2. แนวทางการรณรงค์ให้ dT - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย

Download Report

Transcript 2. แนวทางการรณรงค์ให้ dT - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย

แนวทางการรณรงค์ให้วคั ซีน dT
ในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้
กาหนดการรณรงค์
กาหนดช่วงเวลาการรณรงค์
 วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 เมษายน 2558
 โดย 2 เดือนแรกเป็ นช่วงที่มีการรณรงค์แบบเข้มข้นในเชิงรุก และ
2 เดือนหลังเป็ นช่วงเก็บตก
เป้าหมายโครงการ
เป้าหมายของโครงการ

Coverage > 85 % (ในระดับตาบล)
ในประชากรอายุ 20 ถึง 50 ปี
(ผูท
้ ี่เกิดระหว่างมกราคม 2508 ถึง ธันวาคม 2538)
วิธีการคานวณ
 ตัวตั้ง ใช้จานวนประชาชนที่ได้รบั วัคซีนตามกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ตาม
ทะเบียนสารวจ* (โดยไม่ตอ้ งถามประวัตกิ ารได้รบั วัคซีน)
 ตัวหารตามทะเบียนสารวจ
*ในการนี้ไม่นบั รวมประชาชนที่ได้รบั dT ที่ใช้ทดแทน TT,
ไม่นบั รวมหญิงตั้งครรภ์ และคนที่เคยได้วคั ซีนช่วงที่มีการระบาดที่ได้รบั
วัคซีนตั้งแต่ 2 เข็มขึ้นไป/หรือ ได้รบั 1 เข็มมาในระยะเวลา 1 ปี
ประชากรกลุม่ เป้าหมาย
ประชากรเป้าหมาย
 ประชากรที่มีอายุ 20 ถึง 50 ปี ที่มารับบริการในจังหวัด
ภาคเหนือ กลาง และภาคใต้ (ผูท้ ี่เกิดระหว่างมกราคม
2508 ถึง ธันวาคม 2538) ทั้งบุคคลชาวไทยและ
ชาวต่างชาติ และเพื่อเป็ นการกระตุน้ ภูมิคมุ ้ กันต่อโรคคอตีบ
ในชุมชนให้ครอบคลุมมากที่สุด ขอให้เจ้าหน้าที่ฉีดวัคซีน dT
แก่กลุม่ เป้าหมายทุกคน คนละ 1 ครั้ง
บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กรมควบคุมโรค
สปสช.
สสจ.
สคร.
สสอ.
เขตบริการ
สุขภาพ
รพสต.
ชุมชน
ชุมชน
ชุมชน
ชุมชน
ชุมชน
การดาเนินงาน
ก่อนการรณรงค์
ช่ วงที่มกี ารรณรงค์
หลังการรณรงค์
• การสารวจประชากรเป้าหมาย
• จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอ/พร้อมใช้งาน
• การรายงานผลการปฏิบตั งิ าน
• การจัดทาแผนปฏิบตั งิ านและ
กลไกการติดตามการดาเนินงาน
•สถานที่ให้บริการวัคซีน
•การจัดเตรียมวัคซีน/อุปกรณ์ตา่ งๆ
และระบบลูกโซ่ความเย็น
•การระดมความร่วมมืออาสาสมัคร
•การอบรมอาสาสมัคร
•การประชาสัมพันธ์
•กาหนดผังจุดบริการ
•กิจกรรม
-การให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์
-ชี้ แจงประชาชนให้ทราบถึงประโยชน์
-อาการข้างเคียงจากวัคซีน/แนวทางการดูแล
•แจกเอกสารแผ่นพับ
•การให้วคั ซีน
•บันทึกการให้วคั ซีนในแบบฟอร์ม
•การสังเกตอาการภายหลังได้รบั วัคซีน
•After Action Review
•การติดตามให้วคั ซีนแก่กลุ่มเป้าหมายที่
พลาดในวันรณรงค์
•การเฝ้ าระวังอาการภายหลังได้รบั วัคซีน
• แนวทางการตอบสนองและประสานงาน
กรณี AEFI ร้ายแรง
•After Action Review
