การตรวจสอบภายในภาคราชการ - หน่วยงานในกรมชลประทาน ส่วนกลาง

Download Report

Transcript การตรวจสอบภายในภาคราชการ - หน่วยงานในกรมชลประทาน ส่วนกลาง

เอกสารประกอบการบรรยาย
การตรวจสอบภายในภาคราชการ
โดย
สานักกากับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ
กรมบัญชีกลาง
กระทรวงการคลัง
ขอบเขตวิชา
การตรวจสอบภายใน
การควบคมุ ภายใน
การประเมินระบบการควบคมุ ภายใน
การจัดทารายงานการควบคมุ ภายใน
การตรวจสอบภายใน
มติคณะรัฐมนตรี
การตรวจสอบภายใน
ระเบียบกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยการตรวจสอบของส่วนราชการ
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน
ความสั มพันธ์
การควบคุมภายใน
[ INTERNAL CONTROL ]
การตรวจสอบภายใน
INTERNAL AUDIT
ระเบียบการตรวจสอบภายใน
ระเบียบ
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการตรวจสอบภายใน
ของส่วนราชการ พ.ศ. 2551
หลักการ
- การบังคับใช้
ระเบียบ
- คาศัพท์
- การรักษาการ
ตามระเบียบ
หมวด 1
ความทัว่ ไป
หมวด 2
หน้าที่
ความรับผิดชอบ
- หน้าที่ความ
- สายการบังคับ
บัญชา
รับผิดชอบ
- ความเป็ นอิสระ
- ขอบเขตงาน
- การเข้าถึงข้อมูล
- หน่วยงานที่รบั ผิดชอบ
- จ้างผูเ้ ชี่ยวชาญ
หมวด 3
หน่วยรับตรวจ
- หน้าที่ความ
รับผิดชอบ
หมวด 4
เบ็ดเตล็ด
- การตรวจสอบของ
กระทรวงกลาโหม
- การจัดทามาตรฐาน
คู่มือ แนวปฏิบตั ิ
- ปัญหาตามระเบียบ
การตรวจสอบภายใน คือ
กิจกรรมการให้ ความเชื่อมั่นและการให้ คาปรึกษาอย่ างเทีย่ งธรรมและ
เป็ นอิสระ ซึ่งจัดให้ มีขนึ้ เพือ่ เพิม่ คุณค่ าและปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานของ
องค์ กรให้ ดีขนึ้ การตรวจสอบภายในจะช่ วยให้ องค์ กรบรรลุถึงเป้าหมาย
ทีว่ างไว้ ด้ วยการประเมิน และปรับปรุงประสิ ทธิภาพของกระบวนการ
บริหารความเสี่ ยง การควบคุมและการกากับดูแลอย่ างเป็ นระบบ

ระเบียบ
ระเบียบการตรวจสอบภายใน
สายการบังคับบัญชาและหน่วยงานที่รบั ผิดชอบ
ผูต้ รวจสอบภายใน
กระทรวง
ขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวง
ตรวจสอบส่วนราชการใน
สังกัดกระทรวง
ผูต้ รวจสอบภายใน
กรม
ขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ
ตรวจสอบราชการบริหาร
ส่วนกลางที่ตงั้ อยูใ่ นส่วนกลาง
ส่วนภ ูมิภาค ต่างประเทศ
ผูต้ รวจสอบภายใน
จังหวัด
ขึ้นตรงต่อผูว้ ่าราชการจังหวัด
ตรวจสอบราชการบริหาร
ส่วนภ ูมิภาค
ระเบียบ
ระเบียบการตรวจสอบภายใน
โครงสร้างและสายการบังคับบัญชาของผูต้ รวจสอบภายใน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง/
รัฐมนตรีช่วยฯ
ผู้ว่าราชการจังหวัด
ปลัดกระทรวง
ผู้ตรวจสอบภายใน
จังหวัด
ผู้ตรวจสอบภายใน
กระทรวง
อธิบดี
ผู้ตรวจสอบภายใน
กรม
สานัก/กอง สานัก/กอง
อธิบดี
ผู้ตรวจสอบภายใน
กรม
สานัก/กอง สานัก/กอง
ราชการใน
จังหวัด
ที่ขนึ้ ตรง
ส่ วนกลาง
ราชการ
บริหาร
ส่ วนภูมิภาค
ราชการ
บริหาร
ส่ วนท้ องถิ่น
ระเบียบการตรวจสอบภายใน
ระเบียบ
กาหนดเป้าหมาย ทิศทาง
การประกันค ุณภาพ
ติดตามผล
กาหนดกฎบัตร
หน้าที่
ความรับผิดชอบ
