Document 7673920

Download Report

Transcript Document 7673920

โรคไข้ริฟต์วาลเลย์
(Rift Valley fever, RVF)
โรคไข้ริฟต์ วาลเลย์ (Rift Valley fever, RVF) เป็นโรคติดต่อ
จากสัต ว์ส่คู น ซึ่ ง โรคสามารถก่อ ให้เกิ ด โรคและอาจเกิ ด อาการ
ร นุ แรงทั้ง ในสัต ว์แ ละคน โดยการระบาดของโรคก่ อ ให้ค วาม
เสียหายทางเศรษฐกิจที่ สาคัญ เนื่องจากการตายและการแท้งใน
สัตว์ที่มีการติดเชื้อไวรัสริฟต์วาลเลย์
เชื้อสาเหต ุ : เกิดจากเชื้อไวรัสริฟต์ วาลเลย์ (Rift Valley Fever
virus) อยูใ่ นกลมุ่ (genus) Phlebovirus ซึ่งเป็นสมาชิกของวงศ์
(family) Bunyaviridae แยกเชื้อได้ครัง้ แรกในที่ห ุบเขาริฟต์ วาลเลย์
ในประเทศเคนยา ทวีปแอฟริกา
ห ลั ง จ า ก นั้ น ก็ พ บ ก า ร ร า ย ง า น ก า ร ร ะ บ า ด ข อ ง โ ร ค ใ น
sub - Saharan และแอฟริกาเหนือ ระหว่าง ค.ศ.1997-1998 เกิดการระบาด
ใหญ่เกิดขึ้นในประเทศ เคนยา และในเดือนกันยายน ค.ศ. 2000 พบใน
ประเทศโซมาเลีย และแทนซาเนีย และมีรายงานการพบผูป้ ่ วยยืนยัน ใน
ประเทศซาอ ุดี อาระเบี ย และเยเมน ซึ่ งเป็นการพบการรายงานการ
เกิดโรคนอกทวีปแอฟริกา และเพิ่มความกังวลว่าอาจขยายถึงส่วน
อื่นๆ ในทวีปเอเชียและย ุโรป
การติดเชื้อในคน :
ส่วนใหญ่การติดเชื้อในคน เกิดจากการติดต่อโดยตรงหรือทางอ้อม
จากการสัมผัสเลือดหรืออวัยวะของสัตว์ที่ติดเชื้อ
- โดยไวรัสสามารถแพร่สค่ ู นได้ในระหว่างการฆ่าหรือการชาแหละสัตว์ที่ติด
เชื้อไวรัส
- การทาคลอด การด ูแลหรือให้การรักษาสัตว์ หรือการทาลายซากสัตว์
กล มุ่ เกษตรกร คนงานโรงฆ่ า สัต ว์ และสัต วแพทย์จึ ง มี
ความเสี่ยงสูงของการติ ดเชื้อ โดยไวรัสสามารถแพร่กระจายเชื้ อ
ผ่านทางแผล หรือการสูดดมละอองฝอยในระหว่างการฆ่าสัตว์ที่
ติ ดเชื้ อ ซึ่ งการแพร่เชื้ อผ่านทางการสูดดมละอองฝอย สามารถ
เกิดขึ้นกับผูป้ ฏิบตั ิงานในห้องปฏิบตั ิการได้ดว้ ย
- มีหลักฐานว่าคนอาจติ ดเชื้อ RVF ได้
จากการดื่มนมที่ไม่ได้ผา่ นกระบวนการพาส
เจอร์ไรส์ หรือการรับประทานน้านมดิบ ของ
สัตว์ที่ติดเชื้อ
- ย งุ โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง ย งุ ลาย (Aedes
sp.) สามารถแพร่กระจายเชื้อไวรัส RVF ได้
- แมลงบิ น ที่ ดดู เลื อ ดสามารถนาเชื้ อได้
เช่นเดียวกัน
- ปัจจุบนั ยังไม่มีรายงานการแพร่กระจาย
