ภาคตะวันออกของไทยและกัมพูชา - Tanit Sorat V

Download Report

Transcript ภาคตะวันออกของไทยและกัมพูชา - Tanit Sorat V

ภาคตะวันออกของไทยและกัมพูชา
: ศักยภาพและโอกาสการพัฒนาสู่ เส้ นทางเศรษฐกิจเชื่อมโยง
ประเทศลุ่มแม่ นา้ โขง
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
ประธานสภาธุรกิจ GMS-ประเทศไทย
บรรยาย ณ โรงแรมอรัญเมอร์ เมด จังหวัดสระแก้ว
8 มิถุนายน 2555
1
กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มนา้ โขง
(Greater Mekong Sub-Region: GMS)
 โครงการพัฒนาความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภมู ิภาคลุ่มแม่น้ าโขง 6 ประเทศ
ประกอบด้วยประเทศไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีนตอนใต้ (ยูนนาน) หรื อ
รู ้จกั กันในชื่อ หกเหลี่ยมเศรษฐกิจ เริ่ มดาเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.2535
 มีพนื้ ทีร่ วมกันประมาณ 2,300,000 ตารางกิโลเมตร
 มีประชากรรวมกันประมาณ 250 ล้านคน
 ได้ รับความช่ วยเหลือทางวิชาการจากธนาคาร
เพื่อการพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB)
2
การพัฒนาพืน้ ที่ต้องเชื่อมโยงกับระเบียงเศรษฐกิจของ GMS
EAST-WEST-SOUTH ECONOMIC CORRIDOR CONNECTIVITY
สะพานแห่ งที่ 1 เส้ นทางR8
หนองคาย-เวียงจันทน์
สะพานแห่ งที่ 3 เส้ นทางR12
นครพนม-คาม่ วน
สะพานแห่ งที่ 2 เส้ นทางR9
มุกดาหาร-สะหวันนะเขต
ท่าเรือทวาย
ท่ าเรือแหลมฉบัง
ท่ าเรือโฮจิมนิ ต์
ท่ าเรือสีหนุวลิ ล์
3
เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ ของ GMS
1. ส่ งเสริมให้ เกิดการขยายตัวทางการค้ า การลงทุนอุตสาหกรรม การเกษตร
และบริการ เพือ่ ก่อ ให้ เกิดการจ้ างงานและยกระดับ การครองชีพของ
ประชาชนในพืน้ ที่
2. ส่ งเสริมและพัฒนาความร่ วมมือทางเทคโนโลยีและการศึกษาระหว่ างกัน
3. ให้ มีการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติที่ส่งเสริมกันอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
4. ส่ งเสริมและเพิม่ ขีดความสามารถและโอกาสทางเศรษฐกิจในเวทีการค้ าโลก
4
การเชื่อมโยงการพัฒนาพืน้ ทีแ่ ละเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคลุ่มแม่ นา้ โขง
Area Base Economic Development Connectivity
(Nay Pyi Taw : Decoration : Dec 2011)
ยุทธศาสตร์ ใหม่ ของข้ อตกลง 6 ประเทศลุ่มแม่ นา้ โขงระดับภูมภิ าค
Regional & International Shift 2012 - 2022
 มุ่งส่ งเสริมการขนส่ งทางถนนระหว่ างประเทศ GMS (Strengthening transport linkage)
 เพิม่ พูนการค้ าและความร่ วมมือระหว่ างประเทศ GMS บนผลประโยชน์ ร่วมกัน
(Increase trade and collaboration on the benefits of regional cooperation)
 การเชื่อมโยงเศรษฐกิจของอนุภูมภิ าคให้ มคี วามต่ อเนื่องสอดคล้ องกับเศรษฐกิจของโลก
(Regional and global economic trends connectivity)
 แผนการพัฒนาของประเทศสมาชิกจะต้ องส่ งเสริมให้ มกี ารบูรณาการ (National
development plan shift in regional integration)
5
GMS NEW STRATEGIC FRAMEWORK 2012-2022
ยุทธศาสตร์ 10 ปี ของ GMS ให้ ความสาคัญกับ…
Single Tourism ยุทธศาสตร์การส่งเสริ มการท่องเที่ยวร่ วมกัน
Sustainable Agriculture การสนับสนุนด้านการเกษตรที่ยงั่ ยืน
Enhancing Climate & Environmental Performance โครงการด้านการ
พัฒนาด้านสิ่ งแวดล้อมร่ วมกัน
 Data & Telecommunication Linkage การร่ วมมือในด้านโครงข่ายข้อมูลข่าวสาร
GMS Transport Freight Association การสนับสนุนให้มีสมาคมขนส่งของ GMS
Hydro Power & Bio Energy การพัฒนาด้านการพลังงานเพื่อส่งเสริ มขีด
ความสามารถในการแข่งขัน
6
Southern Economic Corridor (SEC)
ยุทธศาสตร์ ใหม่ GMS ให้ ความสาคัญกับการเชื่อมโยงเศรษฐกิจตอนใต้
การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานผ่านทางประตูเศรษฐกิจ (ไทย-กัมพูชาเวียดนาม)