ของผูต้ รวจสอบภายใน
การรายงานผลการตรวจสอบ
จัดทาแผนการตรวจสอบ
การปฏิบตั ิงานตรวจสอบ
ให้คาปรึกษา / ประสานงาน / ปฏิบตั ิงานอื่น
ระเบียบ
ระเบียบการตรวจสอบภายใน
ขอบเขตงานของผูต้ รวจสอบภายใน
Input
Process
Output
Outcome
ประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการดาเนินงาน
สอบทานการปฏิบตั ิตามข้อกาหนด
สอบทานความถ ูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล
ตรวจสอบการด ูแลรักษาทรัพย์สิน
ความคม้ ุ ค่าของการใช้ทรัพย์สิน
Impact
ระเบียบ
ระเบียบการตรวจสอบภายใน
การจัดทาแผนการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบ
ผูต้ รวจสอบภายใน
จัดทาแผนการ
ตรวจสอบประจาปี
หัวหน้าส่วนราชการ
เสนอ
ภายใน ก.ย.
พิจารณาอน ุมัติ
แผนฯ
ส่วนราชการอื่น
สาเนาให้หวั หน้า
ส่วนราชการระดับกรม
กรณี
กระทรวง
สาเนาให้ผว้ ู ่าราชการ
จังหวัด
กรณี
กรม
สาเนาให้หวั หน้า
ส่วนราชการระดับกรม
กรณี
กระทรวง
สาเนาให้ผว้ ู ่าราชการ
จังหวัด
กรณี
กรม
สาเนาให้สว่ นราชการเจ้า
สังกัดของหน่วยรับตรวจ
กรณี
จังหวัด
ปฏิบตั ิงาน
ตรวจสอบตามแผน
ฯ
จัดทารายงานผล
การตรวจสอบ
เสนอ
พิจารณาสัง่ การ
ตามรายงานผล
การตรวจสอบ
ภายในเวลา
อันควร หรืออย่างน้อยทุก 2 เดือน
นับจากวันที่ตรวจสอบแล้วเสร็จ
ระเบียบการตรวจสอบภายใน
ระเบียบ
หน่วยรับตรวจ
หน้าที่
ความรับผิดชอบ
 อานวยความสะดวกและให้ความร่วมมือ
 จัดให้มีระบบการจัดเก็บเอกสาร
 จัดเตรียมรายละเอียดแผนงาน งาน โครงการ
และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
 จัดทาบัญชี รายงานทางการเงิน และจัดเก็บ
เอกสารประกอบรายการบัญชีให้เรียบร้อย
เป็นปัจจ ุบัน
 ชี้แจงตอบข้อซักถาม
 ปฏิบตั ิตามข้อทักท้วงและข้อเสนอแนะ
มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรม
ของผูต้ รวจสอบภายในของส่วนราชการ
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน - มาตรฐานด้านค ุณสมบัติ
- มาตรฐานด้านการ
ปฏิบตั ิงาน
จริยธรรมของผูต้ รวจสอบภายใน - ความมีจดุ ยืนที่มนั่ คง
- ความเที่ยงธรรม
- การปกปิดความลับ
- ความสามารถในหน้าที่
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน
มาตรฐานด้านค ุณสมบัติ
วัตถุประสงค์
อานาจหน้ าที่
ความรับผิดชอบ
ความเป็ นอิสระ
และ
ความเทีย่ งธรรม
ความเชี่ยวชาญและ
ความระมัดระวัง
รอบคอบ
การประกันคุณภาพ
และการปรับปรุ ง
อย่างต่ อเนื่อง
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน
มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน
การบริหารงาน
ตรวจสอบภายใน
การวางแผน
การปฏิบัติงาน
ลักษณะของงาน
ตรวจสอบภายใน
การรายงาน
ผลการปฏิบัตงิ าน
การปฏิบัตงิ าน
การยอมรับสภาพ
ความเสี่ ยงของ
ฝ่ ายบริหาร
การติดตามผล
จริยธรรมของผูต้ รวจสอบภายใน
จริยธรรมของผูต้ รวจสอบภายใน
วัตถ ุประสงค์
• ยกฐานะศักดิ์ศรี
วิชาชีพตรวจสอบ
ภายใน
• ให้ ผสน. ปฏิบตั ิ
หน้าที่อย่างมี
ประสิทธิภาพ
แนวปฏิบตั ิ
• หลักการพื้นฐาน
โดยใช้สามัญสานึก
และวิจารณญาณ
• ประพฤติตนตาม
จริยธรรมของ ผสน.