การเตรียมการก่อนการรณรงค์
การสารวจประชากรเป้าหมาย
 ใช้ขอ้ มูลจากฐานข้อมูลประชากรของจังหวัด และมอบหมายให้
บุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ ตรวจสอบประชากรที่อาศัยอยูใ่ นพื้นที่จริง
อีกครั้ง เพื่อสรุปเป็ นรายชื่อทั้งหมดในทะเบียนทีจ่ ะใช้รณรงค์
 บุคลากรในพื้นที่จะรับผิดชอบประชากรในพื้นที่ ในกรณีที่มีการขอรับ
วัคซีนในหน่วยบริการนอกพื้นที่ แต่ละพื้นที่จะประสานตรวจสอบ
ยืนยันการได้รบั วัคซีน ตามทะเบียนสารวจของเขตพื้นที่ที่รบั ผิดชอบ
การเตรียมการก่อนการรณรงค์
*สาหรับในบางจังหวัดที่เคยมีการรณรงค์ไปแล้ว ในช่วงที่มีการ
ระบาดของโรคคอตีบ ก็มีความจาเป็ นที่จะต้องสารวจประชากร
เช่นเดียวกัน เพื่อจะได้ทราบข้อมูลที่เป็ นปั จจุบนั และสามารถให้
การรณรงค์ได้ครอบคลุม ครบถ้วน
การจัดทาแผนปฏิบตั งิ านและกลไกติดตามการดาเนินงาน
 ควรจัดทาแผนปฏิบตั กิ ารรณรงค์ให้วคั ซีนให้ชดั เจนในภาพรวมและทุก
ระดับ โดยมีรายละเอียดในเรื่องพื้นที่ที่ดาเนินการ จานวนกลุ่มเป้าหมาย
ระยะเวลาปฏิบตั งิ าน ผูร้ บั ผิดชอบ การควบคุมกากับ ตลอดจนวิธีบริการ
แต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เข้าถึงยาก และประชากรที่ไม่สามารถ
เข้าถึงบริการได้ง่าย ประชากรข้ามชาติ
 ควรมีกลไกประสานการดาเนินงานรณรงค์ โดยอาจเป็ นรูปแบบ
คณะทางานเฉพาะกิจ หรือคณะกรรมการที่มีอยูแ่ ล้ว
การจัดทาแผนปฏิบตั งิ านและกลไกติดตามการดาเนินงาน
 กระบวนการติดตามอาจกาหนดเป้าหมายความครอบคลุมทุกระยะของ
การรณรงค์ เช่น มีการกาหนดเป้าหมายทุก 1 สัปดาห์ในช่วงที่มีการ
รณรงค์เข้มข้น เช่น อาจกาหนดเป้าหมายความครอบคลุมร้อยละ 30
ในสัปดาห์แรก และร้อยละ 50 ในสัปดาห์ที่ 2 เพื่อให้แต่ละหน่วยงานมี
เป้าหมายเดียวกัน และให้มีการรายงานเป้าหมายเพื่อติดตามผลการ
ดาเนินงานทุกสัปดาห์ (ตามความเหมาะสม) จนกว่าจะสิ้นสุดการ
รณรงค์
รูปแบบการรณรงค์
 เร่งรัดการดาเนินงานในระยะที่ไม่นานจนเกินไป
 4 เดือน (2 เดือนแรกแบบเข้มข้น 2 เดือนหลังเก็บตก)
 เขตเมือง เชิงรุกไปตามแหล่งชุมชนต่างๆ
สถานที่ให้บริการวัคซีน กรณี เป็ นหน่วยบริการเคลือ่ นที่
 ควรเป็ นที่มีอากาศถ่ายเทดี เป็ นบริเวณที่ร่ม มีบริเวณกว้างขวางเพียง
พอที่จะรองรับผูม้ ารับบริการและอาสาสมัครที่มาให้บริการ และควรมี
การจัดบริเวณสาหรับปฐมพยาบาลกรณีมีเหตุฉุกเฉิน และบริเวณ
สังเกตอาการสาหรับผูม้ ารับบริการภายหลังรับวัคซีน การคมนาคม
สะดวกต่อผูม้ ารับบริการและสะดวกต่อการส่งต่อผูป้ ่ วยในกรณีฉุกเฉิน
มีอุปกรณ์ที่จาเป็ นพร้อม ตามมาตรฐานการดาเนินงานสร้างเสริม
ภูมิคมุ ้ กันโรค
การจัดเตรียมวัคซีน ระบบลูกโซ่ความเย็นและวัสดุอุปกรณ์
วัคซีน
 การเบิกและการรับวัคซีน การเตรียมอุปกรณ์ระบบลูกโซ่ความเย็นให้
