เสริมสร้างศักยภาพครู

Download Report

Transcript เสริมสร้างศักยภาพครู

การเสริมสร้ างศักยภาพและ
สมรรถภาพความเป็ นครู
รศ. บรรพต พรประเสริ ฐ
คาสาคัญ
• สร้ างเสริม หมายถึง ทาให้ เกิดมีขน
ึ้ และเพิม่ พูนให้ มาก
ยิง่ ขึน้ เช่ น การศึกษาสร้ างเสริมคนให้ เป็ นพลเมืองดี.
คาสาคัญ (ต่ อ)
• ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถที่ยังไม่ พัฒนา หรื อยังไม่ พัฒนา
เต็มที่ ศักยภาพเป็ นพลังภายใน พลังที่ซ่อนไว้ หรือพลังแฝงที่ยัง
ไม่ ได้ แสดงออกมาให้ ปรากฏ หรือออกมาบ้ างแต่ ยังไม่ หมด เช่ น
เมล็ดมะม่ วงมีศักยภาพที่จะโตเป็ นต้ นมะม่ วงถ้ าหากได้ ดินดี นา้ ดี
แดดดี ปุ๋ยดี เด็กจานวนมากที่มีศักยภาพที่จะเป็ นผู้ใหญ่ ท่ ดี ีและเก่ ง
ถ้ าหากได้ รับการ เลีย้ งดูท่ ดี ี การศึกษาที่ดี สิ่งแวดล้ อมที่ดี
ทางปรัชญา ศักยภาพ ( potential-potentiality ) ตรงกันข้ ามกับ
คาว่ า กรรตุภาพ หรือภาวะที่เป็ นจริง ( actual-actuality ) หรือเรียกกันด้ วย
ภาษาง่ ายๆว่ า ภาวะแฝง ( potential ) กับภาวะจริง ( actuality ) ศักยภาพ
(ภาษาละติน potentia ) เป็ นภาวะที่เปลี่ยนแปลงได้ เป็ นไปได้ เกิดขึน้ ได้ ตรงข้ าม
กับภาวะจริง( actus ) ซึ่งในปรัชญาตะวันตกตัง้ แต่ อริสโตเติล พูดถึงความสมบูรณ์ (
perfection ) ว่ าเป็ นภาวะความจริงที่บริสุทธิ์ actus purus ( pure
action ) เปลี่ยนแปลงไม่ ได้
คาสาคัญ (ต่ อ)
•สมรรถภาพ (COMPETENCE หรื อ E F F I C I E N C Y )
หมายถึ ง ความรู้ ความสามารถ ทั ก ษะ เจตคติ
อุ ป นิ สั ย หรื อ บุ ค ลิ ก ภาพของบุ ค คลเพื่ อที่ จ ะนาไป
ประยุ ก ต์ ใช้ ในการปฏิ บั ติ ง านให้ เกิ ด ผลสาเร็ จอย่ างมี
ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล
ฉะนั้น “การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพของครู ” จึง
หมายถึง การส่ งเสริมพัฒนาครู ให้ แสดงความสามารถสู งสุ ดอัน
เป็ นคุณสมบัติที่แฝงอยู่ในตัวให้ ปรากฏออกมาเป็ นที่ประจักษ์
แก่ นักเรียนและต่ อสั งคม
การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพของครูให้ เป็ นครูทดี่ ีและ
ประสบความสาเร็จในวิชาชีพครูอาจดาเนินการได้ อย่ างน้ อย 3 ทางคือ
1. การพัฒนาศักยภาพ
และสมรรถภาพตนเอง
ของครู
2. การพัฒนาศักยภาพและ
สมรรถภาพของครู โดย
สถานศึกษา
3. การพัฒนา
ศักยภาพและ
สมรรถภาพของครู โดย
หน่ วยงานกลาง
สานักงานเลขาธิการคุรุสภา ได้ สรุปว่ า การพัฒนาวิชาชีพครู
เพื่อยกระดับคุณภาพครู ส่ ู มาตรฐานวิชาชีพควรเป็ นการพัฒนาที่
ครู ได้ ฝึกฝนตนเองในสภาวะของการปฏิบัตงิ านปกติ สร้ าง
โอกาสให้ ครู ได้ ทากิจกรรมตามความถนัด ความสนใจ ด้ วย
วิธีการต่ างๆหลากหลาย
ครู จะแสดงบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในลักษณะ
ต่ างๆ แตกต่ างกันตามระดับคุณภาพมาตรฐานวิชาชีพ ซึ่ง
สามารถวิเคราะห์ การแสดงออกของครู ใน 3 มิติ ดังนี้
เป็ นระดับคุณภาพในการดาเนินงานการจัดทา
แผนการสอนการออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ครู นามาใช้ โดยมีระดับ
ฝี มือที่กาหนดคุณภาพไว้กว้าง 3 ระดับ คือ
คุณภาพระดับต่า เป็ นการปฏิบตั ิตามแบบตามตัวอย่างที่ผอู ้ ื่น
กาหนดไว้หรื อปฏิบตั ิให้เห็นแล้วนามาใช้โดยไม่คานึงถึงบริ บทอื่น
คุณภาพระดับกลาง เป็ นการปฏิบตั ิที่ครู พฒั นาขึ้นเองสอดคล้องกับ
ผูเ้ รี ยนท้องถิ่นศักยภาพและความถนัดของครู
คุณภาพระดับสู ง เป็ นการปฏิบตั ิที่มีความชานาญแตกฉานจน
สามารถเป็ นผูแ้ นะนาช่วยเหลือ เป็ นแบบอย่างหรื อเป็ นที่ปรึ กษาร่ วม
พัฒนาให้กบั ครู คนอื่นๆได้
 มิตท
ิ ี่ 1 ระดับฝี มือของครู
 มิติที่ 2 การเพิม
่ บทบาทของผู้เรียน
เป็ นการพัฒนาผู้เรียนจากความสามารถขั้นตา่ ไปสู่
ความสามารถขั้นสู ง จากผู้เรียนอธิบายด้ วยตนเองสู่ ผู้เรียน