• ยึดถือและดารงไว้
ซึ่งหลักปฏิบตั ิ
หลักปฏิบตั ิ
•
•
•
•
ความมีจ ุดยืนที่มนั่ คง
ความเที่ยงธรรม
การปกปิดความลับ
ความสามารถในหน้าที่
วัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบภายใน
• เพือ่ ช่ วยผู้ปฏิบัตงิ านในองค์ กรให้ ทางานในหน้ าที่
ความรับผิดชอบของแต่ ละคนได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
และประสิ ทธิผล
• เพือ่ ส่ งเสริมให้ มกี ารควบคุมอย่ างมีประสิ ทธิภาพภายใต้
ค่ าใช้ จ่ายทีเ่ หมาะสม
ความสาคัญและประโยชน์ ของการตรวจสอบภายใน
• ส่ งเสริมให้ เกิดกระบวนการบริหารจัดการที่ดี
• ส่ งเสริมให้ เกิดการบันทึกบัญชีและรายงานตามหน้ าที่
ความรับผิดชอบ
• ส่ งเสริมให้ เกิดประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลของ
การปฏิบัตงิ าน
• เป็ นมาตรการถ่ วงดุลอานาจ
• ให้ สัญญาณเตือนภัยล่ วงหน้ า
ประเภทของการตรวจสอบภายใน
การตรวจสอบการเงินและบัญชี
( FINANCIAL AUDITING )
 การตรวจสอบการปฏิบตั ิตามข้อกาหนด
( COMPLIANCE AUDITING )
 การตรวจสอบการบริหาร
( MANAGEMENT AUDITING )
 การตรวจสอบการดาเนินงาน
( PERFORMANCE AUDITING )
 การตรวจสอบเทคโนโลยีสารสนเทศ
( INFORMATION TECHNOLOGY AUDITING )
 การตรวจสอบพิเศษ
( SPECIAL AUDITING )
กระบวนการปฏิบตั ิ งานตรวจสอบภายใน ( Internal Audit Process )
การวางแผน
การสารวจข้อมูลเบือ้ งต้น
การประเมิ นผลระบบการควบคุมภายใน
การประเมิ นความเสี่ยง
การวางแผนการตรวจสอบ
การวางแผนการปฏิ บตั ิ งาน
การปฏิบตั ิ งาน
ก่อนเริ่ มการปฏิ บตั ิ งานตรวจสอบ
ระหว่างการปฏิ บตั ิ งานตรวจสอบ
เมื่อเสร็จสิ้ นการปฏิ บตั ิ งานตรวจสอบ
การจัดทารายงาน
และการติดตามผล
รายงานผลการปฏิ บตั ิ งาน
การติ ดตามผล
กระดาษ
ทาการ
ปัจจัยความสาเร็จของงานตรวจสอบภายใน
1. นโยบายและความสนับสน ุนของฝ่ายบริหาร
2. ความพร้อมของระบบงานและสารสนเทศ
3. ความเข้าใจและการยอมรับของผูร้ บั ตรวจ
4. ความร ้ ู ทักษะ และมน ุษย์สมั พันธ์ของผูต้ รวจสอบภายใน
5. การทางานเป็นทีม
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายใน
Input
Process
Output
ประสิ ทธิภาพ / ประสิ ทธิผล / คุ้มค่ า
ความหมาย
ความหมาย ตาม COSO
“Internal Control is a process, effected by an entity’s board of directors,
management and other personnel, designed to provide reasonable assurance
regarding the achievement of objectives in the following categories
- Effectiveness and efficiency of operations
- Reliability of financial reporting
- compliance with applicable laws and regulations”
ความหมาย ตาม คตง.
