แนวทางการรณรงค์ให้วัคซีน dT ในจังหวัดมุกดาหาร

Download Report

Transcript แนวทางการรณรงค์ให้วัคซีน dT ในจังหวัดมุกดาหาร

แนวทางการรณรงค์ให้วคั ซีน dT
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พญ. อรรถยา ลิ้มวัฒนายิง่ ยง
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ดว้ ยวัคซีน
สานักโรคติดต่อทั ่วไป
กรมควบคุมโรค
โรงแรมกรีนโฮเต็ลแอนด์รีสอร์ต
วันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗
๑. กาหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และประชากรกลุม่ เป้าหมาย
กาหนดช่วงเวลาการรณรงค์
 วันที่ 1 ตุลาคม ถึง 30 พฤศจิกายน 2557
 โดย ๑ เดือนแรกเป็ นช่วงที่มีการรณรงค์แบบเข้มข้นในเชิงรุก และ
๑ เดือนหลังเป็ นช่วงเก็บตก
๑. กาหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และประชากร
กลุม่ เป้าหมาย
เป้าหมายของโครงการ

Coverage > 85 % (ในระดับตาบล)
ในประชากรอายุ ๒๐ ถึง ๕๐ ปี
(ผูท
้ ี่เกิดระหว่างมกราคม ๒๕๐๗ ถึง ธันวาคม ๒๕๓๗)
วิธีการคานวณ
 ตัวตั้ง ใช้จานวนประชาชนที่ได้รบั วัคซีนตามกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ตาม
ทะเบียนสารวจ* (โดยไม่ตอ้ งถามประวัตกิ ารได้รบั วัคซีน)
 ตัวหารตามทะเบียนสารวจ
*ในการนี้ไม่นบั รวมประชาชนที่ได้รบั dT ที่ใช้ทดแทน TT,
ไม่นบั รวมหญิงตั้งครรภ์ และคนที่เคยได้วคั ซีนช่วงที่มีการระบาด ที่ได้รบั
วัคซีนตั้งแต่ ๒ เข็มขึ้นไป/หรือ ได้รบั ๑ เข็มมาในระยะเวลา ๑ ปี
๑. กาหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และประชากรกลุม่ เป้าหมาย
เป้าหมายโครงการ
 ได้ขอ้ มูลสาคัญเพื่อเป็ นบทเรียนในการนาไปต่อยอดสาหรับขยาย
โครงการในภาคอื่นๆ เช่น การยอมรับวัคซีน การบริหารจัดการ
วัคซีน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ปั จจัยที่มีผลต่อการเพิ่มหรือลด
ความครอบคลุม เป็ นต้น
๑. กาหนดการรณรงค์ เป้าหมายโครงการ และประชากรกลุม่ เป้าหมาย
ประชากรเป้าหมาย
 ประชากรที่มีอายุ ๒๐ ถึง ๕๐ ปี ที่มารับบริการในจังหวัดภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ(ผูท้ ี่เกิดระหว่างมกราคม ๒๕๐๗ ถึง
ธันวาคม ๒๕๓๗) ทั้งบุคคลชาวไทยและชาวต่างชาติ และ
เพื่อเป็ นการกระตุน้ ภูมิคมุ ้ กันต่อโรคคอตีบในชุมชนให้
ครอบคลุมมากที่สุด ขอให้เจ้าหน้าที่ฉีดวัคซีน dT แก่
กลุม่ เป้าหมายทุกคน ๆ ละ 1 ครั้ง
๒. บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กรมควบคุมโรค
สปสช.
สสจ.
สคร.
เขตบริการ
สุขภาพ
สสอ.
รพสต.