ออกแบบการเรียนรู้ ด้วยตนเองสู่ ผู้เรียนสร้ างความรู้ ได้ เองเป็ น
การพัฒนาคุณภาพสู งขึน้ โดยกิจกรรมการเรียนรู้ ทคี่ รู แสดงออก
ครู จะต้ องเป็ นผู้นาทาง โดยการจัดขั้นตอนของกิจกรรมเป็ น
ลาดับ นาไปสู่ การคิดได้ เอง และการสร้ างความรู้ ได้ เอง
 มิตท
ิ ี่ 3 ผลทีเ่ กิดกับผู้เรียน
นักเรี ยนจะต้องได้รับการพัฒนาความสามารถจาก
ความจา สู่ ความคิด สู่ การกระทา สู่ ค่านิยม และสู่ การ
ปฏิบตั ิเป็ นนิสยั ติดตัวด้วยค่านิยมที่พึงประสงค์จึงจะเป็ น
ผลผลิตของครู มืออาชีพที่มีคุณภาพระดับสู ง
ขอบข่ ายสาระของการพัฒนาครูจึงกาหนดแนวทางพัฒนาครูโดย
เริ่มจากฝึ กฝนตนเองของครู
การแสดงออกของครูและผลทีเ่ กิดกับ
นักเรียน
การพัฒนาตนเองให้ เป็ นผู้ประสบความสาเร็จในอาชีพครูมืออาชีพนั้น
จะต้ องได้ รับการพัฒนาปรับปรุงด้ วยตัวเองมาเป็ นลาดับ
โดย
ผู้บังคับบัญชาได้ เสนอวิธีการพัฒนาตนเองบางประการเพื่อก้ าวไปสู่
ความสาเร็จ เช่ น ฝึ กตนเองให้ ตรงต่ อเวลา ทุกคนมีเวลาเท่ ากัน ผู้ที่บริหาร
เวลาเก่งจะต้ องยึดมั่นในหลักการพืน้ ฐาน ได้ แก่ มีความกระตือรื อร้ น
และมีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลาไม่ ผดั วันประกันพรุ่งในการทางานทุก
ประเภททั้งงานเล็กงานใหญ่
ให้ ความสาคัญเท่ าเทียมกันเตรียมตัวให้
พร้ อมอยู่เสมอ
เป็ นคนขยันขันแข็ง เป็ นคนทางานรวดเร็วลักษณะ
คนทางานรวดเร็ว ฝึ กตนให้ มีความเชื่ อมั่นในตนเอง ทาให้ ตนเป็ นทีต่ ้ อง
ใจของผู้อื่น ทาตนให้ รู้จักกาลเทศะ และทาให้ ตนเองเป็ นที่น่าเชื่ อถือ
เกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพครูของคุรุสภา พ.ศ. 2537 ที่กาหนด
มาตรฐานสาหรับครูในการปฏิบตั ิเพื่อพัฒนาตนเองไว้ ดงั นี้
มาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติกจิ กรรมทางวิชาการเกีย่ วกับการพัฒนา
วิชาชีพครูอยู่เสมอ
ปฏิบัติกจิ กรรมทางวิชาการเกีย่ วกับการพัฒนาวิชาชีพครู อยู่เสมอ
หมายถึง การศึกษาค้ นคว้ าเพื่อพัฒนาตนเอง การเผยแพร่ ผลงานทาง
วิชาการ และการเข้ าร่ วมกิจกรรมทางวิชาการทีอ่ งค์ การหรื อหน่ วยงาน
หรื อสมาคมจัดขึน้ และ ต้ องมีผลงานหรื อรายงานอย่ างชัดเจน
มาตรฐานที่ 11 แสวงหาและใช้ ข้อมูลข่ าวสารในการพัฒนา
คือ การค้ นหา สั งเกต จดจา และรวบรวมข้ อมูลข่ าวสารตาม
สถานการณ์ ของสั งคมทุกด้ าน
แล้วสามารถวิเคราะห์ วจิ ารณ์ อย่ างมี
เหตุผล ใช้ ข้อมูลในการแก้ปัญหา ใช้ ในการพัฒนาตนเองและสั งคมได้
ทั้งสองมาตรฐานดังกล่ าวจะเป็ นเกณฑ์ ที่
กาหนดให้ ครูได้ พฒ
ั นาตนเอง อันจะเป็ นการเพิม่
ศักยภาพของตัวครูเองและเสริมสมรรถนะความเป็ น
ครูมืออาชีพตามทีส่ ั งคมต้ องการและคาดหวังโดย
แท้ จริง
ภาพ แสดงการพัฒนาตนเองของครู มืออาชีพ
กระบวนการ
พัฒนา
-พัฒนา
สถานศึกษา
-อบรมและพัฒนา
บุคลากร
การเปลีย่ นแปลง
-การเรียนรู้
-ความเชี่ยวชาญ (ผลรวม
ของความรู้ทักษะและ
ประสบการณ์ ที่มีผลให้
บุคลากรสามารถ
ปฏิบัตงิ านได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพ)
ผลการ
ปฏิบัตงิ าน
-ระดับสถานศึกษา
-ระดับกระบวนการ
-ระดับบุคลากรครู
การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาของไทย
ระบบการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาใน
สถานศึกษาโดยทั่วไปของไทยมีลกั ษณะเฉพาะและซับซ้ อนกว่ า
องค์ กรอื่นๆ เพราะบุคลากรส่ วนใหญ่ ของสถานศึกษาคือ ครู ซึ่ง
เป็ นผู้มีวุฒทิ างการศึกษาในระดับปริญญาตรีขนึ้ ไป และทา
หน้ าที่หลักในการพัฒนาเยาชนของสั งคม ของประเทศ
ครู ผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาทีม่ ีประสิ ทธิภาพย่ อมสร้ าง
ทรัพยากรบุคคลทีม่ ีคุณภาพและประสิ ทธิภาพในการพัฒนาให้ แก่
สั งคม
การพัฒนาศักยภาพบุคคลหรื อการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็ น
กระบวนการเชิงระบบเป็ นการทาหน้ าทีจ่ ัดหาความรู้ และทักษะเพื่อพัฒนา