“การควบค ุมภายใน หมายความว่า กระบวนการปฏิบตั ิงานที่ผก้ ู ากับด ูแล ฝ่ายบริหารและบ ุคลากรของ
หน่วยรับตรวจจัดให้มีข้ ึน เพื่อสร้างความมัน่ ใจอย่างสมเหต ุสมผลว่า การดาเนินงานของหน่วยรับตรวจ
จะบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของการควบคมุ ภายในด้านประสิ ทธิ ผลและประสิ ทธิ ภ าพของการด าเนิ นงาน
ซึ่งรวมถึ งการด แู ลรักษาทรัพย์สิ น การป้องกันหรือลดความผิด พลาด ความเสียหาย การรัว่ ไหล
การสิ้นเปลือง หรือการท ุจริตในหน่วยรับตรวจ ด้านความเชื่อถือได้ของรายงานการทางการเงิ น และ
ด้านการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและมติคณะรัฐมนตรี
แนวคิดเกี่ยวกับการควบค ุมภายใน
 เป็น “ กระบวนการ ” ที่รวมไว้หรือเป็นส่วนหนึ่งใน
ฝ่ายบริหาร –จัดให้มีระบบ
การปฏิบตั ิงานตามปกติ
และติดตามผล
ผูป้ ฏิบตั ิงาน -ปฏิบตั ิตามระบบ
 เกิดขึ้นได้โดย “ บ ุคลากร” ในองค์กร
 ทาให้เกิด “ ความมัน่ ใจในระดับที่สมเหต ุสมผล ”
เท่านัน้ ว่าการปฏิบตั ิงานจะบรรล ุวัตถ ุประสงค์ที่
กาหนด
ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร
การควบคุมภายในเป็ นเครื่องมือที่ผบู้ ริหารนามาใช้เพื่อให้ความมัน่ ใจอย่าง
สมเหตุสมผลว่าการดาเนินงานจะบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด
 ผูบ้ ริหารระดับสูง มีหน้าที่รบั ผิดชอบโดยตรงในการ
กาหนดหรือออกแบบและประเมินผลการควบค ุมภายใน
 ผูบ้ ริหารระดับรองลงมาท ุกระดับ มีหน้าที่กาหนดหรือ
ออกแบบการควบค ุมภายในของส่วนงานที่แต่ละคน
รับผิดชอบ
ผูบ้ ริหารควรตระหนักว่าโครงสร้างการควบค ุมภายในที่ดีเป็นพื้นฐานที่สาคัญ
ของการควบค ุมเพื่อให้การดาเนินงานบรรล ุผลสาเร็จตามวัตถ ุประสงค์ของ
หน่วยรับตรวจ
องค์ประกอบของการควบค ุมภายใน
5. การติดตามประเมินผล
2. การประเมิน
3. กิจกรรม
ความเสี่ ยง
การควบคุม
4. สารสนเทศ
นโยบาย/วิธีปฏิบัติ
ระบุปัจจัยเสี่ ยง
และการสื
่
อ
สาร
การกระจายอานาจ
วิเคราะห์ ความเสี่ ยง
การจัดการความเสี่ ยง
การสอบทาน
ฯลฯ
ปรัชญา
โครงสร้ าง
บุคลากร
อานาจหน้ าที่
จริยธรรม
การบริหารงานบุคคล
1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม
สภาพแวดล้อมของการควบค ุม
