ความเป็ นมาของการตรวจสอบภายใน ภาคราชการ ความเป็ นมาของการตรวจสอบภายในภาคราชการ • งานตรวจสอบภายในภาคราชการ เริ่ มมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 โดย ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.

Download Report

Transcript ความเป็ นมาของการตรวจสอบภายใน ภาคราชการ ความเป็ นมาของการตรวจสอบภายในภาคราชการ • งานตรวจสอบภายในภาคราชการ เริ่ มมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 โดย ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.

ความเป็ นมาของการตรวจสอบภายใน
ภาคราชการ
ความเป็ นมาของการตรวจสอบภายในภาคราชการ
• งานตรวจสอบภายในภาคราชการ เริ่ มมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 โดย
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ. 2505 ได้กาหนดให้หวั หน้าส่ วน
ราชการแต่งตั้งข้าราชการในหน่วยงาน 1 คนหรื อหลายคน เป็ นผู ้
ตรวจสอบภายใน รับผิดชอบในการตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินรวมทั้งการ
ก่อหนี้ผกู พันงบประมาณรายจ่ายของเจ้าของงบประมาณนั้น ๆ
2
• และตรวจสอบงานด้านอื่นตามที่หวั หน้าส่ วนราชการมอบหมายเป็ นการ
ภายใน และรายงานผลการตรวจสอบภายในโดยตรงต่อหัวหน้าส่ วน
ราชการอย่างน้อยเดือนละครั้ง และต่อมาในปี พ.ศ. 2516 ข้อกาหนด
เกี่ยวกับงานตรวจสอบภายในได้ถูกนาไปไว้ในระเบียบการรับจ่าย การ
เก็บรักษา และการนาส่ งเงินของส่ วนราชการ พ.ศ. 2516 แทน
3
• โดยกาหนดให้หวั หน้าส่ วนราชการหรื อผูว้ า่ ราชการจังหวัดแต่งตั้ง
ข้าราชการซึ่งไม่ต่ากว่าชั้นตรี อย่างน้อย 2 คน เป็ นกรรมการตรวจสอบ
การเงินประจาเดือน และมีการแก้ไขปรับปรุ งในปี พ.ศ. 2520 โดย
เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การแต่งตั้งผูต้ รวจสอบภายในจากเดิมที่
กาหนดให้ทางานในลักษณะของคณะกรรมการการตรวจสอบการเงิน
เป็ นแต่งตั้งข้าราชการอย่างน้อย 1 คน เป็ นผูต้ รวจสอบภายในของส่ วน
ราชการนั้น หรื อของส่ วนราชการในส่ วนภูมิภาคในจังหวัดนั้น แล้วแต่
กรณี
4
• พ.ศ. 2519 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติกาหนดให้ส่วนราชการที่เป็ นกระทรวง
ทบวง กรม และส่ วนราชการที่เทียบเท่า รวมถึงจังหวัดมีตาแหน่ง
อัตรากาลังเพื่อทาหน้าที่เป็ นผูต้ รวจสอบภายในของส่ วนราชการหรื อ
ของจังหวัดโดยเฉพาะ โดยให้ปฏิบตั ิงานขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ
หรื อผูว้ า่ ราชการจังหวัดแล้วแต่กรณี และให้กระทรวงการคลังเป็ น
ผูร้ ับผิดชอบในการฝึ กอบรม
5
• พ.ศ. 2531 – 2532 กระทรวงการคลังได้พิจารณาเห็นสมควรให้มีการ
ส่ งเสริ ม สนับสนุน และผลักดันให้ส่วนราชการมีการตรวจสอบภายใน
ที่เป็ นระบบเพื่อสามารถเป็ นเครื่ องมือของผูบ้ ริ หารในการตรวจสอบ
ติดตามการปฏิบตั ิงานของส่ วนราชการในความรับผิดชอบได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ประกอบกับข้อกาหนดเกี่ยวกับงานตรวจสอบภายใน
ในระเบียบการรับ จ่าย การเก็บรักษา และการนาส่ งเงินของส่ วน
ราชการ พ.ศ. 2520
6