บุคลากรของสถานศึกษาในการปฏิบตั งิ านเพื่อนาไปใช้ ในปัจจุบนั และอนาคต
โดยการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมให้ มีความสามารถในทิศทางทีส่ อดคล้ องกับ
เป้ าหมายและนโยบายของสถานศึกษานั้นๆ
เพื่อให้ เป็ นสถานศึกษาที่มี
ความสามารถในการพัฒนาด้ านการเรียนการสอนโดยแท้ จริงจึงเกิดแนวคิด
เรื่ อง “ องค์ กรแห่ งการเรียนรู้ ” (Learning Organization) ขึน้ จุดมุ่งหมาย
ของการฝึ กอบรมและพัฒนาครู จึงได้ เปลีย่ นแปลงให้ สถานศึกษาและ
หน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ องในพืน้ ทีม่ คี วามรับผิดชอบต่ อการพัฒนาครู ทุกระดับและ
ทุกเรื่ องทีส่ ่ งผลต่ อการพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพทางการศึกษาและคุณภาพ
สถานศึกษา
ดังนั้น การพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา จึงมีองค์ ประกอบสาคัญคือ
การฝึ กอบรมพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาและการพัฒนาสถานศึกษา
ขัน้ ตอนในการฝึ กอบรมและพัฒนา
1. ศึกษาความต้ องการจาเป็ นในการฝึ กอบรม (Need Assessment)
1.1. วิเคราะห์ รายละเอียดของงาน ใช้ สาหรับการกาหนดความต้ องการ
ฝึ กอบรมของบุคลากรบรรจุใหม่ เพื่อพัฒนาและฝึ กทักษะด้ านความรู้
2.2. วิเคราะห์ ผลการปฏิบัติงาน โดยเปรียบเทียบหาความแตกต่ างกับ
มาตรฐานของงานพร้ อมทั้งหาสาเหตุของปัญหา
2. ขั้นออกแบบเนื้อหาในการฝึ กอบรม (Instructional Design)
2.1. รวบรวมวัตถุประสงค์ วิธีการสอนและสื่ อการสอน คาอธิบาย
ลักษณะและการจัดเรียงลาดับของเนื้อหา
2.2. จัดเตรียมอุปกรณ์ ต่างๆ ให้ พร้ อมสาหรับการอบรม
2.3. ดาเนินการฝึ กอบรมด้ วยความรอบคอบ มีคุณภาพ และมี
ประสิ ทธิผล
3. ขั้นทาให้ เกิดความเที่ยงตรง (Validation)
ฝึ กซ้ อมการนาเสนอและทดสอบความถูกต้ องก่อนนาเสนอจริงต่ อผู้เข้ า
อบรมเพื่อให้ แน่ ใจว่ าแผนงานมีความเรียบร้ อยและมีประสิ ทธิผล
4. ขั้นปฏิบัติ (Implementation)
ดาเนินการฝึ กอบรมและฝึ กปฏิบัติ ซึ่งมุ่งนาเสนอความรู้ และทักษะใน
การปฏิบัติงาน
5. ขั้นการประเมินผลและติดตามผล (Evaluation and follow-up)
5.1. ปฏิกริ ิยา (Reaction) บันทึกปฏิกริ ิยาของผู้เข้ ารับการฝึ กอบรมที่มตี ่ อ
การฝึ กอบรม
5.2. การเรียนรู้ (Learning) ใช้ เครื่ องมือการป้อนกลับ
5.3. พฤติกรรม (Behavior) หัวหน้ าบันทึกปฏิกริ ิยาการ
ปฏิบัตงิ าน
5.4. ผลลัพธ์ (Results) พิจารณาปรับปรุงผลการปฏิบัตงิ านและ
ประเมินความต้ องการฝึ กอบรมเพิม่
ประเภทของการฝึ กอบรม
1. แบ่ งตามลักษณะผู้เข้ ารับการอบรม
เพื่อความรู้ จกั งาน ความคุ้นเคยและประโยชน์
2. แบ่ งตามลักษณะงาน
2. แบ่ งตามลักษณะงาน
2.1 ฝึ กอบรมก่อนเข้าทางาน ( Pre – service Training )
2.2 เรี ยนรู ้งานโดยทาไปด้วย ( On – the – job Training)
2.3 ฝึ กอบรมเพิ่มความรู ้ความชานาญ ( In - service Training)
2.4 ส่ งครู บุคลากรออกไปศึกษาดูงานข้างนอก ( Off – the job
Training)
การพัฒนาครูโดยหน่ วยงานกลางเป็ นการดาเนินการทีเ่ ป็ นระบบมาช้ า
นาน เนื่องจากระบบการศึกษาไทยมีความผูกพันกับระบบราชการ เป็ น
ส่ วนหนึ่งของระบบราชการ กฎระเบียบและแนวปฏิบัติท้งั หลายก็มักจะ
กาหนดโดยส่ วนราชการ ความคาดหวังของสั งคมก็ยงั เป็ นภารกิจที่
สาคัญหน่ วยงานกลางตามนัยดังกล่าวอาจแบ่ งได้ 2 ลักษณะคือ
3.1. หน่ วยงานกลางของกระทรวงต้ นสั งกัดและที่เกีย่ วข้ อง
ในส่ วนทีเ่ กีย่ วข้ องกับการผลิตและการพัฒนาครูน้ัน
กระทรวงศึกษาธิการได้ กาหนดยุทธศาสตร์ ในการผลิตและพัฒนาอย่าง
ชัดเจน
ยุทธศาสตร์ การปฏิรูปครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ
ศึกษา พ.ศ.2549 – 2551
(218)
