ังไม่ได้ร ับ
กลุม
่ เป้าหมายทีม
่ รี ายชอ
ี
บริการ วางแผนติดตามและดาเนินการเก็บตกให้ว ัคซน
ั
่ งทีม
ภายใน 1 สปดาห์
หล ังชว
่ ก
ี ารรณรงค์แบบเข้มข้น หรือ
้ ที่
ตามแผนปฏิบ ัติการของแต่ละพืน
ี มาตรฐานทีบ
รห ัสว ัคซน
่ ันทึก ผ่านฐานข้อมูล 43 แฟ้มของ สนย.
ปี 2558
ี รวมห ัด-ห ัดเยอรม ันในเด็กอายุ 2.5 ปี -7 ปี
1. การให้ว ัคซน
ี คอตีบ-บาดทะย ัก ในกลุม
2. รณรงค์ให้ว ัคซน
่ ผูใ้ หญ่อายุ 20-50 ปี
ี อยูใ่ น แนวทาง MR
รห ัสว ัคซน
หน้า 4
ี อยูใ่ น แนวทาง dT
รห ัสว ัคซน
หน้า 9
้ ันทึก
รห ัสทีใ่ ชบ
(มาตรฐาน
สนย.)
ื่ ว ัคซน
ี
ชอ
ภาษาอ ังกฤษ
ื่ ว ัคซน
ี ภาษาไทย
ชอ
ประเภท
อายุ
รห ัส ICD_10 _TM
ฉีด
Z27.4
ฉีด
2 ปี 6 เดือน
สาหร ับการ
รณรงค์
073
MMR2
ห ัด คางทูม ห ัด
เยอรม ัน
901
dTC
ดีทซ
ี ี
Z23.5, Z23.6
ความครอบคลุมของงาน EPI
ความครอบคลุมของ
ี
การให้บริการว ัคซน
ยึดผูใ้ ห้บริการเป็นหล ัก
> 100% ได้
ความครอบคลุม
ี ใน
ของการได้ร ับว ัคซน
้ ทีร่ ับผิดชอบ
พืน
้ ที่
ยึดเด็กในพืน
ี
ร ับผิดชอบได้ร ับว ัคซน
เป็นหล ัก
>100% ไม่ได้
้ ที่
= จานวนเด็กผูม
้ าร ับบริการทงหมดท
ั้
งในและนอกพื
ั้
น
ี
้ ทีร่ ับผิดชอบทีไ่ ด้ร ับว ัคซน
= จานวนเด็กในพืน
้ ทีร่ ับผิดชอบทงหมด
จานวนเด็กในพืน
ั้
้ ทีร่ ับผิดชอบทงหมด
จานวนเด็กในพืน
ั้
้ ที
่ มี
่ กลุ่มเป้ าหมายรวมกันเป็ นจานวนมาก:
พืนที
สถานประกอบการ โรงงาน สถานศึกษา สถานที่
ราชการ
เรืกอวันจ
านฯลฯ
• การเบิ
คซี
• ผลการรณรงค ์
ความครอบคลุมการได้ร ับวัคซีน
้ ร่ ับผิดชอบ)
(เฉพาะในพืนที
ผลการให้บริการ (ใน+นอก+ต่างชาติ)
แบบ dTC2
นผลการรณรงค ์ให้วค
ั ซีน dT แก่ประชากรกลุ่มเป้ าหมายอายุ 20 - 50 ปี ในระดับ
......รพสต. แสนสุข.........ตาบล.........แสนสุข.................อาเภอ.................สบายใ
หมูท
่ ี่
3
* จานวน
กลุม
่ เป้าหมาย
้ ที่
ทีม
่ อ
ี ยูจ
่ ริงในพืน
ร ับผิดชอบ
(1)
สารวจไว้ 360 คน
ย้ายออก 2 คน
ย้ายเข้า 7 คน
ไม่ทราบว่าอยูท
่ ใี่ ด
5 คน
จานวน
กลุม
่ เป้าหมาย
ทีม
่ อ
ี ยูจ
่ ริง
= 365 คน
ี dT
จานวนกลุม
่ เป้าหมายทีไ่ ด้ร ับว ัคซน
กลุม
่ เป้าหมายในจ ังหว ัด
กลุม
่
้ ที่
** กลุม
่ เป้าหมายในพืน
*** ผล
เป้าหมาย
ชาว
กลุม
่
การให้
ได้ร ับ
*ความ
นอก
ต่างชาติ
เป้าหมาย
ได้ร ับใน
ี
ว ัคซน
จากที่ ครอบคลุ
จ ังหว ัด
้ ที่
นอกพืน
้ ที่
พืน
อืน
่
ม (%)
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
(8)
230
70
82.19
15
7
8
260
4
..................