ชุมชน
ชุมชน
ชุมชน
ชุมชน
ชุมชน
การดาเนินงาน
ก่อนการรณรงค์
ช่วงที่มีการรณรงค์
หลังการรณรงค์
• การสารวจประชากรเป้าหมาย • จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอ/พร้อมใช้งาน• การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
•การติดตามให้วคั ซีนแก่กลุ่มเป้าหมายท
• การจัดทาแผนปฏิบตั ิงานและ •กาหนดผังจุดบริการ
พลาดในวันรณรงค์
กลไกการติดตามการดาเนินงาน •กิจกรรม
-การให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์
•การเฝ้ าระวังอาการภายหลังได้รบั วัคซีน
•สถานที่ให้บริการวัคซีน
•การจัดเตรียมวัคซีน/อุปกรณ์ตา่ งๆ -ชี้ แจงประชาชนให้ทราบถึงประโยชน์ • แนวทางการตอบสนองและประสานงา
-อาการข้างเคียงจากวัคซีน/แนวทางการดูแกรณี
ล AEFI ร้ายแรง
และระบบลูกโซ่ความเย็น
•After Action Review
•การระดมความร่วมมืออาสาสมัคร •แจกเอกสารแผ่นพับ
•การให้วคั ซีน
•การอบรมอาสาสมัคร
•บันทึกการให้วคั ซีนในแบบฟอร์ม
•การประชาสัมพันธ์
•การสังเกตอาการภายหลังได้รบั วัคซีน
•After Action Review
๓. การเตรียมการก่อนการรณรงค์
๓.๑ การสารวจประชากรเป้าหมาย
 ใช้ขอ้ มูลจากฐานข้อมูลประชากรของจังหวัด และอาจมอบหมายให้
บุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ ตรวจสอบประชากรที่อาศัยอยูใ่ นพื้นที่จริง
อีกครั้ง เพื่อสรุปเป็ นรายชื่อทั้งหมดในทะเบียนทีจ่ ะใช้รณรงค์
 บุคลากรในพื้นที่จะรับผิดชอบประชากรในพื้นที่ ในกรณีที่มีการขอรับ
วัคซีนในหน่วยบริการนอกพื้นที่ แต่ละพื้นที่จะประสานตรวจสอบ
ยืนยันการได้รบั วัคซีน ตามทะเบียนสารวจของเขตพื้นที่ที่รบั ผิดชอบ
๓. การเตรียมการก่อนการรณรงค์
*สาหรับในบางจังหวัดที่เคยมีการรณรงค์ไปแล้ว ในช่วงที่มีการ
ระบาดของโรคคอตีบ ก็มีความจาเป็ นที่จะต้องสารวจประชากร
เช่นเดียวกัน เพื่อจะได้ทราบข้อมูลที่เป็ นปั จจุบนั และสามารถให้
การรณรงค์ได้ครอบคลุม ครบถ้วน
๓.๒ การจัดทาแผนปฏิบตั งิ านและกลไกติดตามการดาเนินงาน
 อย่างน้อย ๑ ถึง ๒ เดือนก่อนรณรงค์ ควรจัดทาแผนปฏิบตั กิ ารรณรงค์
ให้วคั ซีนให้ชดั เจนในภาพรวมและทุกระดับ โดยมีรายละเอียดในเรื่อง
พื้นที่ที่ดาเนินการ จานวนกลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาปฏิบตั งิ าน
ผูร้ บั ผิดชอบ การควบคุมกากับ ตลอดจนวิธีบริการแต่ละพื้นที่
โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เข้าถึงยาก และประชากรที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการ
ได้ง่าย
 ควรมีกลไกประสานการดาเนินงานรณรงค์ โดยอาจเป็ นรูปแบบ