วิสัยทัศน์ ของยุทธศาสตร์ ฉบับนี้ (คณะกรรมการข้ าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษา 2546) คือ “ภาคในปี 2551 ครู คณาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษามีศักยภาพ คุณภาพตามมาตรฐาน และการรับรอง
วิชาชีพสามารถใช้ รูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย และนา
เทคโนโลยีมาใช้ ในการพัฒนาผู้เรียนให้ มีความรู้มีคุณภาพ มีจริยธรรม
ทันต่ อการพัฒนาและการแข่ งขันและของประเทศ”
ยุทธศาสตร์ การปฏิรูปครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาฉบับนี้
ประกอบด้ วย 3 ยุทธศาสตร์ หลักคือ
1.การฟื้ นฟูศรัทธาวิชาชีพครู จะมีการดาเนินการ ยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครู
พัฒนาระบบความก้ าวหน้ าในวิชาชีพ สร้ างและพัฒนาระบบค่ าตอบแทน สวัสดิการ
สวัสดิภาพ และสิ ทธิประโยชน์ เกื้อกูล
2.การพัฒนาศักยภาพครู ให้ มกี ารดาเนินการ สร้ างเอกภาพการพัฒนา การ
พัฒนาและฝึ กอบรมที่ยดึ โรงเรียนเป็ นฐานการพัฒนา (SBT / On-Site
Training/Whole School Approach) และเสริมพลัง
ให้ ชมรมวิชาการเครื อข่ ายวิชาชีพ มีบทบาทพัฒนาครู
3.การผลิตครู แนวใหม่ จะให้ มกี ารปรับปรุ งโดยการ พัฒนาหลักสู ตรการผลิต
และพัฒนาครู แนวใหม่
สภาพปัญหาของครู ในการปฏิรูปการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ในช่ วงเวลาทีส่ ั งคมกาลังมองวิชาชีพ
ครู และผู้ประกอบวิชาชีพครู ด้วยความไม่ แน่ ใจ ในคุณภาพ
กระทรวงศึกษาธิการให้ วเิ คราะห์ ปัญหาต่ าง ๆ แล้ วสรุปว่ า
....
• ปัญหาของวิชาชีพครู ได้ แก่
1) ปัญหาทางการผลิตครู ได้ แก่ คุณภาพหลักสู ตร คุณภาพ
สถาบันผลิตครู เอกภาพการผลิต คุณภาพเข้ าสู่ วชิ าชีพ
2) ปัญหาการพัฒนาครู ได้ แก่ การพัฒนาไม่ สนองความ
ต้ องการ ขาดแรงจูงใจครู ทงิ้ ชั้นเรียน ขาดเอกภาพ วิธีการพัฒนา
3) ปัญหาการบริหารงานบุคคล ได้ แก่ ข้ อมูลการบริหารงาน
บุคคล ระบบคุณธรรม การใช้ ครู (ครู ขาด, ครู สอนไม่ ตรงวุฒ)ิ
ความก้ าวหน้ า คุณภาพชีวติ (สภาพการปฏิบัตงิ าน , หนีส้ ิ น)
4) ปัญหามาตรฐานและจรรยาบรรณ ได้ แก่ การควบคุม
จรรยาบรรณ รับรองมาตรฐาน พัฒนาการประกอบวิชาชีพ
แนวคิดหลักการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา แผนยุทธศาสตร์ การ
ปฏิรูปครูคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2549 – 2551 ฉบับนีไ้ ด้ กาหนดกรอบในการพัฒนาครูโดย
กระทรวงศึกษาธิการไว้ ดังนี้
1) การพัฒนาต้ องเกิดการเปลีย่ นแปลงที่ตัวเด็ก (นักเรียน)
2) การพัฒนาต้ องเกิดจากความต้ องการของครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา
3) การพัฒนาควรเป็ นลักษณะ Site Based Development (SBD)
4) การพัฒนาต้ องมีหลากหลายรูปแบบให้ เลือกได้ ตามความเหมาะสม
5) การพัฒนาต้ องสอดคล้องกับภารกิจ/หน้ าที่
6) การพัฒนาต้ องดาเนินการในรูปของเครื อข่ าย
7) การพัฒนาต้ องสอดคล้องกับนโยบายของหน่ วยงาน
8) การพัฒนาต้ องครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย
• เป้ าหมายและวิธีการพัฒนา แผนยุทธศาสตร์ การปฏิรูปครู คณาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ 2549 – 2551 มีเป้ าหมาย
และแนวทางในการพัฒนาทีค่ รอบคลุมศักยภาพของวิชาชีพครูในภาพรวม
คือ
1)ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนต้ องได้ รับการพัฒนาอย่ างน้ อยปี ละ 1 ครั้ง
2) การพัฒนามุ่งเน้ นทีส่ มรรถนะของครู และบุคลากรทางการศึกษา
3) รู ปแบบการพัฒนาเน้ นสร้ างเครื อข่ าย
4) องค์ กรเครื อข่ าย : หน่ วยงานรัฐ และเอกชน
5) บุคคลเครื อข่ าย : ผู้ทรงคุณวุฒิ/ปราชญ์ ชาวบ้ าน/ผู้ประสบความสาเร็จ
6) หลากหลายวิธีพฒ
ั นา
7) SBD : เพื่อนช่ วยเพื่อน / วิจัยในชั้นเรียน / สื่ อทางไกล
8) OSBD : อบรม / สั มมนา / แลกเปลีย่ นประสบการณ์
3.2. การพัฒนาวิชาชีพครู ของคณะกรรมการข้ าราชการครู
(ก.ค.ศ.)