............... ........... ............. ............... ............... ............ ............
7
..................
............... ........... ............. ............... ............... ............ ............
..................
............... ........... ............. ............... ............... ............ ............
รวม รพสต
่ แบบรายงานของหน่วยงานแต่ละระด ับ
การจ ัดทาและการสง
สถานบริการ
ว ันที่ 11 พ.ค. 58
dTC2
สสอ.
ว ันที่ 15 พ.ค. 58
จ ัดทา dTC3
dTC3
สสจ.
ว ันที่ 20 พ.ค. 58
จ ัดทา dTC1 และ dTC2
dTC4
สาน ักงานเขต
บริการสุขภาพ
จ ัดทา dTC4
ั )
การติดตามความก้าวหน้า (ทางโทรศพท์
สถานบริการ
จานวนกลุม
่ เป้าหมายทีใ่ ห้บริการ
ทงในและนอกเขตร
ั้
ับผิดชอบ
สสอ.
ั
ทุก 2 สปดาห์
(w2,4)
่ ง ม.ค.-เม.ย. 58
ในชว
จานวนกลุม
่ เป้าหมายที่
ให้บริการ ทงในและนอกเขต
ั้
ร ับผิดชอบ
สสจ.
จานวนกลุม
่ เป้าหมายที่
ให้บริการ ทงในและนอกเขต
ั้
ร ับผิดชอบ
สาน ักงานเขต
บริการสุขภาพ
ี
5.3 การเฝ้าระว ังอาการภายหล ังได้ร ับว ัคซน
AEFI
ระบบปกติ
5.4 แนวทางการตอบสนองและประสานงาน
กรณี AEFI ร้ายแรง
ื่ สาร
การสอ
่ื สารและดูแลเจ้าหน้าทีท
ี แก่ผป
การสอ
่ เี่ ป็นผูฉ
้ ด
ี ว ัคซน
ู ้ ่ วย
แนวทางการสอบสวนสาเหตุ
กระบวนการสอบสวนทางระบาดวิทยาประกอบด้วย การ
สอบสวนผูป
้ ่ วยทีร่ ายงาน การค้นหาผูป
้ ่ วยเพิม
่ เติมใน
ี ในรุน
ชุมชน รวมผูไ้ ด้ร ับว ัคซน
่ เดียวก ัน การตรวจสอบ
ี การตรวจวิเคราะห์ว ัคซน
ี ใน
การบริหารจ ัดการว ัคซน
ห้องปฏิบ ัติการ
ี่ วชาญทีก
การสรุปสาเหตุจากคณะผูเ้ ชย
่ ระทรวง
้
สาธารณสุขแต่งตงขึ
ั้ น
การจ ัดทาข้อเสนอเพือ
่ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
After Action Review
ว ัตถุประสงค์สาค ัญเพือ
่ นาบทเรียนทีไ่ ด้จากการ
ดาเนินโครงการมาพ ัฒนาแนวทางการดาเนินงาน
เพือ
่ พ ัฒนางานสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรคในอนาคต
ผูเ้ ข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ผูท
้ รงคุณวุฒก
ิ รม
ี่ วชาญจากภายนอกกสธ.
ควบคุมโรค ผูเ้ ชย
ทีมงานสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค สคร. ต ัวแทน
ผูป
้ ฏิบ ัติงานจากจ ังหว ัดต่างๆ ทุกระด ับ
After Action Review
กรอบการอภิปรายในการประชุม
ผลการดาเนินงานในด้านต่างๆ (coverage, cold
chain management, การแก้ปญ
ั หาต่างๆ ระหว่าง
ดาเนินงาน, คุณภาพการให้บริการ, อาการข้างเคียง
ี )
จากการร ับว ัคซน
การวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน สาเหตุของการไม่ได้ร ับ
ี ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานและ
ว ัคซน
ข้อเสนอแนะเพือ
่ แก้ไข
ผลผลิต
สรุปผลการดาเนินงานโครงการเพือ
่ การพ ัฒนาต่อไป