“สภาพแวดล้อมของการควบคุม” หมายถึง ปั จจัยต่างๆ
ทีส่ ่งผลต่อทัศนคติและการตระหนักถึงความจาเป็ นและ
ความสาคัญของการควบคุมภายในของบุคลากรทุกคน
ในองค์กร
เป็ น“รากฐาน”ขององค์ประกอบอื่นๆ ของการควบคุม
ภายใน
สภาพแวดล้ อมการควบคุมภายในทีด่ ี
• บุคลากรมีความรับผิดชอบและเข้ าใจอานาจหน้ าทีข่ องตน
• บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ และทักษะทีจ่ าเป็ นในการ
ปฏิบัติงาน
• บุคลากรยอมรับ และปฏิบัตติ ามนโยบายการปฏิบัตงิ าน
• บุคลากรมีจริยธรรม และศีลธรรมอันดี
1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม
•
•
•
•
•
•
ความซื่อสั ตย์ และคุณค่ าทางจริยธรรม
ความรู้ความสามารถ
ปรัชญาและวิธีปฏิบัติของฝ่ ายบริหาร
โครงสร้ างองค์ กร
การมอบอานาจหน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบ
นโยบายและวิธีปฏิบัติงานทางด้ านทรัพยากรบุคคล
2. การประเมินความเสี่ ยง
• การระบุความเสี่ ยง
- ปัจจัยภายใน
- ปัจจัยภายนอก
• การวิเคราะห์ ความเสี่ ยง
- โอกาสทีจ่ ะเกิด
- ผลกระทบ
• การบริหารความเสี่ ยง
- ยอมรับ
- บริหาร
- กาหนดกิจกรรมการควบคุม
การประเมินความเสีย่ ง ( Risk Assessment )
หมายถึง การระบุปัจจัยเสี่ยงและวิเคราะห์ความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ รวมถึงการจัดลำาดลับ
ความสาคัญว่าเหต ุการณ์ใด/เงื่อนไขใดที่จะมีผลกระทบต่อการไม่บรรล ุวัตถ ุประสงค์ของ
หน่วยงาน
- โครงสร้าง
- ระบบงาน
- คน
- ทรัพย์สิน
- งบประมาณ
บริหาร
วิเคราะห์/จัดลาดับ * ยอมรับ
* ป้องกัน/ควบค ุม
* โอกาส
ระบ ุ
* ถ่ายโอน/กระจาย
*
ผลกระทบ
ศึกษา ทาความเข้าใจ * ความเสี่ยงอะไร
* หลีกเลี่ยง
* ส่งผลกระทบ
วัตถ ุประสงค์
อย่างไร
เป้าหมาย
ทราบความเสี่ยงและหาทางลดความเสี่ยงให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้
3. กิจกรรมเพือ่ การควบคุม
หมายถึง นโยบายและวิธีการต่ างๆ ทีฝ่ ่ ายบริหารกาหนดให้ บุคลากร
ขององค์ กรปฏิบัติ เพือ่ ลดหรือควบคุมความเสี่ ยงและบุคลากรได้ มี
การปฏิบัติตามกิจกรรมควบคุมนั้น
- การอนุมัติ การสอบทาน
- การบันทึกรายการ การกระทบยอด
- การแบ่ งแยกหน้ าที่
- การจัดทาเอกสารหลักฐาน ฯลฯ
ประเภทของการควบคุมภายใน
1.
2.
3.
4.