คณะกรรมการข้ าราชการครู (ก.ค.ศ.) เป็ นองค์ กรที่มี
หน้ าทีด่ ้ านการบริหารบุคลากรทีเ่ ป็ นข้ าราชการครู โดยตรง
และมีบทบาทต่ อการควบคุมมาตรฐานวิชาชีพครู หลาย
ด้ านได้ กาหนดนโยบายการพัฒนาวิชาชีพครู ดังนี้
1)ส่ งเสริมให้ มกี ารพัฒนาข้ าราชการครูทุกคน ทุกระดับ โดยมีการพัฒนาอย่ างมีระบบและ
ต่ อเนื่อง
2)การพัฒนาข้ าราชการครู ต้องมุ่งเน้ นให้ ข้าราชการครู มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติทดี่ ี และเหมาะสม
กับการเป็ นครูโดยเน้ นในการพัฒนาในเรื่ อง
3)ให้ มกี ารพัฒนาข้ าราชการครูท้งั ระบบ ตั้งแต่ ครูบรรจุใหม่
4)ส่ งเสริมให้ มกี ารพัฒนาข้ าราชการครูด้วยวิธีการทีเ่ หมาะสมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
และการใช้ ข้าราชการครูให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด
5)การพัฒนาข้ าราชการครู ต้องมุ่งผลในทางปฏิบตั ิ เพื่อการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาและมี
แนวทางทีจ่ ะนาความรู้ทไี่ ด้ รับไปปฏิบตั ิอย่ างแท้ จริง
6)ส่ งเสริมให้ มกี ารระดมสรรพกาลัง ทรัพยากร ความร่ วมมือและประสานงานระหว่ างส่ วน
ราชการในกระทรวงศึกษาธิการ สถาบันการศึกษาหน่ วยงานเอกชนและระหว่ างองค์ กรกลาง ในการ
บริหารงานบุคคลเพื่อให้ การพัฒนาข้ าราชการครู มปี ระสิ ทธิภาพและประหยัด
7)ให้ ส่วนราชการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรสนับสนุนการพัฒนาข้ าราชการครู ให้ เป็ นไป
ตามนโยบาย
8)ให้ คณะกรรมการข้ าราชการครู (ก.ค.ศ.) เป็ นองค์ กรกลางทาหน้ าทีก่ าหนดเป้าหมายแนวทาง
และกลไกต่ าง ๆ ทีจ่ าเป็ นสาหรับการพัฒนาข้ าราชการครู ตลอดจนประสานงานกากับดูแลและส่ งเสริม
สนับสนุนการพัฒนาข้ าราชการครู ตลอดจนประสานงานกากับดูแลและส่ งเสริมสนับสนุนการพัฒนา
ข้ าราชการครูให้ เป็ นไปตามนโยบาย
3.3 การพัฒนาโดยแบ่ งหน่ วยต้ นสั งกัด
3.4การพัฒนาศักยภาพโดยองค์ กรวิชาชีพ
องค์ กรทีเ่ กีย่ วข้ องกับวิชาชีพครู ของไทยองค์ กรทีเ่ กีย่ วข้ องกับการ
พัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพของครู และวิชาชีพครู ไทยอาจแบ่ งได้ เป็ น 3 กลุ่ม
ด้ วยกัน คือ
1)องค์ กรผลิตครู
2)องค์ กรใช้ ครู
3)องค์ กรพัฒนาวิชาชีพครู
ทั้ง 3 กลุ่มต่ างมีบทบาทและพันธะต่ อผู้ประกอบวิชาชีพครู ในแต่ ละส่ วน องค์ กร
ทีค่ รู เกีย่ วพัน มีความเป็ นเจ้ าของนั้นคือองค์ กรพัฒนาครู ท้งั หลาย ครู พงึ เป็ นสมาชิกที่
ดีขององค์ กรเหล่านี้
องค์ กรผลิตครู
ในอดีตการผลิตครูเป็ นหน้ าทีข่ องรัฐเท่ านั้น แต่ ภายหลังการบังคับ
ใช้ รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 สถาบันการศึกษา
เอกชนทีส่ อนระดับปริญญาตรีกส็ ามารถเปิ ดสอนหลักสู ตรเพื่อการผลิต
ครูได้ การปฏิรูปการศึกษาภายใต้ การบังคับของพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่ งชาติ พ.ศ.2542 รัฐต้ องกาหนดระบบผลิตครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาขึน้ ใหม่ ตามมาตร 52 นอกจากนีก้ ารปฏิรูปการบริหารการศึกษา
โดยให้ มีกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเพียงกระทรวงเดียว
ทาให้ องค์ กรผลิตครูท้งั หลายของประเทศแต่ เดิมต้ องมีการขยับขยายกัน
ใหม่ องค์ กรผลิตครูไทยในอนาคตน่ าจะมีหน่ วยงานเพียง 4 กลุ่ม คือ
1.คณะศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัยเดิม มีมหาวิทยาลัยของรัฐ
16 แห่ ง มีคณะเปิ ดสอนสาขาวิชาชีพครู รวมทั้งมหาวิทยาลัยเปิ ด 2 แห่ ง คือ
มหาวิทยาลัยรามคาแหง และมหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช ทุกสถาบันผลิตถึง
ระดับบัณฑิตศึกษา
2.กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฎ มีมหาวิทยาลัยราชภัฏ 41 แห่ ง ที่มคี ณะครุ ศาสตร์