การพัฒนาเมืองต้ นแบบชายแดน (Border Cities Model)
การอานวยความสะดวกทางการค้าการลงทุนข้ามแดน
การเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่ งขันของภาคเอกชน
การพัฒนาประสิ ทธิภาพของระบบการขนส่ งสิ นค้าและคนข้ามแดน
การปรับปรุงโครงข่ ายการขนส่ งเพือ่ ลดต้ นทุนและการส่ งมอบสิ นค้ าที่
ตรงเวลา
7
ยุทธศาสตร์
เชิงพื: นยุ้ ททีธศาสตร์
ต่ ้ องเชื่อมโยงกั
Area Base
เชิงพืน้ บทีระดั
่ บภูมิภาค
Local Think Change to Regional Think
8
SEC : การพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้ เส้ นทางหลัก
 Central Sub Corridor (เส้นทางหมายเลข 5) ระยะทาง 1,005 กิโลเมตร
กรุ งเทพ-อรัญประเทศ-ปอยเปต-พระตะบอง-โพธิสัตว์-พนมเปญ-สวาย
เรี ยง-โฮจิมินห์ –หวุง่ เตา
 Northern Sub Corridor(เส้นทางหมายเลข 13) เวียงจันทร์ – สะหวันนะ
เขต-ปักเซ- สะตึงเตร็ ง-ภูสาโรง (พนมเปญ) โฮจิมินห์ซิต้ ี
Southern Sub Corridor (เส้นทางหมายเลข 48) ระยะทาง 970 กิโลเมตร
กรุ งเทพ-ตราด-เกาะกง-กาปอด-ฮาเตียง(เวียดนาม)
 SEC Railway Development (การพัฒนาระบบราง) อรัญประเทศปอยเปต-พนมเปญ-โฮจิมินห์ซิต้ ี
9
การลงทุนในประเทศกัมพูชา
เส้ นทางเศรษฐกิจระเบียงตะวันออกเฉียงใต้
ทางหมายเลข R48 , R5 (ไทย-พนมเปญ-โฮจิมนิ ห์ )
นัยนิงห์
10
การพัฒนาเชื่อมโยงเศรษฐกิจตามระเบียงเหนือลงใต้
North to South Economic Development
จุดเชื่อมต่ อทางใต้ นครพนมเปญและท่ าเรือสี หนุวลิ ล์ ภายใต้ระเบียง
เศรษฐกิจ South Economic Corridor
แนวทางการพัฒนาของ SEC เชื่อมต่ อ Missing Link โครงสร้ างพืน้ ฐาน
ข้อปฏิบตั ิดา้ นอานวยความสะดวกทางการค้า
ข้ อตกลงสิ นค้ าข้ ามแดน (CBTA: Cross Border Transport
Agreement) ซึ่งมีการทาความตกลงกันแล้ว แต่ไม่ค่อยมีผลทางปฏิบตั ิ
เพราะแต่ละประเทศยังติดยึดกับกฎเกณฑ์ของประเทศตนเอง แต่ละด่าน
ของประเทศเดียวกันก็ยงั มีวิธีปฏิบตั ิที่ไม่เหมือนกัน
11
Sakeao-Banteay Meanchey-Siemreab Economics & Logistics Connectivity
การเชื่อมโยง SEC กับยุทธศาสตร์ ส่งเสริมจังหวัดสระแก้วเป็ นศูนย์ การค้ า
ชายแดนและโลจิสติกส์ ไทย-กัมพูชา
1. Co-production Based การจัดตั้งฐานการผลิตแบบร่ วมกันผิด (อรัญประเทศบันเตียเมียนเจย)
2. Border Special Economic ยุทธศาสตร์ส่งเสริ มการผลิตเฉพาะทาง
3. Co-Tourism ยุทธศาสตร์ส่งเสริ มการท่องเที่ยวร่ วม อรัญประเทศ-นครวัต
4. Wholesale and Retail Center ส่ งเสริ มยกระดับตลาดโรงเกลือเป็ นศูนย์
กระจายสิ นค้า ค้าส่ งและค้าปลีก
5. Truck Terminal Center ศูนย์ขนส่ งและเปลี่ยนถ่ายพาหนะ
6. Free Zone Center ศูนย์สินค้าปลอดอากร
12
Area Base Economic Positioning System
จะต้ องมีการกาหนดแผนปฏิบิตกิ าร (Action Plan) ยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจรายพืน้ ที่
 อ.อรัญประเทศ
ศูนย์กระจายสิ นค้าไทย-กัมพูชา (อรัญประเทศ)
ศูนย์ขนส่ งของระเบียงเศรษฐกิจใต้ (SEC)
ศูนย์ท่องเที่ยว-ตลาดโรงเกลือ-ปราสาทเขาน้อย-นครวัด (กัมพูชา)
 อ.ตาพระยา
แหล่งท่องเที่ยวทับทิมบูรพา อุทยานแห่งชาติตาพระยา-อ่างเก็บน้ าห้วยยาว-ศูนย์อญั มณี
 อ.คลองหาด
ศูนย์อุตสาหกรรมแปรรู ปสิ นค้าเกษตรแบบ Co-Production
 กิ่งอาเภอโคกสู ง
แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมประวัติศาสตร์ เช่นปราสาทสล็อกก็อกธม
13
แนวทางการพัฒนาจังหวัดสระแก้ ว
ต้ องมีการเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจใต้ (SEC)
การพัฒนาต้ องการบูรณาการยุทธศาสตร์ จังหวัดและระดับอาเภอเข้าไว้
ด้ วยกัน
การเชื่อมโยงด้านเศรษฐกิจต้องนาด้านอื่นๆเข้ามามีส่วนร่ วมของการ
พัฒนา เช่น ด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนา ประวัติศาสตร์ และภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์ประตูสู่อินโดจีน-ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ-เกษตรอุตสาหกรรม