• 2520 ยังไม่ครอบคลุมถึงขอบเขต หน้าที่ความรับผิดชอบที่แท้จริ งของ
การตรวจสอบภายใน จึงได้ยกเลิกข้อกาหนดเกี่ยวกับงานตรวจสอบ
ภายในในระเบียบดังกล่าว และนามากาหนดเป็ นระเบียบ
กระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่ วนราชการ พ.ศ.
2532 (ซึ่งได้มีการปรับปรุ งแก้ไขในปี พ.ศ. 2542 และ 2551)
7
• ในปลายปี พ.ศ. 2541 ถึงต้นปี 2542 คณะรัฐมนตรี ได้มติเห็นชอบใน
หลักการตามข้อเสนอของกระทรวงการคลังให้จดั ตั้งคณะกรรมการ
ตรวจสอบประจากระทรวงเพื่อทาหน้าที่กากับดูแลระบบการควบคุม
ภายในและการตรวจสอบภายในในภาพรวมของกระทรวง เพื่อเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพการตรวจสอบภายในให้เป็ นเครื่ องมือที่สาคัญของผูบ้ ริ หาร
ในการควบคุม ติดตาม การใช้จ่ายเงินงบประมาณให้เป็ นไปอย่างมี
ประสิ ทธิภาพและเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของแผนงาน งาน / โครงการ
ต่าง ๆ
8
• และให้จดั ตั้งกลุ่มงานตรวจสอบภายในระดับกระทรวง เพื่อทาหน้าที่
เป็ นฝ่ ายเลขานุการและทาหน้าที่ผตู ้ รวจสอบภายในของกระทรวงโดย
มุ่งเน้นการตรวจสอบงานโครงการที่มีความสาคัญหรื อที่มีความเสี่ ยงสู ง
หรื อที่มีสญ
ั ญาณบอกเหตุวา่ อาจจะมีความเสี ยหายเกิดขึ้นโดยประสาน
แผนการตรวจสอบกับหน่วยตรวจสอบภายในระดับกรม เพื่อให้มีการ
ตรวจสอบมีขอบเขตงานที่กว้างขวางและไม่ซ้ าซ้อนกัน
9
แนวความคิด หลักการและเป้ าหมาย
1.แนวคิด
1.1 การตรวจสอบภายในมีความจาเป็ นสาหรับการบริ หาร
องค์กร ในปัจจุบนั โดยถือว่าเป็ นเครื่ องมือของผูบ้ ริ หารงานทั้งใน
ภาคเอกชนและภาคราชการ ซึ่งเดิมจะเน้นเฉพาะการตรวจสอบ
ทางด้านการเงิน การบัญชี สาหรับหน้าที่งาน 3 ลักษณะ คือ
- การตรวจสอบ
- การติดตาม
- การประเมินผล
10
1.2 ในปัจจุบนั ได้เน้นเรื่ องของประสิ ทธิภาพ และประสิ ทธิ ผล และ
ประหยัด ในการปฏิบตั ิงานด้านต่างๆ จึงเพิ่มการตรวจสอบภายใน
ด้าน
- การตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน
- การตรวจสอบการบริ หาร
2. แนวคิด
การตรวจสอบภายในของส่ วนราชการ จะยึดถือหลักการเพื่อให้
ปฏิบตั ิงานตรวจสอบได้บรรลุตามแนวคิดข้างต้น
3 ประการ ดังต่อไปนี้
11
2.1 มีอานาจที่จะเข้าตรวจสอบ คือการที่ผตู ้ รวจสอบภายในจะต้อง
ได้รับมอบอานาจเพียงพอที่จะเข้าสังเกตหรื อตรวจสอบในสิ่ งที่เกี่ยวข้อง
กับเรื่ องที่ตรวจสอบได้ท้ งั หมด
2.2 เสรี ภาพในการตรวจสอบ คือความอิสระของผูต้ รวจสอบ
ภายในในการตรวจสอบทุกๆ ด้าน
2.3 ผูต้ รวจสอบภายในจะต้องไม่มีอานาจและความรับผิดชอบ
โดยตรงกับงานที่ทาการตรวจสอบ
12
• 3. เป้าหมาย
เพื่อให้งานตรวจสอบภายในเป็ นไปตามแนวคิดและหลักการตามข้อ
1 และ 2 ดังกล่าว จึงควรให้หวั หน้าส่ วนราชการ ผูต้ รวจสอบภายใน
หน่วยรับตรวจและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้เข้าใจถึงระบบการ
ตรวจสอบภายในของส่ วนราชการดังนี้
13
3.1 โครงสร้างการจัดองค์กร
3.2 สายการบังคับบัญชา
3.3 ตาแหน่งและอัตรากาลัง
3.4 ขอบเขตการปฏิบตั ิงาน
3.5 หน้าที่ความรับผิดชอบ
3.6 ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
3.7 ผลงานของผูต้ รวจสอบภายใน
14