หรื อหน่ วยงานที่เรียกชื่ ออย่ างอื่นเป็ นหน่ วยงานผลิตครู เกือบทุกแห่ งขยายการศึกษา
สาขาวิชาชีพครู ถึงระดับบัณฑิตศึกษาเช่ นกัน
3.กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งมีท้ งั หมด 9 แห่ งมหาวิทยาลัย
กระจายอยู่ทุกภูมภิ าคของประเทศไทย จะเน้ นการผลิตบุคลากรครู วชิ าชีพช่ าง
กลุ่มมหาวิทยาลัยของรัฐเดิมที่มคี ณะครุ ศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ เช่ น
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น มหาวิทยาลัย
นเรศวร มหาวิทยาลัยบูรพา เป็ นต้ น มหาวิทยาลัยเหล่ านีผ้ ลิตครู ระดับปริญญาเกือบ
ทุกสาขา
4.มหาวิทยาลัยเอกชน มีหลายสถาบันที่เปิ ดสอนในระดับบัณฑิตศึกษาสาขา
การศึกษาไม่ มกี ารเปิ ดสอนในระดับปริญญาตรี
องค์ กรให้ ครู
ตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติพ.ศ.2542
พระราชบัญญัตสิ ภาครู และบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ.2546 และ
พระราชบัญญัตริ ะเบียบข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
พงศ.2547
ผู้สอนในระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานทั้งหมดจะมีตาแหน่ งเป็ น
ครู ฉะนั้นองค์ กรใช้ ครู กค็ ือ สถานศึกษาทีจ่ ดั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ระดับอุดมศึกษาทีต่ า่ กว่ าปริญญาอาจแบ่ งเป็ น 3 กลุ่ม คือ
1. สถานศึกษาสั งกัดเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
2. สถานศึกษาสั งกัดองค์ กรท้ องถิ่น
3. สถานศึกษาเอกชนหรื อหน่ วยงานพิเศษของรัฐอื่น ๆ
องค์ กรพัฒนาครู
องค์ กรพัฒนาครู มหี ลายรู ปแบบ อาจเป็ นองค์ กรที่ไม่ เป็ นทางการ เช่ น สหภาพครู
ทั้งหมด ชมรมครู ต่าง ๆ ที่มคี วามสนใจในเรื่ องใดร่ วมกัน เป็ นต้ น
สาหรับองค์ กรพัฒนาครู ที่เป็ นทางการก็คือองค์ กรที่จดั ตั้งขึน้ โดยมีกฎหมาย
รองรับหรื อจัดตั้งขึน้ โดยมีการบังคับของกฎหมาย คือ คุรุสภา องค์ กรนีค้ รู ต้องเป็ น
สมาชิกหรื อเกีย่ วข้ องอย่ างไรก็ตามการจัดตั้งองค์ กรที่เป็ นทางการนั้นก็มหี ลายองค์ กรที่ครู
ควรร่ วมกันจัดตั้งขึน้ เพื่อเป็ นองค์ กรพัฒนาครู เอง
คุรุสภากับบทบาทหน้ าทีข่ ององค์กรวิชาชีพในการพัฒนาศักยภาพ
ครู เพื่อให้ บรรลุเป้ าหมายและหลักการขององค์ การวิชาชีพครูตาม
กฎหมาย วัตถุประสงค์ ของการตั้งองค์ กรวิชาชีพและความคาดหวังของ
มวลสมาชิกแห่ งองค์ กรดังกล่าว จึงมีการกาหนดบทบาทและหน้ าที่ของ
องค์ การวิชาชีพครูไว้ คุรุสภา (2548 : 31-32) พอสรุปได้ ดังนี้
1.เป็ นองค์ กรอิสระและมีอานาจที่จะปฏิบัติงานได้ โดยรวดเร็วและ
ฉับพลันภายใต้ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง
2.ส่ งเสริมด้ านสวัสดิการและบริการให้ แก่สมาชิกครูโดยทัว่ ถึง
3.สร้ างกฎหมายมาตรฐานทางจรรยาบรรณวิชาชีพครู เพื่อควบคุม
ให้ ประพฤติตนอยู่ในขอบเขตอันเหมาะสมของวิชาชีพครู และธารงไว้ ซึ่ง
เกียรติและมาตรฐานของวิชาชีพครู
4. ดาเนินการออกและถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
5. ส่ งเสริมให้ สมาชิกครู มีความก้ าวหน้ าและทันสมัยทางวิชาการ
ทั้งนีเ้ พื่อรักษามาตรฐานในวิชาชีพครู ตราบทีย่ งั ประกอบวิชาชีพ
นีอ้ ยู่
6. ควบคุมมาตรฐานวิชาชีพครู และปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณแห่ ง
วิชาชีพครู
7. วิจยั และวางแผนเพื่อพัฒนาองค์ กรและวิชาชีพครู
8. ทาหน้ าที่ประสานงานระหว่ างสมาคมทีเ่ กีย่ วข้ องทางวิชาชีพครู
อื่น ๆ ทั้งในและนอกประเทศ
นโยบายพัฒนาครูของคุรุสภา
ในการพัฒนาครูของคุรุสภานั้น มีจุดมุ่งหมายสู งสุ ดหรื ออุดมการณ์
ในการ “ส่ งเสริมและพัฒนาให้ ครูเป็ นพลังแห่ งความดีงามและมีความคิด
ริเริ่มสร้ างสรรค์ เพื่อสั งคม” ทั้งนีม้ ีความคาดหวังว่ า
1.เพื่อพัฒนาวิชาชีพครูให้ เป็ นวิชาชีพทีม่ ุ่งสร้ างเยาวชนและ