ปฏิบตั ติ ามแนวปฏิบตั ปิ กติ ตามมาตรฐานการดาเนินงานสร้างเสริม
ภูมิคมุ ้ กันโรค
 สสจ.รวบรวมผลการจัดทาทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเบิกวัคซีนตาม
แบบฟอร์มการเบิกวัคซีน (ปริมาณวัคซีน จานวนรอบ กาหนดส่ง
วัคซีน) ภายในวันที่ 15 ธันวาคม 2557
การจัดเตรียมวัคซีน ระบบลูกโซ่ความเย็นและวัสดุอุปกรณ์
 องค์การเภสัชกรรมจะต้องส่งวัคซีนให้แก่หน่วยบริการภายในเวลาที่
กาหนด
 วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ
 ให้หน่วยบริการประสานสสจ. ในการเบิกวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม
อย่างน้อย 1 ถึง 2 สัปดาห์ ก่อนการรณรงค์
 อุปกรณ์ เช่น เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยา พลาสเตอร์ กระติกสาหรับ
ใส่วคั ซีน สาลี แอลกอฮอล์ ยาแก้ปวดลดไข้ เป็ นต้น
การระดมความร่วมมือของอาสาสมัครก่อนการรณรงค์
 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผูร้ บั ผิดชอบในแต่ละพื้นที่ ควรประสานงานกับ
หน่วยงานองค์กร และกลุ่มบุคคลในท้องถิ่น เพื่อขอความร่วมมือในการ
ส่งอาสาสมัคร ร่วมสนับสนุนกิจกรรมในวันรณรงค์ รวบรวมรายชื่อให้
แน่ชดั เพื่อเตรียมการฝึ กอบรม และเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอ
การระดมความร่วมมือ การอบรมแนะนาอาสาสมัคร
 บทบาทสาคัญของอาสาสมัครในช่วงที่มีการรณรงค์คือ การให้
คาแนะนาชักชวนประชาชนให้มารับบริการวัคซีนและเป็ นทีมงานช่วย
ในการให้บริการวัคซีน
 สสจ. จัดให้มีการประชุมชี้แจงแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่เป็ น
ผูร้ บั ผิดชอบหลักในแต่ละพื้นที่
 เจ้าหน้าที่สธ. ที่รบั ผิดชอบแต่ละพื้นที่ควรจัดการฝึ กอบรม พร้อมทั้งมี
การสาธิตและซักซ้อมวิธีการปฏิบตั งิ านแก่เจ้าหน้าที่รว่ มคณะ
การประชาสัมพันธ์โครงการ
 ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่เกี่ยวข้องอย่างทั ่วถึงในประเด็น
รายละเอียดเกี่ยวกับการรณรงค์
ประชาสัมพันธ์กบั ประชาชน
 ควรประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรูเ้ รื่องการรณรงค์และให้ความร่วมมือ
ในการรับบริการ โดยผ่านทางสื่อมวลชน สื่อชุมชน และสื่อบุคคลทุก
ช่องทาง
* อาจพิจารณาให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีอายุ 20 ถึง 50 ปี รับวัคซีนก่อน
เริ่มการรณรงค์ จะทาให้สามารถอธิบายแก่กลุ่มเป้าหมายได้ดี และเป็ น
ปั จจัยสาคัญในการยอมรับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย
กรอบเนื้อหาที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์
 ความสาคัญของปั ญหาคอตีบ ที่มีอยูใ่ นประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การระบาดใหญ่ของโรคคอตีบในพื้นที่ภาคอีสานตอนล่าง
 ผูใ้ หญ่สามารถติดเชื้อได้และมีความเสี่ยงเนื่องจากส่วนใหญ่ไม่เคยได้รบั ภูมิคมุ ้ กัน
