การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคนำโดยแมลง ในแหล่ง

Download Report

Transcript การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคนำโดยแมลง ในแหล่ง

การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคนาโดยแมลง
ในแหล่งท่องเทีย่ วแถบอันดามัน
นายแพทย์สวุ ิ ช ธรรมปาโล
สานักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
ประเด็นในการบรรยาย
• Vector borne -traveling diseases
• ลักษณะของแหล่งท่องเที่ยวที่เสี่ยงต่อการเกิด
โรคติดต่อนาโดยแมลง
• ระบาดวิทยาของโรคติดต่อนาโดยแมลง : มาลาเรีย
• กรณี ตวั อย่างมาลาเรียระบาดในแหล่งท่องเที่ยว จ.สตูล
• สรุปบทเรียน
• การดาเนินการก่อนการระบาด
• แนวการควบคุมการระบาด
Vector borne -traveling diseases
• ส่วนใหญ่ร้อยละ 80-90 ของนักท่องเที่ยวต่างประเทศป่ วย
เป็ นโรคไข้เด็งกี่และไข้เลือดออก
• นักท่องเที่ยวที่นิยมเที่ยวป่ าหรือเชิงนิเวศน์ ในพืน้ ที่ระบาดของ
มาลาเรียเช่น บริเวณป่ าเขาหรือชายแดน แม้ว่าไม่มากนัก แต่
มักมีอาการรุนแรงเนื่ องจากไม่มีภมู ิ ค้มุ กัน
• นักท่องเที่ยวที่ติดเชื้อไข้สมองอักเสบมีน้อยมาก มักพบทาง
ภาคเหนื อ
• โรคลิสมาเนี ยยังไม่มีรายงานนักท่องเที่ยวป่ วย แต่มีแนวโน้ มพบ
ผูป้ ่ วยในประเทศมากขึน้ และพบริ้นฝอยทรายในแหล่งท่องเที่ยว
เช่น ในถา้ เป็ นต้น
ลักษณะของแหล่งท่องเที่ยวที่เสี่ยงต่อ
การเกิดโรคติดต่อนาโดยแมลง
• สภาพแวดล้อมเหมาะสมเป็ นแหล่งเพาะพันธุพ์ าหะนาโรค
• สภาพแวดล้อมหรือกิจกรรมเอื้อต่อการสัมผัสกับพาหะ
นาโรค เช่น การเข้าในป่ า ที่พกั ไม่มีม้งุ /มุ้งลวด
• การเคลื่อนย้ายของประชากรเข้าออก
• มีแหล่งรังโรคในสัตว์หรือในคน
ระบาดวิทยาของโรคติดต่อนาโดยแมลง
ยกตัวอย่าง :โรคมาลาเรีย
ระบาดวิทยาของโรคมาลาเรีย
เชื้อมาลาเรียที่พบในคนมีทงั ้ หมด 5 ชนิด
• Plasmodium falciparum
• Plasmodium vivax
• Plasmodium malariae
• Plasmodium ovale
• Plasmodium knowlesi
Plasmodium falciparum
• ทาให้เกิดอาการมาลาเรียชนิดรุนแรง เป็ นสาเหตุการตาย
• การแบ่งตัวในคนทาได้รวดเร็วและมีจานวนมากทาให้ เม็ดเลือดแดงติด
เชื้อและถูกทาลายมาก
• ผิวเม็ดเลือดแดงที่มีระยะ growing Trophozoite จะเป็ นปุ่ ม ทาให้เกิดการ
เกาะกลุ่มของเม็ดเลือดแดงเรียกว่า Rosett formation และมมีเกล็ดเลือด