ประชากรให้ เป็ นพลเมืองทีด่ ีมีคุณภาพและมีศักยภาพในการพัฒนา
ประเทศชาติให้ เจริญก้าวหน้ าไปสู่ เป้ าหมายทีร่ ัฐกาหนดไว้
2.เพื่อเสริมสร้ างความมั่นคงให้ แก่ครูในการเป็ นผู้นาเพื่อพัฒนา
สั งคมตลอดจนเสริมสร้ างความเป็ นอยู่ของครูให้ มีสวัสดิภาพ มีสวัสดิการ
และมีรายได้ เหมาะแก่เกียรติศักดิ์ศรี และสถานภาพของปูชนียบุคคลอย่ าง
แท้ จริง
3.เพื่อพัฒนางานของคุรุสภาพให้ เป็ นองค์ กรวิชาชีพครู ที่
เข้ มแข็งสามารถประสานงานและดาเนินงานพัฒนาครู และ
วิชาชีพครู ให้ เป็ นวิชาชีพทีส่ ามารถส่ งเสริมและเกือ้ หนุนให้ การ
จัดการศึกษาของชาติบรรลุวตั ถุประสงค์ ตามแผนทีก่ าหนดได้
อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
4.เพื่อให้ บรรลุจุดประสงค์ ในแต่ ละข้ อจะมีแผนงานหลัก
รับรอง ได้ แก่ การพัฒนาวิชาชีพครู การส่ งเสริมความมั่นคงใน
วิชาชีพครู และการพัฒนาองค์ กรวิชาชีพครู
การพัฒนาวิชาชีพ
การพัฒนาวิชาชีพครู คุรุสภามีแผนงานในการยกระดับ
มาตรฐานวิชาชีพครู เพื่อพัฒนามาตรฐานวิชาชีพครู ให้ เป็ นที่
ยอมรับของทุกฝ่ ายจัดให้ มีการจัดทาเอกสารและเครื่ องมือที่เกีย่ วกับ
มาตรฐานวิชาชีพครู พร้ อมให้ เกิดการปฏิบัติ ส่ งเสริมให้ มีการออก
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู อย่ างรวดเร็วและทัว่ ถึงพร้ อมกับ
จัดระบบทะเบียนข้ อมูลเกีย่ วกับครู ทไี่ ด้ รับใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพครู และครู ผ้ ูได้ รับการอบรมเพิม่ เติมให้ มีประสิ ทธิภาพ และ
ให้ ครู ได้ พฒ
ั นาตนเองอย่างต่ อเนื่อง โดยให้ ได้ รับค่ าตอบแทนและ
สิ ทธิพเิ ศษแก่ ครู ทไี่ ด้ รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
เร่ งรัดมาตรการที่จะก่อให้ เกิดการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพครูอย่ าง
ต่ อเนื่อง โดยการวิจัยเพื่อการปรับปรุงกฎหมายทีก่ ระตุ้นให้ ครูทุกคน
กระตือรื อร้ นในการพัฒนาวิชาชีพครู
จัดให้ มกี ารตอบแทนเป็ นขวัญ
กาลังใจแก่ครูทไี่ ด้ พฒ
ั นาตามมาตรฐานทีว่ างไว้ รวมทั้งค่ าตอบแทนแก่
ครูผู้เขียนตารา เอกสารประกอบการสอนหนังสื อผลิตสื่ อการเรียนการ
สอนทีส่ อดคล้องกับหลักสู ตรและเหมาะสมกับสภาพท้ องถิ่น
ดาเนินการให้ มีการยกย่ องเชิดชู เกียรติผู้ประกอบวิชาชีพครู โดยให้
มีการติดตามข่ าวสารการเคลื่อนไหวของผู้ประกอบวิชาชีพครูอย่ าง
ต่ อเนื่องจัดให้ มีทาเนียบนามของผู้ประกอบวิชาชีพครูทกุ คนให้ มีการยก
ย่ องเชิดชู เกียรติผู้ทที่ าคุณประโยชน์ ให้ แก่การศึกษาของชาติอย่ างสู งยิง่ ให้
การส่ งเสริมและยกย่ องเชิดชู เกียรติคุณครูตลอดตลอดจนนักเรียนที่มีผล
การเรียนดีเด่ นอย่ างต่ อเนื่อง
การอบรมครูของคุรุสภา
เพื่อเป็ นการเพิม่ ศักยภาพของครู ให้ เป็ นไปตามมาตรฐาน
วิชาชีพครู ของคุรุสภา พ.ศ.2537 คุรุสภามีแผนการในการอบรมครู
อย่ างต่ อเนื่องโดยการร่ วมมือองค์ กรผู้ผลิตและผู้ใช้ ครู ในการกาหนด
แผนหลักการฝึ กอบรม เช่ น จัดให้ มีคณะองค์กรกลางประสานงาน
ฝึ กอบรมจัดให้ มีการแบ่ งความรับผิดชอบในการฝึ กอบรมระหว่ าง
หน่ วยผลิตครู หน่ วยใช้ ครู และหน่ วยส่ งเสริมครู คุรุสภา และเร่ งรัด
ให้ มกี ารจัดทาหลักสู ตรและสื่ อเพื่อการฝึ กอบรม
ทั้งนีจ้ ะมีการ
ประสานงานกับ ก.ค.ศ. และหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องเพื่อให้ ครู ทผี่ ่ าน
การฝึ กอบรมได้ ค่าตอบแทน
เพื่อเป็ นการพัฒนาผู้นาของครู ผ้ ูสอนให้ มีศักยภาพสู งขึน้
และมีความรับผิดชอบในอาชีพมากขึน้ คุรุสภาจะดาเนินกล่ าว
ส่ งเสริมให้ ผ้นู าครู ได้ เข้ ารับการอบรมเข้ มในหลักสู ตรระดับสู ง
ให้ ผ้ ูนาครู ได้ รับการพัฒนารู ปแบบต่ าง ๆ อย่ างต่ อเนื่อง โดยจัดให้
มีการประชุมทางวิชาการอย่ างต่ อเนื่องและสม่าเสมอ จัดให้ มี