 โรคคอตีบเป็ นโรคที่ป้องกันได้ดว้ ยวัคซีน
 การให้วคั ซีนคอตีบ-บาดทะยักจะเป็ นประโยชน์ตอ่ ผูร้ บั วัคซีน (ป้องกันโรคคอตีบ
และบาดทะยัก)และการป้องกันโรคแก่ส่วนรวมในวงกว้าง
 จะมีการรณรงค์ในระหว่างวันที่ มกราคม ถึง เมษายน 2558 สามารถไปรับบริการ
ได้ตามจุดบริการต่างๆ
 สาหรับผูท้ ี่เคยได้รบั วัคซีนป้องกันบาดทะยักแล้ว จะต้องมารับวัคซีนในวันรณรงค์
ด้วยเช่นกัน เพื่อกระตุน้ ภูมิคมุ ้ กันโรคคอตีบ
การปฏิบตั ิงานในวันรณรงค์
 จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอและพร้อมใช้งาน
 กาหนดผังจุดบริการให้มีพ้ ืนที่เพียงพอและสะดวกต่อการปฏิบตั งิ าน
กิจกรรมประกอบด้วย
 การให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ แจกเอกสารแผ่นพับ ชี้แจงประชาชนให้
ทราบถึงประโยชน์ของการรณรงค์ อาการข้างเคียงและแนวทางการดูแล
 การให้วคั ซีน
 บันทึกการให้วคั ซีนในแบบฟอร์ม
 การสังเกตอาการภายหลังได้รบั วัคซีนอย่างน้อย ๓๐ นาที
 ให้ยาแก้ปวดลดไข้ สาหรับบรรเทาอาการปวดและลดไข้
การแนะนาล่วงหน้า
 การแนะนาล่วงหน้ามีลกั ษณะคล้ายกับการให้ความรูห้ รือการแนะนา
โดยตรง แต่ขอ้ มูลที่ใช้สื่อสารเป็ นข้อมูลที่คาดว่าอาจเกิดขึ้นกับ
ผูร้ บั บริการในอนาคต
ตัวอย่างการแนะนาล่วงหน้า
 หลังฉีดวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก คุณอาจมีไข้ได้นะคะ ส่วนใหญ่ไข้จะ
ขึ้นหลังได้รบั วัคซีน ๑ ถึง ๒ ชั ่วโมงและเป็ นอยูไ่ ม่เกิน ๒ วัน ให้
รับประทานยาลดไข้ บางคนอาจมีอาการปวดบวม แดงร้อน บริเวณที่
ฉีดวัคซีน ซึ่งส่วนใหญ่มกั เกิดอาการภายใน ๒ ถึง ๖ ชั ่วโมง ให้ประคบ
เย็นและรับประทานยาบรรเทาอาการปวด
ี คอตีบและบาดทะย ัก (dT)
ว ัคซน
ลักษณะทั ่วไปของวัคซีน/รูปแบบการบรรจุ
 รูปแบบหลายโด๊ส ต่อ 1 ขวด (10 โด๊ส, 5 ซีซี) วัคซีนมีลกั ษณะเป็ น
ของเหลวแขวนตะกอนสีเทาขาว (Greyish-white suspension)
 ขนาดและวิธีใช้ : 0.5 ซีซี ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
 ข้อห้ามใช้
 ผูท้ ี่มีประวัตกิ ารแพ้รุนแรง หรือมีปฏิกิรยิ ารุนแรงภายหลังได้รบั
วัคซีนชนิดนี้ หรือวัคซีนที่มีสว่ นประกอบของท็อกซินบาดทะยัก
หรือคอตีบมาก่อน
 ผูท้ ี่มีประวัตแิ พ้ตอ่ สารชนิดใดชนิดหนึ่งซึ่งเป็ นส่วนประกอบของ
วัคซีนนี้
ี
ความแรงของว ัคซน
ี 1 โด๊ส ขนาด 0.5 ml ประกอบด้วย
 ในว ัคซน
 Diphtheria Toxoid (d) < 5 Lf (> 2 IU); (D) > 30 IU)
 Tetanus Toxoid (T) > 5 Lf (> 40 IU)
 Aluminium Phosphate (Adsorbed) < 1.25 mg
 Thimerosal 0.01%
ี
ขนาดบรรจุและการเก็บว ัคซน
• Multiple dose
• 1 ขวด, บรรจุ 10 โด๊ส
ี ส
• เก็บทีอ
่ ณ
ุ หภูม ิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซย
ี ทีไ่ วต่อความเย็น ห้ามแชแ
่ ข็ง!!!