มาเกาะเชื่อมด้วยเรียกว่า Autoaglutination อุดตันหลอดเลือดฝอย
มีผลต่อ ไต หัวใจ สมอง
• การติดเชื้อมักจะติดได้หลายสายพันธุ์ เมื่อให้ยาชนิดหนึ่ งอาจมีเชื้อดือ้ ยา
ชนิดนัน้ เหลืออยู่อาจกลับมาเป็ นไข้ซา้ ได้
Plasmodium vivax
• มีการกระจายกว้างกว่า P. falciparum สามารถพบได้ทงั ้
ในเขตร้อน กึ่งร้อนและเขตอบอุ่น
• มีระยะHypnozoiteใน เซลตับ ทาให้มีการเกิดไข้กลับซา้
มักเกิดภายใน 3 เดือนนับจากการเกิดไข้ครัง้ แรกและอาจเป็ น
ได้หลายครัง้
• ไม่ทาให้เกิดอาการรุนแรง
falciparum
Different RBC selection
Sequestration of RBCs
Endothelial Cytoadherence
vivax
Plasmodium malariae
• คน และ ลิงเป็ นโฮสต์ตามธรรมชาติของเชื้อนี้
• ระยะเวลาช่วงแบบไม่มีเพศใช้เวลา72 ชัวโมงต่
่
างจากเชื้อ
ชนิดอื่น
ทาให้เกิดอาการจับไข้ลกั ษณะวันเว้นสองวัน
• ไม่ทาให้เกิดอาการรุนแรง
• ตอบสนองได้ดีกบั ยาคลอโรควิน
Plasmodium ovale
• มีอาการจับไข้และมีการจับไข้ซา้ เหมือน P. vivax
• มี Hypnozoite
• ส่วนใหญ่พบในแอฟริกา จีนตอนใต้ พม่า และแถบ
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
• เป็ นชนิดที่พบน้ อยที่สดุ ในประเทศไทย
Plasmodium knowlesi
• เป็ นเชื้อที่ติดต่อจากลิงมาสู่คน ต่อมามีการติดต่อจากคนสู่คน
• ลักษณะรูปร่างของเชื้อคล้าย Plasmodium malariae
• อาการของไข้รนุ แรงกว่ามาก มีอาการไตวายแทรกซ้อนเนื่ องจาก
เม็ดเลือดแตกมากเหมือน Plasmodium falciparum
• เชื้อนี้ พบมากในเกาะบอร์เนี ยวของมาเลเซีย สาหรับในประเทศไทย
มีรายงานการพบเชื้อนี้ ในจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ จันทบุรี ยะลา และ
นราธิวาส
วงจรชีวติ ของเชื้อมาลาเรี ย
Oocyst
Sporozoites
Mosquito Salivary
Gland
Zygote
Exoerythrocytic
(hepatic) cycle
Gametocytes
Erythrocytic
Cycle
Hypnozoites
Effect of Temperature
on duration of Sporogonic Cycle
Pf critical temp 19 c
Pv critical temp 16 c
ที่มา: สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง
การกระจายของเชื้อ P.falciparumดื้อยา
ที่มา: สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง
ยุงก้นปล่อง
ในประเทศไทยมียงุ ก้นปล่องที่เป็ นพาหะหลักคือ
• Anopheles dirus
•
ไวต่อต่อการแพร่ เชื้อ แหล่งเพาะพันธุ์ แอ่ง ซอกหิ น บริ เวณน้ าตก
• Anopheles minimus