การศึกษาดูงานในรู ปแบบต่ าง ๆ และประชุมปฏิบัตกิ ารในเรื่ อง
ต่ าง ๆ สนับสนุนให้ ครู ผ้ ูสอนในแต่ ละวิชาได้ รวมกลุ่มกันเพื่อ
พัฒนาคุณภาพของครู และเยาวชนของชาติ
การระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู
คุรุสภาพได้ ดาเนินการทุกวิถที างเพื่อให้ ได้ ทรัพยากรจาก
แหล่ งต่ าง ๆ มาพัฒนาวิชาชีพครู ด้วยการ แสวงหาความร่ วมมือจาก
องค์ กรภาครัฐ เช่ นงบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผ่ นดิน
ด้ วยการประสานกับบุคลากรฝ่ ายต่ าง ๆ ทีม่ ีบทบาทในการ
สนับสนุนในด้ านการเงินจากภาครัฐบาทประสานงานกับสถาบัน
หรื อองค์ กรของรัฐ สนับสนุนการพัฒนาวิชาชีพครู จดั กิจกรรมเพื่อ
ระดมทรัพยากรสาธารณะ เพื่อแสวงหาความร่ วมมือจากองค์ กร
และบุคคลจากต่ างประเทศ
งานส่ งเสริมองค์ กรวิชาชีพครู ท่ เี กี่ยวข้ อง
นอกจากจะเพื่อสนับสนุนให้ องค์ กรครู ทจี่ ดทะเบียนตาม
กฎหมายปฏิบัตแิ ละร่ วมมือกับคุรุสภาได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ ด้ วย
การอานวยความสะดวกเกีย่ วกับการดาเนินงานของสมาคมวิชาชีพ
ต่ าง ๆ ให้ การสนับสนุนกิจกรรมของสมาคมทีเ่ ป็ นประโยชน์ แก่ มวล
สมาชิก
ความเจริญของบุคคลในสั งคม ปัจจัยสาคัญย่ อมขึน้ อยู่กบั คุณภาพ
ของการฝึ กอบรมอย่ างมีประสิ ทธิภาพ วิชาชีพครูและผู้ประกอบวิชาชีพ
ครูเป็ นกลุ่มทีส่ ั งคมฝากความหวังและมอบหมาย
ภารกิจดังกล่าวให้ ปฏิบัติอย่างลุล่วง ดังนั้นจึงเป็ นหน้ าทีข่ องครูทุก
คนทีจ่ ะต้ องพัฒนาศักยภาพความเป็ นครูให้ มีคุณภาพตามทีส่ ั งคม
ต้ องการ
การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพครู อาจทาได้ หลายวิธีได้ แก่
1. การพัฒนาตนเอง เช่ น การฝึ กอบรมการปฏิบตั ิงาน
การประชุ มทางวิชาการ การจัดกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ร่วมกัน การ
ช่ วยเหลือเพื่อนครูในการทางาน
การเสนอรายงานพัฒนาผู้เรียนและ
กิจกรรมอื่นๆซึ่งเป็ นการฝึ กฝนทีค่ รูเลือกปฏิบัตดิ ้ วยตนเองตามศักยภาพ
จุดเด่ นจุดด้ อยและโอกาสของตน
2. การพัฒนาโดยองค์ กรหรื อสถานศึกษา เป็ นการพัฒนา
ศักยภาพของบุคคลอย่ างเป็ นกระบวนการและเป็ นระบบ
มี
กิจกรรมต่ างๆ เช่ น การส่ งเสริมให้ ไปศึกษาอบรม ดูงาน
สาขาวิชาทีป่ ฏิบัตงิ านอยู่ สนับสนุนให้ ไปศึกษาต่ อในระดับที่
สู งขึน้ ให้ ทุนการวิจยั ให้ ไปเป็ นวิทยากรในหน่ วยงานอื่น การ
แลกเปลีย่ นบุคลากร ส่ งเสริมการเขียนตารา สนับสนุนให้ เป็ น
สมาชิกขององค์ กรวิชาชีพทั้งในและต่ างประเทศ และอนุญาตให้
ไปปฏิบัติงานด้ านวิชาการโดยไม่ ถือว่ าเป็ นการลา หล่ านี้ เป็ นต้ น
3. การพัฒนาครู โดยหน่ วยงานกลาง อาจเป็ นหน่ วยงานต้ นสั งกัด
การบริหารบุคคล เช่ น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หรื อหน่ วยงานอื่นของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย เป็ น
ต้ น ทีม่ ีการพัฒนาทุกด้ านอย่ างต่ อเนื่อง และการพัฒนาโดยองค์ กร
วิชาชีพคือ คุรุสภา เพื่อให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานแห่ งวิชาชีพครู
และการถือครองใบอนุญาตการประกอบวิชาชีพครู อกี ด้ วย
นอกจากนั้นอาจมีการพัฒนาโดยองค์ กร ชมรม สมาคมหรื อกลุ่ม
วิชาชีพทีผ่ ู้ประกอบวิชาชีพรวมตัวกันเพื่อดาเนินการเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
หรื อหลายอย่ างเพื่อผลประโยชน์ แห่ งวิชาชีพครู ของพวกตนทั้งทีเ่ ป็ น
ทางการและไม่ เป็ นทางการ
ด้ วยการพัฒนาศักยภาพครู อย่ างต่ อเนื่องและเป็ น
ระบบด้ วยวิธีการดังกล่ าวจะสร้ างความเชื่ อมัน่ แก่
ผู้รับบริการคือ นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป
ว่ าครู ได้ ทาหน้ าทีข่ องตนเองอย่ างสมบูรณ์ และมีคุณภาพ
สมควรให้ เป็ นผู้นาในการพัฒนาคนของประเทศได้ ต่อไป