การพัฒนาจังหวัดและศักยภาพคนจะมีแผนปฏิบตั ิการ (Action Plan) ไปสู่
ความเป็ นจริ งได้อย่างไร หากจังหวัดสระแก้วจะเป็ น Gate Pass หรื อ
ประตูสู่ปอยเปญและนครวัต
14
GMS Corridor Value Chain
Cross Border Trade
การค้าข้ามแดน
ส่งเสริมการค้าข้ามแดนใน
ประเทศลุ่มแม่น้าโขง
ลดข้อจากัดกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ
และสิ่ งอานวยความสะดวก
Harmonize & Standardize
Tourism
ส่งเสริมการท่องเที่ยวใน
อนุภมู ิ ภาค
เน้ นท่องเที่ยวและบริ การด้าน
สุขภาพซึ่งไทยมีจดุ แข็งหลายด้าน
Single Visa & Co-Tourism
Border Special
Economic Zone
ส่งเสริ มเขตเศรษฐกิ จพิ เศษ
ชายแดนสาหรับการลงทุนตาม
ตะเข็บชายแดน
ลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านที่มี
ทรัพยากรอุดมสมบูรณ์และพร้อม
เปิ ดรับการลงทุนจากต่ างชาติ
Co-Production & Contract
Farming
Immigrant
Labour
ส่งเสริมแรงงานต่างด้าว
แบบถูกต้องตามกฎหมาย
ประเทศไทยขาดแคลนแรงงานไร้
ทักษะในทุกสาขา
Immigrant Labour National
Agenda
Logistics
Dynamic
ส่งเสริ มการเคลื่อนย้าย-ขนส่ง
สิ นค้า-ผูโ้ ดยสาร (ICD/CY/Truck
Terminal/RDC)
ผลักดันข้อตกลงขนส่งข้าแดนให้
ระบบขนส่งผ่านประเทศสมาชิ กได้
อย่างเป็ นรูปธรรม
Single Stop Inspection &
CBTA
15
แนวพืน้ ทีก่ ารเชื่อมโยงเศรษฐกิจภายใต้ ประเทศในอนุภูมิภาคแม่ นา้ โขง
Road Upgrading of East-West Economic Corridor
・National Route 9 (Lao PDR): Exchange of Note (E/N) on grant assistance for route maintenance amounting 3.27 billion
yen was signed in Aug 2011
• National Route 11 (Lao PDR): Through Thailand’s assistance, construction was commenced in May 2011 for 82km in
total. Including 56km main route and 26km sub route
Road Upgrading of North-South Economic
Corridor
・Japan provides yen loans for the construction of North-South Highway (Ho Chi Minh City – Daw Giay, Danang – Quang
Ngai)
• Japan conducted detailed development survey for North-South Speed Railway
• 1st Thailand-Myanmar Friendship Bridge: Thailand has started rehabilitation since 2011
• 2nd Thailand-Myanmar Friendship Bridge: Site selection has been proceeding by Thailand and Myanmar
Lach Huyen Seaport and its access road
to Hanoi
Thilawa Industrial Zone
・ Located near Yangon with Myanmar’s keen interests
・ Japan and Viet Nam signed Exchange Note (E/N) and Loan
Agreement (L/A) in October 2011
Myanmar
• Funded by Viet Nam, Hanoi-Hai Phong Hignway is under
construction, targeting completion by the end of 2014
• In Feasibility Study (F/S) stage and to be developed by
2014
Vung Ang Seaport and its access road
to 3rd Mekong Bridge
Dawei Seaport and its access road
to Thai border
・Connecting Road from Vientiane to Viet Nam border was
constructed with international standard
・ Thailand and Myanmar have been jointly proceeding the
development
• Vung Ang Seaport has commenced its operation by joint
venture management company financed by Viet Nam and
Lao PDR
• the access road to Dawei was officially recognized as a
part of South Economic Corridor at ADB GMS Summit in
2011
Completed 3rd Mekong Bridge
Development of Thai-Myanmar border
・Supported by Thailand, the bridge was constructed and
start operation on 11th November 2011
・ Thailand has been promoting the development of ThaiMyanmar border including Kanchanaburi area
Neak Loeung Bridge
・ Funded by JICA, bridge construction was started in
February 2011, to be completed in March 2015.