•
พบได้ทวั่ ไป แหล่งเพาะพันธุ์ ลาธารเล็ก น้ าใสไหลเอื่อย
• Anopheles maculatus
•
พบในสวนยางพาราและสวนผลไม้ แหล่งเพาะพันธุ์ ลาธารเล็ก ไหลเอื่อย
• Anopheles aconitus
•
แหล่งเพาะพันธุ์ ในทุ่งนาข้าว
• Anopheles sundaicus
• ชายทะเล แหล่งเพาะพันธุ์ แอ่งน้ าขัง น้ ากร่ อย
ปจั จัยของยุงพาหะทีม่ ผี ลต่อการแพร่เชือ้
•
•
•
•
สายพันธุแ์ ละพันธุกรรม
ความหนาแน่ นของยุงพาหะ
อายุขยั ของยุง
นิสยั การหากินและเกาะพักของยุง
- ชอบกินเลือดคน หรือ สัตว์
- ชอบหากินในบ้านหรือนอกบ้าน
- ชอบเกาะพักที่ไหน
• ระยะทางในการบิน
• การทนและดือ้ ต่อสารเคมี
คน (Host)
• พบได้ทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะกลุ่มวัยแรงงาน
• พบในกลุ่มเด็กสูง แสดงว่ามีการติดเชื้อในชุมชน
• มักจะเกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ เช่น สวนยางพารา
สวนกาแฟ การอพยพของแรงงาน
• มีอตั ราที่เป็ นพาหะในแรงงานต่างด้าวพม่าร้อยละ 10
ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อคน
• ความผิดปกติของเม็ดเลือดแดง หรือ กรุฟ๊ เลือดบางชนิด
• ภาวะ G 6 PD deficiency ประมาณ
5-10%
• การมีภมู ิ ค้มุ กันต่อเชื้อมาลาเรีย
- กลุ่มไม่มีภมู ิ ค้มุ กันจะมีอาการรุนแรง เช่น นักท่องเที่ยว
• ภาวะตัง้ ครรภ์ ผูป้ ่ วยโรคหัวใจ จะมีอาการรุนแรง
การตรวจวินิจฉัยและการรักษา
• ซักประวัติ อาการ
• ซักประวัตปิ ระกอบอาชีพ และการเดินทาง พักค้าง
ในปา่
• ตรวจฟิลม์ โลหิต หนา หรือบาง เพือ่ หาเชือ้
• ขณะนี้มกี ารตรวจด้วย Rapid test
• ไม่แนะนาให้กนิ ยาป้องกัน
กรณี ตวั อย่าง
การเกิดไข้มาลาเรียระบาดในแหล่ง
ท่องเที่ยวจังหวัดสตูล
(เม.ย.- ส.ค.53)
ความสาคัญของพืน้ ที่
• เกิดการระบาดของมาลาเรียในพืน้ ที่ อ.มะนัง อ.ละงู จ.สตูล
• เป็ นพืน้ ที่ ท่องเที่ยวใหม่ ของจังหวัดสตูล ซึ่งได้รบั การโปรโมท
จาก ททท. ในระยะ 5 ปี ที่ผา่ นมา
• กิจกรรมการท่องเที่ยวที่สาคัญ
– การท่องเที่ยวเชิงอนุรกั ษ์
– การล่องแก่ง
• เป็ นพืน้ ที่ที่เคยเกิดการระบาดของมาลาเรีย เมื่อปี 2546
• ปัจจุบนั (ณ เวลานัน้ ) ไม่เกิดผูป้ ่ วยในพืน้ ที่ (Indigenous Case)
มาแล้ว 3 ปี แต่ยงั คงยุงพาหะในพืน้ ที่
ยุงพาหะหลักใน จ.สตูล
ยุง An.minimus และAn.maculatus
• เป็ นพาหะที่สาคัญ ในภาคใต้
•กระจายทัวประเทศ
่
นาเชื้อได้ดี