เชื้ อระหว่างคนสู่คน และยังไม่พบรายงาน
การติดเชื้อในกลมุ่ บ ุคลากรทางการแพทย์
- ยังไม่พบรายงานการระบาดของ RVF
ในพื้นที่เขตเมือง
ลักษณะอาการ
ลักษณะอาการไม่ร ุนแรง (Mild)
- ระยะเวลาในการฟักตัวของเชื้ อไวรัส RVF
ปรากฏอาการ) อยูใ่ นช่วง 2-6 วัน
(ตัง้ แต่ได้รบั เชื้ อจนเริ่ม
- ผูท
้ ี่ ไ ด้ร บั เชื้ ออาจไม่ แ สดงอาการโรค หรื อ มี อ าการไม่ ร นุ แรง โดย
ลัก ษณะอาการที่ แ สดง คื อ มี ไ ข้ฉ ับ พลัน ปวดกล้า มเนื้ อ ปวดข้อ ปวด
ศีรษะ
- ผูป้ ่ วยส่วนใหญ่ จะมี อาการคอแข็ ง แพ้แสง เบื่ ออาหาร อาเจี ย น ใน
ระยะแรกอาจจะทาให้วินิจฉัยผิดพลาดเป็นโรคเยือ่ หม้ ุ สมองอักเสบได้
- ภายหลังผูป้ ่ วยมีอาการได้ 4 - 7 วัน จะตรวจพบการตอบสนองของ
ระบบภูมิคม้ ุ กัน คือ ตรวจพบแอนติบอดีต่อเชื้อ และไวรัสค่อยๆ หายไป
จากเลือด
ลักษณะอาการร ุนแรง (Severe)
ผูป้ ่ วยบางรายอาจมีอาการร ุนแรง โดยลักษณะอาการร ุนแรงที่พบ
อาจพบได้มากกว่า 1 ใน 3 กลมุ่ คือ
- ocular (eye) disease (0.5-2% ของผูป้ ่ วย)
- meningoencephalitis (พบน้อยกว่า 1% ของผูป้ ่ วย)
- haemorrhagic fever (พบน้อยกว่า 1% ของผูป้ ่ วย)
รูปแบบอาการ ocular (eye) disease :
ลักษณะอาการนี้จะมีความเชื่อมโยง
กับกลมุ่ อาการที่ไม่ร ุนแรง โดยผูป้ ่ วย
จะเกิดรอยโรคบนจอประสาทตา
และจะมีอาการประมาณ 1-3 สัปดาห์
หลังจากที่แสดงอาการแรก
โดยผู้ป่ วยมัก จะตาพร่ า หรื อ ประสิ ท ธิ ภ าพการมองเห็ น ลดลง โรค
สามารถหายได้เ องภายใน 10-12 สัป ดาห์ แต่ ห ากเกิ ด แผลใน macula
พบว่าผูป้ ่ วย 50% จะสูญเสียการมองเห็นอย่างถาวร การตายในผูป้ ่ วยที่มี
อาการทางตาเพียงอย่างเดียวเป็นเรือ่ งที่ผิดปกติ
รูปแบบอาการ Meningoencephalitis : กลมุ่ อาการนี้ จะแสดงเมื่อ 14 สัปดาห์ หลังจากเริ่มมีอาการแรกของโรค ลักษณะอาการทางคลินิ กที่
พบ คือ มีอาการปวดศีรษะร ุนแรง สูญเสียของความจา เกิดภาพหลอน มี
ความสับสน เวียนศีรษะ ชัก ซึม และไม่รส้ ู ึกตัว ภาวะแทรกซ้อนทางระบบ
ประสาทจะปรากฏภายหลัง(มากกว่า 60 วัน) อัตราตายในผูป้ ่ วยกลมุ่ นี้จะ
ต่า ถึ งแม้ว่าจะมีอาการหลงเหลือจากการติ ดเชื้อทางระบบประสาท ซึ่ง
อาจจะทาให้มีอาการร ุนแรงก็เป็นเรื่องที่พบได้บ่อย
รูปแบบอาการ haemorrhagic fever : อาการแสดงของโรคจะเริ่ม