การควบคุมแบบป้ องกัน ( Preventive Control )
การควบคุมแบบค้นพบ ( Detective Control )
การควบคุมแบบแก้ไข (Corrective Control)
การควบคุมแบบส่งเสริม(Directive Control)
4. ข้ อมูลสารสนเทศและการติดต่ อสื่ อสาร
สารสนเทศ หมายถึง ข้ อมูลข่ าวสารทางการเงิน และข้ อมูลข่ าวสาร
อืน่ ๆที่เกีย่ วกับการดาเนินงานขององค์ กร ทั้งจากภายในหรือ
ภายนอกองค์ กร
การสื่ อสาร
- มีการสื่ อสารข้ อมูลทั้งจากระดับบนลงล่าง จากระดับล่ างขึน้ บน
และในระดับเดียวกัน
- มีการสื่ อสารกับแหล่งข้ อมูลภายนอก
- กาหนดช่ องทางในการรายงานการกระทาทีไ่ ม่ เหมาะสม โดย
ไม่ ต้องผ่ านหัวหน้ างาน
5. การติดตามและประเมินผล
หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบตั ิงานและประเมิน
ประสิ ทธิผลของการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
1. ติดตามระหว่างการปฏิบตั ิงาน
- การบริ หารและการกากับดูแลการปฏิบตั ิงานประจาวัน
2. ประเมินผลเป็ นรายครั้ง
- ประเมินการควบคุมด้วยตนเอง
- ประเมินการควบคุมอย่างอิสระ
3. การรายงานจุดอ่อนและข้อบกพร่ อง
การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน
ความหมาย:การพิจารณาถึงผลสัมฤทธ์ ิ ของระบบ
การควบคุมภายในที่มีอยู่ในหน่ วยงาน
วัตถุประสงค์:-
 สามารถป้ องกันหรือลดความเสีย่ ง
 บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์
 ปรับปรุง/แก้ไขเหมาะสมและทันเวลา
การจัดทารายงานฯ : ส่วนราชการ
รายงานผลการประเมินระบบการควบค ุมภายใน ตามมาตรฐานฯ ข้อ 6
ส่วนงานย่อย
- ปย. 1
- ปย. 2
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของ
การควบค ุมภายใน
รายงานการประเมินผลและการปรับปร ุง
การควบค ุมภายใน
หน่วยรับตรวจ (องค์กร)
- ปอ. 1
- ปอ. 2
- ปอ. 3
หนังสือรับรองการประเมินผลการควบค ุม
ภายใน
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของ
การควบค ุมภายใน
รายงานแผนการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
ผูป้ ระเมินอิสระ
ผูต้ รวจสอบภายใน
- ปส.
ข้อมูลจาก www.oag.go.th
รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบค ุมภายในของผูต้ รวจสอบภายใน
ขัน้ ตอนการประเมินการควบคุมภายใน
ขัน้ ตอนที่ 1
ขัน้ ตอนที่ 2
ขัน้ ตอนที่ 3
ขัน้ ตอนที่ 4
จัดประช ุมเชิง
ปฏิบตั ิการ
1.จนท.อาว ุโส
คณะทางาน
กับฝ่ายบริหาร
ส่วนงานย่อย
2.ฝ่ายบริหาร
ส่วนงานย่อย
กับผูป้ ฏิบตั ิ
1.กาหนดงานใน
ความรับผิดชอบ
ออกเป็นกิจกรรม/
งาน
2.ทาความเข้าใจ
วัตถ ุประสงค์และ
เป้าหมายหลักของ
กิจกรรม/งาน
จัดเตรียมเครือ่ ง
มือการประเมิน
1.แบบประเมิน
องค์ประกอบของการ
ควบค ุมภายใน
(ภาคผนวก ก)
2.แบบสอบถาม
การควบค ุม
ภายใน
(ภาคผนวก ข)
ประเมินผล
การควบค ุมภายใน
1.ระดับส่วนงาน
ย่อย
2.ระดับหน่วย
รับตรวจ
การจัดทารายงานฯ : ส่วนราชการ
ขัน้ ตอนการจัดทารายงานระดับส่วนงานย่อย
แบบประเมินองค์ประกอบ
การควบค ุมภายใน
ภาคผนวก ก
ปย.1
1
จุดอ่อนของ
การควบค ุมภายใน
2
ปย.2
ภาคผนวก ข
แบบประเมินเฉพาะด้าน - ด้านการบริหาร
- ด้านการเงิน – ด้านการผลิต – ด้านอื่น ๆ
การจัดทารายงานฯ : ส่วนราชการ
ขัน้ ตอนการจัดทารายงานระดับหน่วยรับตรวจ
ปอ.1
2 3
ปส.
ปย.1
ปย.1
ปย.2
ปย.2
สานักกากับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ
กรมบัญชีกลาง
โทร. 0 2127 7000 ต่อ 6512
E-mail address : [email protected]