• พบในท้องที่ป่าเขา ป่ าบุกเบิกทั ่วไป
• ชอบกินเลือดทัง้ เลือดคน และเลือดสัตว์ พบหา
กินนอกบ้านมากกว่าในบ้าน
• แหล่งเพาะพันธุ์ ลาธารไหลริน และพบได้ในแอ่ง
น้าซอกหิน แอ่งข้างลาธาร
• มักพบปะปนกันทัง้ สองชนิด เพราะมีชีวนิสยั
คล้ายคลึงกัน
สถานการณ์ไข้มาลาเรียระบาดจังหวัดสตูล
(เม.ย.- ส.ค.53)
ผูป้ ่ วยไข้มาลาเรี ยแยกตามรายอาเภอ ในจังหวัดสตูล
ตั้งแต่ 31 ธ.ค. 52 ถึง 30 พ.ค. 53
ผูป้ ่ วยไข้มาลาเรี ยแยกตามหมู่บา้ น ตาบล อาเภอ ในจังหวัดสตูล
ตั้งแต่ 31 ธ.ค. 52 ถึง 30 พ.ค. 53
ผูป้ ่ วยไข้มาลาเรี ยแยกตามกลุ่มอาชีพ ในจังหวัดสตูล
ตั้งแต่ 31 ธ.ค. 52 ถึง 30 พ.ค. 53
สรุปบทเรียนสาคัญ
เกิด index case มานานแต่เพิ่งตื่นตัวเมื่อมีการระบาดใหญ่
บุคลากรมีความรู้ ด้านการควบคุมไข้มาลาเรียน้ อย
ไข้มาลาเรียยังคงเป็ น Vertical Program แต่มีอตั รากาลังในการ
ควบคุมการระบาดน้ อย
มีปัญหาการดาเนินการระหว่างพืน้ ที่/อปท. และ ผูป้ ระกอบการ
การดาเนินการก่อนการระบาด
 แม้ว่าในพืน้ ที่แหล่งท่องเที่ยวจะมีการรายงานเป็ นsporadic
case แต่เนื่ องจากเป็ นพืน้ ที่ที่ยงั มียงุ พาหะอยู่ ดังนัน้ จึง
1. ต้องมีการเฝ้ าระวังโรคอย่างต่อเนื่ องโดย ยึดหลัก 3 A
 A Alert
= เฝ้ าระวังและสอบสวนโรคทุกราย
 Action
= เมื่อเกิดโรคให้ดาเนินการอย่างรวดเร็ว
 Accuracy = ดาเนินการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
และถูกจุด
2. ต้องมีแผนตอบโต้ภาวะระบาดและมีการซ้อมแผน
การควบคุมการระบาด
• การจัดตั้ง war room
• แนวทางการควบคุมการระบาด
แนวทางการจัดตัง้ WAR ROOM
ค้นหา และทาลายแหล่ง
(index case)
ทีมวางแผนและจัดกลยุทธ์การ
ดาเนิ นการ (งานยุทธศาสตร์)
ทีมสนับสนุนการปฏิ บตั ิ งาน
(ฝ่ ายบริ หาร)
ห้องปฏิบตั กิ ารควบคุมโรค
(WAR ROOM)
การควบคุมโรค
ดาเนิ นการควบคุมโรค
ในรายอื่นๆ
ทีมสอบสวนและควบคุมโรค
การเกิ ดโรค
ทีมสนับสนุนข้อมูล/รักษา(โรงพยาบาล)
ทีมประชาสัมพันธ์และให้ข่าว
การเฝ้าระวัง
ยุงพาหะ
สิ่ งแวดล้อม
WAR ROOM ระดับอาเภอ
• สาธารณสุขอาเภอ
ประธาน
• สมาชิก
• นักวิชาการ สสอ. / สสจ.
• จนท.จาก สอ.
• จนท.ควบคุมโรคในพืน้ ที่ (เทศบาล นคม.)
• ความถี่ ทุกวัน (ช่วงระบาด)
WAR ROOM ระดับจังหวัด
• ผชช.ว.
ประธาน
• สมาชิก
• นักวิชาการ สสจ.(ระบาด,ควบคุมโรค)
• นักวิชาการ สคร.(ระบาด,ต.แมลง.ศตม.)
• นักวิชาการ สสอ. (สสอ.,นวก.)