คณะทางานเฉพาะกิจ หรือคณะกรรมการที่มีอยูแ่ ล้ว
๓.๒ การจัดทาแผนปฏิบตั งิ านและกลไกติดตามการดาเนินงาน
 กระบวนการติดตามอาจกาหนดเป้าหมายความครอบคลุมทุกระยะของ
การรณรงค์ เช่น มีการกาหนดเป้าหมายทุก ๑ สัปดาห์ในช่วงที่มีการ
รณรงค์เข้มข้น เช่น อาจกาหนดเป้าหมายความครอบคลุมร้อยละ 30
ในสัปดาห์แรก และร้อยละ 50 ในสัปดาห์ที่ 2 เพื่อให้แต่ละหน่วยงานมี
เป้าหมายเดียวกัน และให้มีการรายงานเป้าหมายเพื่อติดตามผลการ
ดาเนินงานทุกสัปดาห์ (ตามความเหมาะสม) จนกว่าจะสิ้นสุดการ
รณรงค์
๓.๓ รูปแบบการรณรงค์
 เร่งรัดการดาเนินงานในระยะที่ไม่นานจนเกินไป
 ๒ เดือน (๑ เดือนแรกแบบเข้มข้น ๑ เดือนหลังเก็บตก)
 เขตเมือง เชิงรุกไปตามแหล่งชุมชนต่างๆ
๓.๔ สถานที่ให้บริการวัคซีน กรณี เป็ นหน่วยบริการเคลื่อนที่
 ควรเป็ นที่มีอากาศถ่ายเทดี เป็ นบริเวณที่ร่ม มีบริเวณกว้างขวางเพียง
พอที่จะรองรับผูม้ ารับบริการและอาสาสมัครที่มาให้บริการ และควรมี
การจัดบริเวณสาหรับปฐมพยาบาลกรณีมีเหตุฉุกเฉิน และบริเวณ
สังเกตอาการสาหรับผูม้ ารับบริการภายหลังรับวัคซีน การคมนาคม
สะดวกต่อผูม้ ารับบริการและสะดวกต่อการส่งต่อผูป้ ่ วยในกรณีฉุกเฉิน
มีอุปกรณ์ที่จาเป็ นพร้อม ตามมาตรฐานการดาเนินงานสร้างเสริม
ภูมิคมุ ้ กันโรค
๓.๕ การจัดเตรียมวัคซีน ระบบลูกโซ่ความเย็นและวัสดุอุปกรณ์
วัคซีน
 การเบิกและการรับวัคซีน การเตรียมอุปกรณ์ระบบลูกโซ่ความเย็นให้
ปฏิบตั ติ ามแนวปฏิบตั ปิ กติ ตามมาตรฐานการดาเนินงานสร้างเสริม
ภูมิคมุ ้ กันโรค
 สสจ.รวบรวมผลการจัดทาทะเบียนกลุ่มเป้าหมายและศักยภาพของ
หน่วยบริการในการเก็บรักษาวัคซีน (โดยเฉพาะความจุและสภาพ
ตูเ้ ย็น) ส่งให้กรมควบคุมโรค
๓.๕ การจัดเตรียมวัคซีน ระบบลูกโซ่ความเย็นและวัสดุอุปกรณ์
 องค์การเภสัชกรรมจะต้องส่งวัคซีนให้แก่หน่วยบริการภายใน ๑๕
กันยายน ๒๕๕๗
 วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ
 ให้หน่วยบริการประสานสสจ. ในการเบิกวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม
อย่างน้อย ๑ ถึง ๒ สัปดาห์ ก่อนการรณรงค์
 อุปกรณ์ เช่น เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยา พลาสเตอร์ กระติกสาหรับ
ใส่วคั ซีน สาลี แอลกอฮอล์ ยาแก้ปวดลดไข้ เป็ นต้น
๓.๖ การระดมความร่วมมือของอาสาสมัครก่อนการรณรงค์
 ประมาณ ๑ ถึง ๒ เดือนก่อนการรณรงค์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ผูร้ บั ผิดชอบในแต่ละพื้นที่ ควรประสานงานกับหน่วยงานองค์กร และ
กลุ่มบุคคลในท้องถิ่น เพื่อขอความร่วมมือในการส่งอาสาสมัคร ร่วม