ปรากฏ 2-4 วันหลังจากเริ่มป่วย โดยผูป้ ่ วยจะเริ่มมีอาการตับทางานลดลง
อย่างร ุนแรง เช่น อาการดีซ่าน เป็นต้น ต่อมาเริ่มปรากฏอาการเลื อดออก
เช่น อาเจี ยนเป็นเลือด มี เลือดปนอ ุจจาระ มี ผื่นจ้ าเขี ยว (ซึ่ งเกิดจาก
เลือดออกใต้ผิวหนัง subcutaneous) มีเลือดออกจากจมูกหรือเหงือก เป็นต้น
อัตราการป่วยตายของผูป้ ่ วยในกลมุ่ haemorrhagic fever ประมาณ 50%
การตายมัก จะเกิดขึ้ นภายใน 3-6 วัน หลังจากเริ่มมี อาการป่วย โดย
สามารถตรวจพบเชื้อไวรัสในกระแสเลือดของผป้ ุ ่ วยกลมุ่ นี้ ตัง้ แต่เริ่มแรก
จนถึง 10 วัน
การวินิจฉัยโรค :
การวิ นิจฉัยโรคนี้ ใช้ Serological Test เช่น enzyme-linked
immunoassay (ELISA หรือ EIA) ซึ่งใช้ยืนยัน specific IgM antibodies ต่อ
ไวรัส นอกจากนี้ ยัง สามารถตรวจวิ นิ จ ฉัย ได้ด ้ว ยเทคนิ ค virus
propagation, antigen detection tests และ RT-PCR
การรักษาและการใช้วคั ซีน :
ใ ช้ ก า ร รั ก ษ า แ บ บ
ประคั บ ประคอง ไม่ มี ก าร
รัก ษาจ าเพาะ ส่ ว นวั ค ซี น
ข ณ ะ นี้ ก า ลั ง อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง
การศึกษาทดลอง
การควบค ุมป้องกันโรค :
ในการระบาดของ RVF การสัมผัสใกล้ชิดกับสัตว์ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งกับของเหลวในร่างกายสัตว์ทงั้ การสัมผัสโดยตรง หรือ ละอองใน
อากาศ เป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่ ส ุดสาหรับการติ ดเชื้อไวรัส RVF ดังนัน้
ควรเพิ่มความตระหนักของของประชาชน ในการลดปัจจัยเสี่ยงของการ
ติดเชื้อ RVF เพื่อจะลดการติดเชื้อและเสียชีวิตของมน ุษย์ได้
ข้อแนะนาที่ใช้ในการสื่อสารความเสี่ยงกับประชาชน ได้แก่
ลดความเสี่ยงที่เกิดจากการเลี้ยงสัตว์และการฆ่า ที่อาจไม่
ปลอดภัย ควรสวมถ ุงมือ และช ุดป้องกันที่เหมาะสมท ุกครัง้ เมื่อด ูแลสัตว์
ป่วย หรือการสัมผัสกับเนื้อเยือ่ เมื่อมีการฆ่าสัตว์
ลดความเสี่ยงที่เกิดจากการบริโภค เช่น การรับประทานเนื้อที่ไม่ปร ุงส ุก
หรือน้านมดิบ ดังนัน้ ควรจะรับประทานอาหารที่ส ุกอย่างทัว่ ถึง
บ ุคคลและช ุมชน ควรป้องกันย ุงกัด โดยการใช้มง้ ุ ขับไล่แมลง และควร
สวมเสื้อผ้าสีอ่อน (เสื้อแขนยาวและกางเกง)
และหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งในเวลาที่ย ุงจะกัดสูงส ุด
Thank you