เป็นว ัคซน
ี
การให้ว ัคซน
้ ไป รวมทงหญิ
• ผูม
้ อ
ี ายุมากกว่า 7 ปี ขึน
ั้
งตงครรภ
ั้
ขนาดทีฉ
่ ด
ี ครงละ
ั้
0.5 ml
้ (IM)
ฉีดเข้ากล้ามเนือ
ฉี ดเข้ากล้ามเนื้ อ : dT, DTP,
HB, DTP-HB
การเตรียมวัคซีนและเทคนิคการฉีด
 กระบอกฉีดยาขนาด 1 ซีซี หรือ 3 ซีซี
 ขนาดเข็มฉีดขนาด 23-26 G ยาว 1-2 นิ้ว (ในผูใ้ หญ่
ควรใช้เข็มที่ยาวเพียงพอที่จะลงลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ
โดยเฉพาะผูร้ บั วัคซีนที่มีภาวะน้ าหนักเกินหรืออ้วน)
การฉีดวัคซีน
 ดึงผิวหนังให้ตงึ เฉียงลง เป็ น Z-track จะช่วยลดความเจ็บปวด
ขณะฉีดได้
เข็มตั้งตรง 90 องศา
สั งเกตอาการภายหลังได้ รับวัคซีนอย่าง
น้ อย 30 นาที
้
ภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันทีเ่ กิดขึน
ั
• ภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันเริม
่ เกิด ~1-2 สปดาห
หล ังฉีดโด๊สแรก
ี บาดทะย ัก 2 เข็ม ห่างก ันอย่าง
• ในผูใ้ หญ่ทไี่ ด้ร ับว ัคซน
ี จะมีภม
น้อย 1 เดือน ~80% ของผูร้ ับว ัคซน
ู ต
ิ า้ นทาน
โรคสูงเพียงพอต่อการป้องก ันโรค และคงสูงได้นาน
ไม่นอ
้ ยกว่า 3 ปี
• หากได้เข็ม 3 ห่างจากเข็ม 2 อย่างน้อย 6 เดือน
ี จะมีภม
พบว่า ~95% ของผูไ้ ด้ร ับว ัคซน
ู ต
ิ า้ นทานโรค
สูงเกินกว่าระด ับทีป
่ ้ องก ันโรคได้ และคงอยูไ่ ด้นานไม่
น้อยกว่า 5-10 ปี
การดูแลรักษาวัคซีนในขณะให้บริการ
 ควรให้บริการในที่รม่
 เก็บวัคซีนในกระติกหรือกล่องโฟมที่มีอุณหภูมิอยูใ่ นช่วง +2 ถึง
+8 องศาเซลเซียส
 วางขวดวัคซีนให้ตง้ั ตรง
 ห้ามวางขวดวัคซีนสัมผัสกับ icepack หรือน้ าแข็งโดยตรง
 ห้ามปั กเข็มคาขวดวัคซีน ในระหว่างรอบริการ
 หลังเปิ ดใช้แล้วไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 8 ชั ่วโมง
 เปิ ดกระติกเท่าที่จาเป็ นเท่านั้นและปิ ดฝาให้สนิท
ี หลายครัง้ ”
“หลักการของให ้วัคซน
ข้อห้ามและข้อควรระว ัง
ี นีค
้ รงก่
• ผูท
้ ม
ี่ ป
ี ระว ัติ Anaphylaxis จากการให้ว ัคซน
ั้ อน
• ผูท
้ ม
ี่ ค
ี วามผิดปกติทางระบบประสาท (GBS)
ี ไปก่อน ในผูท
• ควรเลือ
่ นการให้ว ัคซน
้ ม
ี่ อ
ี าการไข้รน
ุ แรง
ี นีไ้ ด้ในกลุม
• สามารถให้ว ัคซน
่ :ื้ HIV
– ผูต
้ ด
ิ เชอ
– ผูไ้ ด้ร ับยาต้านมะเร็ง หรือยากดภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ัน
– ผูท
้ ม
ี่ ภ
ี าวะภูมต
ิ า้ นทานโรคตา
่ หรือ ภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันบกพร่องอืน
่ ๆ
่ ผูป
เชน
้ ่ วยทีม
่ ภ
ี ม
ู ค
ิ ม
ุ ้ ก ันบกพร่องแต่กาเนิด ผูป
้ ่ วยต ัดม้าม
ผูป
้ ่ วยทีเ่ ปลีย
่ นหรือปลูกถ่ายอว ัยวะ
– ฯลฯ
ผลข้างเคียงของ Td. Vaccine ทีพ
่ บได้... บ่อยๆ
• อาการบวม แดง เจ็บเฉพาะที่ พบได้บอ
่ ย
• ไม่คอ
่ ยมีไข้ และอาจพบเป็นตุม
่ ไตทีผ