สนับสนุนกิจกรรมในวันรณรงค์ รวบรวมรายชื่อให้แน่ชดั เพื่อ
เตรียมการฝึ กอบรม และเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอ
๓.๖, ๓.๗ การระดมความร่วมมือ การอบรมแนะนาอาสาสมัคร
 บทบาทสาคัญของอาสาสมัครในช่วงที่มีการรณรงค์คือ การให้
คาแนะนาชักชวนประชาชนให้มารับบริการวัคซีนและเป็ นทีมงานช่วย
ในการให้บริการวัคซีน
 ๓ สัปดาห์ก่อนเริ่มรณรงค์ สสจ. จัดให้มีการประชุมชี้แจงแก่เจ้าหน้าที่
สาธารณสุขที่เป็ นผูร้ บั ผิดชอบหลักในแต่ละพื้นที่
 ๑ ถึง ๒ สัปดาห์ก่อนเริ่มโครงการ เจ้าหน้าที่สธ. ที่รบั ผิดชอบแต่ละ
พื้นที่ควรจัดการฝึ กอบรม พร้อมทั้งมีการสาธิตและซักซ้อมวิธีการ
ปฏิบตั งิ านแก่เจ้าหน้าที่รว่ มคณะ
๓.๘ การประชาสัมพันธ์โครงการ
 ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่เกี่ยวข้องอย่างทั ่วถึงในประเด็น
รายละเอียดเกี่ยวกับการรณรงค์
ประชาสัมพันธ์กบั ประชาชน
 ประมาณ ๑ เดือนก่อนการรณรงค์ ควรประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู ้
เรื่องการรณรงค์และให้ความร่วมมือในการรับบริการ โดยผ่านทาง
สื่อมวลชน สื่อชุมชน และสื่อบุคคลทุกช่องทาง
* อาจพิจารณาให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีอายุ ๒๐ ถึง ๕๐ ปี รับวัคซีน
ก่อนเริ่มการรณรงค์ จะทาให้สามารถอธิบายแก่กลุ่มเป้าหมายได้ดี และ
เป็ นปั จจัยสาคัญในการยอมรับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย
กรอบเนื้อหาที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์
 ความสาคัญของปั ญหาคอตีบ ที่มีอยูใ่ นประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การระบาดใหญ่ของโรคคอตีบในพื้นที่ภาคอีสานตอนล่าง
 ผูใ้ หญ่สามารถติดเชื้อได้และมีความเสี่ยงเนื่องจากส่วนใหญ่ไม่เคยได้รบั ภูมิคมุ ้ กัน
 โรคคอตีบเป็ นโรคที่ป้องกันได้ดว้ ยวัคซีน
 การให้วคั ซีนคอตีบ-บาดทะยักจะเป็ นประโยชน์ตอ่ ผูร้ บั วัคซีน (ป้องกันโรคคอตีบ
และบาดทะยัก)และการป้องกันโรคแก่ส่วนรวมในวงกว้าง
 จะมีการรณรงค์ในระหว่างวันที่ ๒๔ มีนาคม ถึง ๓๐ เมษายน สามารถไปรับบริการ
ได้ตามจุดบริการต่างๆ
 สาหรับผูท้ ี่เคยได้รบั วัคซีนป้องกันบาดทะยักแล้ว จะต้องมารับวัคซีนในวันรณรงค์
ด้วยเช่นกัน เพื่อกระตุน้ ภูมิคมุ ้ กันโรคคอตีบ
๔. การปฏิบตั งิ านในวันรณรงค์
 จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอและพร้อมใช้งาน
 กาหนดผังจุดบริการให้มีพ้ ืนที่เพียงพอและสะดวกต่อการปฏิบตั งิ าน
กิจกรรมประกอบด้วย