• ความถี่ สัปดาห์ ละครัง้
แนวทางการควบคุมการระบาด
ของไข้มาลาเรีย
1. ทบทวนองค์ความรู้
และระบบการเฝ้ าระวังโรค
• อบรมความรู้โรคมาลาเรี ย
• ทบทวนบทบาทหน้าที่ กลไกของการเฝ้ าระวังโรค
• เพิม่ เครื อข่ายการเฝ้ าระวังในพื้นที่โดยอาสาสมัคร
สาธารณสุ ข ค้นหาผูป้ ่ วยหรื อนักท่องเที่ยวทีม่ ีไข้
2. สร้างความร่วมมือระหว่างผูม้ ีส่วนได้ ส่วนเสีย
ประชุมผูป้ ระกอบการ
 จัดหายาทากันยุง เพื่อแจกจ่ายแขกผูเ้ ข้าพัก
 จัดหามุ้ง หรือทามุ้งลวด เพื่อป้ องกันยุง
 ยินยอมให้เจ้หน้ าที่ พ่นเคมี ทัง้ แบบฤทธ์ ิ ตกค้าง และ ละออง
ฝอย
ประชุมร่วมกับ อปท.ในพืน้ ที่
 ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินการ
 จัดหาบุคลากร ในการดาเนินการควบคุมโรคในพืน้ ที่
 จัดทาประชาคม ในพืน้ ที่ เพื่อขอความร่วมมือใน
การค้นหาผูป้ ่ วย และดาเนินการควบคุมโรค
3.การสอบสวนโรค ค้นหาผูป้ ่ วยรายใหม่
สอบสวนโรคโดยเฉพาะรายแรกๆมีความสาคัญมาก
เจาะโลหิตเพื่อค้นหาผูป้ ่ วย โดยทาการเจาะโลหิตใน
ลักษณะ Mass Blood Survey
จัดตัง้ FSMC (Fixed Schedule Malaria Clinic) ในพืน้ ที่
จัดหาชุด RDTs (Rapid Diagnostic Test)
4. การควบคุมพาหะนาโรค
การพ่นเคมี แบบฤทธ์ ิ ตกค้าง (มาตรการหลัก)
 การพ่นเคมีแบบ space spray (ULV และหมอกควัน)
เพื่อลดความหนาแน่ น ของยุงเต็มวัย ในช่วงเวลาระบาด จะพ่นใน
ช่วงเวลาหากินของยุงพาหะ
5. สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์
จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ Vinyl , Cut Out
ขนาดใหญ่ และติดตัง้ ในสถานที่ที่มีความ
เหมาะสม ทางแยก ที่เห็นได้ชดั
•นอนในมุ้ง ทายากันยุงเพือ่ ป้องกันไข้ มาลาเรีย
•เมือ่ ท่ านมีอาการไข้ ปวดศรีษะ มากกว่ า 2 วัน
ให้ มาตรวจหาเชื้อมาลาเรียโดยด่ วนที่………
จัดทา Health Beware Card (2 ภาษา)
ภาษาอังกฤษ
ภาษาไทย
6.การประเมินผลการดาเนินการ
ผลการดาเนินงาน
จานวนป่ วย อัตราป่ วย ที่เปลี่ยนแปลง
 ผลการควบคุมโรคในพืน้ ที่
 ผลด้านอื่นๆ
 KAP ของประชาชนในพืน้ ที่
 ประเมินความร่วมมือของผูป้ ระกอบการ
 ประเมินผลด้านกีฏวิทยา
7.ติดตามสถานการณ์โรคหลังสงบ
• จัดตัง้ เครือข่ายเฝ้ าระวังโรคในพืน้ ที่
• ติดตามดูการเกิดรายใหม่
• เฝ้ าระวังอย่างน้ อย 1 เดือนไม่มีผปู้ ่ วยรายใหม่ถือว่าการ
ระบาดครัง้ นี้ สงบ
• แต่อย่างไรก็ตามการเฝ้ าระวังอย่างต่อเนื่ องและการซ้อม
แผนหากเกิดการระบาดยังมีความจาเป็ นอย่างยิ่ง
จบการนาเสนอ
หากมีข้อสงสั ยหรือเสนอแนะเพิม่ เติมติดต่ อที่
087-0898866
[email protected]