่ วิ หน ัง (ฉีดไม่ลก
ึ
ั้
้ )
ถึงชนกล้
ามเนือ
• อาการบวมเจ็บรุนแรง (Arthus-like reaction) อาจ
พบได้บา้ ง อาการบวมเจ็บจากห ัวไหล่ไปถึงศอก
– พบอาการแสดงภายใน 2-8 ชม.หล ังฉีด
– พบในผูท
้ ม
ี่ ภ
ี ม
ู ต
ิ า้ นทานต่อ Tetanus และ/หรือ Diphtheria
ในร่างกายสูงมาก
– ด ังนน...ควรงดเข็
ั้
มถ ัดไป หรืองด booster (ภายใน 10 ปี )
ี ทีพ
อาการภายหล ังได้ร ับว ัคซน
่ บได้... บ่อยๆ
dT, JE, MMR
ปวด บวม แดง
10%
ปวดเมือ
่ ย dT
10-25%
ไข้ MMR
5% (เริม
่ เป็นหล ังฉีด 7 ว ัน)
หล ังฉีด JE พบผืน
่ แพ้ได้บอ
่ ย 10-25%
ั
หล ังฉีด MMR 1 สปดาห
พบมีผน
ื่ คล้ายห ัด หรือต่อมนา้ ลายบวม
Arthus’ Reaction
ความผิดพลาดในการบริหารจ ัดการทีท
่ าให้เกิด AEFIs
ความผิดพลาด
กระบวนการฉีดวัคซีนไม่ ปลอดเชื้อ:
ปฏิกริ ิยา AEFIs
ติดเชื้อ :
นาเอากระบอกและเข็มฉีดยาชนิด
นากลับมาใช้ ซ้า (ใช้ ครั้งเดียวทิง้ )
เกิดหนอง, ฝี หรือบาดแผลอักเสบ
บริเวณทีฉ่ ีดวัคซีน
เข็มและกระบอกฉีดยาไม่ ปลอดเชื้อ
ติดเชื้อในระบบต่ างๆของร่ างกาย,
ติดเชื้อในกระแสเลือด, toxic shock
มีการนาเอาวัคซีนครั้งก่อน นา
กลับมาใช้ ซ้า
มีการปนเปื้ อนของวัคซีน
syndrome
มีการกระจายของโรคติดต่ อที่นาโดย
การปนเปื้ อนเลือด, (HIV, hepatitis B
or hepatitis C )
WPRO/EPI/99.01
ความผิดพลาดในการบริหารจ ัดการทีท
่ าให้เกิด AEFIs
ความผิดพลาด
ฉีดวัคซีนผิดตาแหน่ ง :
ปฏิกริ ิยา AEFIs
• ฉีดทอกซอย dT, DTP, DT
ตืน้ ไป (ไม่ อยู่ในชั้นกล้ามเนือ้ )
• มีปฏิกริ ิยาเฉพาะทีผ่ วิ หนัง
หรือ มีฝีเกิดขึน้ (อาจเป็ นฝี
ไร้ เชื้อ หรือ มีไตแข็ง)
• ฉีดทีส่ ะโพก
• เกิดไปถูกเส้ นประสาทไซอาติค
ทาให้ มีกล้ามเนือ้ ขาอัมพาตได้
(หรือในกรณีวัคซีนตับบี จะทาให้
ดูดซึมไม่ ดี วัคซีนไม่ ได้ ผล)
WPRO/EPI/99.01
ความผิดพลาดในการบริหารจ ัดการทีท
่ าให้เกิด AEFIs
ความผิดพลาด
• การเก็บรักษาและการส่ ง
ต่ อวัคซีนไม่ ถูกต้ อง
(Cold Chain)
• ไม่ ปฏิบัติตามข้ อห้ ามใช้ ...
(Contraindication)
ปฏิกริ ิยา AEFIs
• มีปฏิกริ ิยาเฉพาะที่มากขึน้
เนื่องจากวัคซีน (ที่ห้ามแช่ แข็ง)
แข็งตัว ทาให้ ตกตะกอน
• วัคซีนที่แช่ แข็ง จะทาให้ วคั ซีน
เสื่ อมคุณภาพ (การสร้ าง
ภูมคิ ุ้มกันได้ ไม่ ด)ี
• ทาให้ เกิดอาการ AEFIs ที่
ควรจะหลีกเลีย่ งได้
WPRO/EPI/99.01
การปฏิบตั งิ านหลังวันรณรงค์
 การลงบันทึกและรายงานผลการปฏิบตั งิ าน
 การติดตามให้วคั ซีนแก่กลุม่ เป้าหมายที่พลาดวัคซีนในวัน
รณรงค์
 ผูร้ บั ผิดชอบเขตพื้นที่บริการควรตรวจสอบประชากร
กลุม่ เป้าหมายที่มีรายชื่อตามทะเบียนสารวจและยังไม่ได้รบั
บริการ วางแผนติดตามและดาเนินการเก็บตกให้วคั ซีน
ภายใน ๑ สัปดาห์หลังช่วงที่มีการรณรงค์แบบเข้มข้น หรือ
ตามแผนปฏิบตั กิ ารของแต่ละพื้นที่