 การให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ แจกเอกสารแผ่นพับ ชี้แจงประชาชนให้
ทราบถึงประโยชน์ของการรณรงค์ อาการข้างเคียงและแนวทางการดูแล
 การให้วคั ซีน
 บันทึกการให้วคั ซีนในแบบฟอร์ม
 การสังเกตอาการภายหลังได้รบั วัคซีนอย่างน้อย ๓๐ นาที
 ให้ยาแก้ปวดลดไข้ สาหรับบรรเทาอาการปวดและลดไข้
การแนะนาล่วงหน้า
 การแนะนาล่วงหน้ามีลกั ษณะคล้ายกับการให้ความรูห้ รือการแนะนา
โดยตรง แต่ขอ้ มูลที่ใช้สื่อสารเป็ นข้อมูลที่คาดว่าอาจเกิดขึ้นกับ
ผูร้ บั บริการในอนาคต
ตัวอย่างการแนะนาล่วงหน้า
 หลังฉีดวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก คุณอาจมีไข้ได้นะคะ ส่วนใหญ่ไข้จะ
ขึ้นหลังได้รบั วัคซีน ๑ ถึง ๒ ชั ่วโมงและเป็ นอยูไ่ ม่เกิน ๒ วัน ให้
รับประทานยาลดไข้ บางคนอาจมีอาการปวดบวม แดงร้อน บริเวณที่
ฉีดวัคซีน ซึ่งส่วนใหญ่มกั เกิดอาการภายใน ๒ ถึง ๖ ชั ่วโมง ให้ประคบ
เย็นและรับประทานยาบรรเทาอาการปวด
ลักษณะทั ่วไปของวัคซีน/รูปแบบการบรรจุ
 รูปแบบหลายโด๊ส ต่อ ๑ ขวด (๑๐ โด๊ส, ๕ ซีซี) วัคซีนมีลกั ษณะเป็ น
ของเหลวแขวนตะกอนสีเทาขาว (Greyish-white suspension)
 ขนาดและวิธีใช้ : 0.5 ซีซี ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
 ข้อห้ามใช้
 ผูท้ ี่มีประวัตกิ ารแพ้รุนแรง หรือมีปฏิกิรยิ ารุนแรงภายหลังได้รบั
วัคซีนชนิดนี้ หรือวัคซีนที่มีสว่ นประกอบของท็อกซินบาดทะยัก
หรือคอตีบมาก่อน
 ผูท้ ี่มีประวัตแิ พ้ตอ่ สารชนิดใดชนิดหนึ่งซึ่งเป็ นส่วนประกอบของ
วัคซีนนี้
การเตรียมวัคซีนและเทคนิคการฉีด
 กระบอกฉีดยาขนาด ๑ ซีซี หรือ ๓ ซีซี
 ขนาดเข็มฉีดขนาด 23-26 G ยาว ๑-๒ นิ้ว (ในผูใ้ หญ่
ควรใช้เข็มที่ยาวเพียงพอที่จะลงลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ
โดยเฉพาะผูร้ บั วัคซีนที่มีภาวะน้ าหนักเกินหรืออ้วน)
การฉีดวัคซีน
 ดึงผิวหนังให้ตงึ เฉียงลง เป็ น Z-track จะช่วยลดความเจ็บปวด
ขณะฉีดได้
เข็มตั้งตรง 90 องศา
สังเกตอาการภายหลังได้รบั วัคซีน
อย่างน้อย 30 นาที
การดูแลรักษาวัคซีนในขณะให้บริการ
 ควรให้บริการในที่รม่
 เก็บวัคซีนในกระติกหรือกล่องโฟมที่มีอุณหภูมิอยูใ่ นช่วง +2 ถึง
+8 องศาเซลเซียส
 วางขวดวัคซีนให้ตง้ั ตรง
 ห้ามวางขวดวัคซีนสัมผัสกับ icepack หรือน้ าแข็งโดยตรง
 ห้ามปั กเข็มคาขวดวัคซีน ในระหว่างรอบริการ
 หลังเปิ ดใช้แล้วไม่ควรเก็บไว้นานเกิน ๘ ชั ่วโมง
 เปิ ดกระติกเท่าที่จาเป็ นเท่านั้นและปิ ดฝาให้สนิท
การลงบันทึกและรายงานผลการปฏิบตั งิ าน
After Action Review (AAR)
 ควรมีการทา AAR ทุกครั้งหลังออกปฏิบตั งิ าน เพื่อทบทวนการ