การเฝ้ าระวังอาการภายหลังได้รบั วัคซีน
AEFI
ระบบปกติ
แนวทางการตอบสนองและประสานงานกรณี AEFI ร้ายแรง
 การสื่อสาร
 การสื่อสารและดูแลเจ้าหน้าที่ที่เป็ นผูฉ้ ีดวัคซีนแก่ผูป้ ่ วย
 แนวทางการสอบสวนสาเหตุ
 กระบวนการสอบสวนทางระบาดวิทยาประกอบด้ วย การสอบสวนผู้ป่วยที่
รายงาน การค้ นหาผู้ป่วยเพิม่ เติมในชุ มชน รวมผู้ได้ รับวัคซีนในรุ่ นเดียวกัน การ
ตรวจสอบการบริหารจัดการวัคซีน การตรวจวิเคราะห์ วคั ซีนในห้ องปฏิบัติการ
 การสรุ ปสาเหตุจากคณะผู้เชี่ยวชาญทีก่ ระทรวงสาธารณสุ ขแต่ งตั้งขึน้
 การจัดทาข้ อเสนอเพือ่ แก้ไขปัญหาอย่ างเหมาะสม
กลไกการติดตามประเมินผล
คณะกรรมการอานวยการฯ
ที่ปรึกษา
วิชาการ
สื่อสาร
ประชาสัมพันธ์
การบริหารจัดการ
กรมควบคุมโรค
มีกลไกติดตาม ประสานงานภายใน เพื่อสนับสนุนและแก้ไขปั ญหา
สสจ. รายงานความก้าวหน้าและปั ญหาอุปสรรคการดาเนินงานแก่เขต
บริการสุขภาพทุก สัปดาห์ที่ 2และ 4 (วันศุกร์ เวลา 15.00 น.)
การจ ัดทารายงาน
ผลการรณรงค
ี dT แก่ประชากร
ให้ว ัคซน
กลุม
่ อายุ 20-50 ปี
พอพิศ วรินทรเสถียร
ี สาน ักโรคติดต่อทว่ ั ไป กรม
กลุม
่ โรคติดต่อทีป
่ ้ องก ันได้ดว้ ยว ัคซน
ควบคุมโรค
ความครอบคลุมของงาน EPI
ความครอบคลุมของ
ี
การให้บริการว ัคซน
ยึดผูใ้ ห้บริการเป็นหล ัก
> 100% ได้
ความครอบคลุม
ี ใน
ของการได้ร ับว ัคซน
้ ทีร่ ับผิดชอบ
พืน
้ ที่
ยึดเด็กในพืน
ี
ร ับผิดชอบได้ร ับว ัคซน
เป็นหล ัก
>100% ไม่ได้
้ ที่
= จานวนเด็กผูม
้ าร ับบริการทงหมดท
ั้
งในและนอกพื
ั้
น
ี
้ ทีร่ ับผิดชอบทีไ่ ด้ร ับว ัคซน
= จานวนเด็กในพืน
้ ทีร่ ับผิดชอบทงหมด
จานวนเด็กในพืน
ั้
้ ทีร่ ับผิดชอบทงหมด
จานวนเด็กในพืน
ั้
ี มาตรฐานทีบ
รห ัสว ัคซน
่ ันทึก ผ่านฐานข้อมูล 43 แฟ้มของ สนย.
ปี 2558
ี รวมหัด-หัดเยอรมันในเด็กอายุ 2.5 ปี -7 ปี
1. การให ้วัคซน
ี คอตีบ-บาดทะยัก ในกลุม
2. รณรงค์ให ้วัคซน
่ ผู ้ใหญ่อายุ 2050 ปี
ี อยูใ่ น แนวทาง MR
รห ัสว ัคซน
หน้า 4
ี อยูใ่ น แนวทาง dT
รห ัสว ัคซน
้ ันทึก
รหาัสที
หน้
9ใ่ ชบ
ื่
ี
(มาตรฐาน
สนย.)
ชอว ัคซน
ื่ ว ัคซน
ี ภาษาไทย ประเภท
ชอ
ภาษาอ ังกฤษ
073
MMR2
ห ัด คางทูม ห ัด
เยอรม ัน
901
dTC
ดีทซ
ี ี
ฉีด
ฉีด
อายุ
2 ปี 6 เดือน
สาหร ับการ
รณรงค
รห ัส ICD_10
_TM
Z27.4
Z23.5, Z23.6
พืน้ ที่ท่ มี ีกลุ่มเป้าหมายรวมกันเป็ นจานวนมาก: สถานประกอบการ
โรงงาน สถานศึกษา สถานที่ราชการ เรือนจา ฯลฯ
• การเบิกวัคซีน
• ผลการรณรงค์
 ความครอบคลุมการได้ รับวัคซีน (เฉพาะในพืน้ ที่
รับผิดชอบ)
 ผลการให้ บริการ (ใน+นอก+ต่ างชาติ)
แบบ dTC2
การรณรงคให
มเป
่
่ ้ าหมายอายุ 20 - 50 ปี ในระ
์ ้วัคซีน dT แกประชากรกลุ
.....รพสต. แสนสุข.........ตาบล.........แสนสุข.......................อาเภอ.................สบายใจ.....