ปฏิบตั งิ านในแต่ละครั้ง รวบรวมปั ญหาอุปสรรคและแนวทางการ
แก้ไขปั ญหาสาหรับครั้งต่อไป และบันทึกสรุปประเด็นสาคัญเพื่อ
เป็ นประโยชน์กบั การรณรงค์หรือการทางานอื่นๆ ต่อไป และนามา
แลกเปลี่ยนใน AAR ที่จะจัดพร้อมกันในระดับจังหวัด
๕. การปฏิบตั งิ านหลังวันรณรงค์
 การลงบันทึกและรายงานผลการปฏิบตั งิ าน
 การติดตามให้วคั ซีนแก่กลุม่ เป้าหมายที่พลาดวัคซีนในวัน
รณรงค์
 ผูร้ บั ผิดชอบเขตพื้นที่บริการควรตรวจสอบประชากร
กลุม่ เป้าหมายที่มีรายชื่อตามทะเบียนสารวจและยังไม่ได้รบั
บริการ วางแผนติดตามและดาเนินการเก็บตกให้วคั ซีน
ภายใน ๑ สัปดาห์หลังช่วงที่มีการรณรงค์แบบเข้มข้น หรือ
ตามแผนปฏิบตั กิ ารของแต่ละพื้นที่
๕.๓ การเฝ้ าระวังอาการภายหลังได้รบั วัคซีน
AEFI
ระบบปกติ
๕.๔ แนวทางการตอบสนองและประสานงานกรณี AEFI ร้ายแรง
 การสื่อสาร
 การสื่อสารและดูแลเจ้าหน้าที่ที่เป็ นผูฉ้ ีดวัคซีนแก่ผูป้ ่ วย
 แนวทางการสอบสวนสาเหตุ
 กระบวนการสอบสวนทางระบาดวิทยาประกอบด้วย การสอบสวนผูป้ ่ วย
ที่รายงาน การค้นหาผูป้ ่ วยเพิ่มเติมในชุมชน รวมผูไ้ ด้รบั วัคซีนในรุน่
เดียวกัน การตรวจสอบการบริหารจัดการวัคซีน การตรวจวิเคราะห์
วัคซีนในห้องปฏิบตั กิ าร
 การสรุปสาเหตุจากคณะผูเ้ ชี่ยวชาญที่กระทรวงสาธารณสุขแต่งตั้งขึ้น
 การจัดทาข้อเสนอเพื่อแก้ไขปั ญหาอย่างเหมาะสม
After Action Review
 วัตถุประสงค์สาคัญเพื่อนาบทเรียนที่ได้จากการดาเนิน
โครงการนาร่องมาพัฒนาแนวทางการดาเนินงานเพื่อขยายทั ่ว
ประเทศ
 ผูเ้ ข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ผูท้ รงคุณวุฒิกรมควบคุมโรค
ผูเ้ ชี่ยวชาญจากภายนอกกสธ. ทีมงานสร้างเสริมภูมิคมุ ้ กันโรค
สคร. ตัวแทนผูป้ ฏิบตั งิ านในจังหวัดมุกดาหารทุกระดับ
After Action Review
 กรอบการอภิปรายในการประชุม
 ผลการดาเนินงานในด้านต่างๆ (coverage, cold chain
management, การแก้ปัญหาต่างๆ ระหว่างดาเนินงาน,
คุณภาพการให้บริการ, อาการข้างเคียงจากการรับวัคซีน)
 การวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน สาเหตุของการไม่ได้รบั วัคซีน
ปั ญหาอุปสรรคในการดาเนินงานและข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไข
ผลผลิต
 สรุปผลการดาเนินงานโครงการนาร่องและข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
และขยายผล
Coming together is a beginning.
Keeping together is progress.
Working together is success.
"I can do things you cannot, you can
do things I cannot; together we can do
great things.”