ี dT
จานวนกลุม
่ เป้าหมายทีไ่ ด้ร ับว ัคซน
หมูท
่ ี่
* จานวน
กลุม
่ เป้าหมาย
้ ที่
ทีม
่ อ
ี ยูจ
่ ริงในพืน
ร ับผิดชอบ
(1)
3
สารวจไว้ 360 คน
ย้ายออก 2 คน
ย้ายเข้า 7 คน
ไม่ทราบว่าอยูท
่ ใี่ ด
5 คน
จานวน
กลุม
่ เป้าหมาย
ทีม
่ อ
ี ยูจ
่ ริง
= 365 คน
กลุม
่ เป้าหมายในจ ังหว ัด
้ ที่
** กลุม
่ เป้าหมายในพืน
กลุม
่
ได้ร ับ
*ความ เป้าหมาย
ได้ร ับใน
จากที่ ครอบคลุ นอกพืน
้ ที่
้ ที่
พืน
อืน
่
ม (%)
(2)
(3)
(4)
(5)
230
70
82.19
15
กลุม
่
เป้าหมาย
นอก
จ ังหว ัด
ชาว
ต่างชาติ
*** ผล
การให้
ี
ว ัคซน
(6)
(7)
(8)
7
8
260
4
..................
...............
........... ............. ............... ............... ............ ............
.
..
.
.
..
..
7
..................
...............
........... ............. ............... ............... ............ ............
.
..
.
.
..
..
..................
...............
........... ............. ............... ............... ............ ............
.
..
.
.
..
..
รวม รพสต
่ แบบรายงานของหน่วยงานแต่ละระด ับ
การจ ัดทาและการสง
สถานบริการ
ว ันที่ 11 พ.ค. 58
dTC2
สสอ.
ว ันที่ 15 พ.ค. 58
จ ัดทา dTC3
dTC3
สสจ.
ว ันที่ 20 พ.ค. 58
จ ัดทา dTC1 และ dTC2
dTC4
สาน ักงานเขต
บริการสุขภาพ
จ ัดทา dTC4
่ รายงานความก้าวหน้า
กาหนดการสง
สถานบริการ
จานวนกลุม
่ เป้าหมายทีใ่ ห้บริการ
ทงในและนอกเขตร
ั้
ับผิดชอบ
สสอ.
จานวนกลุม
่ เป้าหมายที่
ให้บริการ ทงในและนอกเขต
ั้
ร ับผิดชอบ
จานวนกลุม
่ เป้าหมายที่
ให้บริการ ทงในและนอกเขต
ั้
ร ับผิดชอบ
สสจ.
สาน ักงานเขต
บริการสุขภาพ
ั
ทุก 2 สปดาห
?
่ ง ม.ค.-เม.ย.
ในชว
58
แบบสารวจการเบิกวัคซีน dT เพื่อรณรงค์ ในประชากรกลุ่มเอายุ 20 -50 ปี
ในพื้นที่ภาคเหนือ
จานวน
จานวน
รอบที่ 1
รอบที่ 2
คลัง
วัคซีน จานวน
กลุม่
ทีข่ อ รอบที่
วัคซีน
เป้าหมาย
ร.พ.
เบิก จัดส่ง วดป. จานวน วดป. จานวน
(คน)
(ขวด)
ที่ให้ วัคซีน ที่ให้ วัคซีน
จัดส่ง (ขวด) จัดส่ง (ขวด)
ชื่อผู ้
ประสาน เบอร์
การรับ โทรศัพท์
วัคซีน
่ แบบสารวจการจ ัดสง
่ ว ัคซน
ี
การสง
ั
เภสชกรข
ัตติยะ อุตมอ่าง
ประสานจ ังหว ัดในภาคเหนือ
(เขตบริการสุขภาพที่ 1-3)
ั
โทรศพท
02 590-3222
ั มือถือ 08-0291-3312
โทรศพท
อีเมล [email protected]
Coming together is a beginning.
Keeping together is progress.
Working together is success.
"I can do things you cannot, you can
do things I cannot; together we can do
great things.”