Ranong Seaport and its access road
to Bangkok
・ Access road to Bangkok has been well-maintained by
Thailand
Cai Mep-Thi Vai Seaport and its
access road to HCMC
• Port capacity should be strengthened for further utilization
・ Port construction was commenced in October 2008, to be
completed in November 2013
Koh Kong Industrial Zone
・ Industrial Park in the border area between Thailand and
Cambodia
• Already developed and additional electricity supply is
under consideration
Road Upgrading of Southern Economic Corridor
・National Route 1 (Cambodia): Grant assistance for upgrading the route has been provided since 2005, and preparatory
survey on Phase 4 construction was conducted in Sept 2011
• National Route 5 (Cambodia): Preparatory survey on upgrading the road will be completed in Apr 2012
Projects under MJ-CI Action
Plan
Newly Emerging Development Plans
Regional Future Connectivity National Policy
นโยบายการพัฒนาการเชื่อมโยงภูมภิ าคของประเทศไทย
จากข้ อสรุปของนายกฯ ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ในการประชุ ม WEF
1. Economic Corridor Linkage เชื่อมโยงเศรษฐกิจใต้ ภายใต้การเชื่อมโยงภูมิภาคใน
อนาคตจะเป็ นนโยบายหลักของประเทศไทย
2. SEC Landbridge สร้างเครื อข่ายการเชื่อมโยงในภูมิภาคโดยการพัฒนาท่าเรื อทวาย
เข้ามาในโครงข่าย (SEC)
3. Regional Railway Linkage โครงข่ายรถไฟในภูมิภาคแม่น้ าโขง
4. Transshipment สนับสนุนการขนส่ งข้ามแดนในประเทศ GMS
5. Regional Gateway เปิ ดเส้นทางโลจิสติกส์และประตูเศรษฐกิจของประเทศอนุ
ภูมิภาคแม่น้ าโขง
6. AEC Connectivity การบูรณาการเชื่อมโยงอาเซี ยนและเอเซี ยตะวันออก
7. Regional Hub นโยบายไทยเป็ นศูนย์การการผลิตและขนส่ งของภูมิภาค
17
อุปสรรคและข้ อจากัดของการพัฒนาตามระเบียง SEC
1. Missing Link การเชื่อมโยงโครงสร้ างพืน้ ฐาน ขาดประสิ ทธิภาพ ทาให้ค่าใช้จ่ายใน
การขนส่ งสิ นค้าสู ง หรื อการขาดเครื อข่ายเชื่อมโยงด้านโลจิสติกส์ในบางพื้นที่
2. Standardize มาตรฐานสาหรับการขนส่ งสินค้ าและยานพาหนะข้ ามพรมแดนที่
แตกต่ าง
3. Lack of Corporation การขาดการประสานงานทีด่ รี ะหว่างหน่ วยงานของภาครัฐ
ในส่ วนกลางและส่ วนท้ องถิ่น ซึ่ งมีบทบาทในการขนส่ ง การค้า และการอานวยความ
สะดวกแก่การลงทุน
4. Lack of Knowledge and Skill ข้ อจากัดด้ านทักษะและองค์ ความรู้ของ
ทรัพยากรบุคคลโดยเฉพาะในบริ เวณจังหวัด
รอบนอกของการพัฒนาเศรษฐกิจ
ยกระดับเศรษฐกิจของตนเอง และชุมชน ทาให้ผลประโยชน์ไปตกอยูก่ บั กลุ่มคนใน
เมืองใหญ่ หรื อนายทุนท้องถิ่นไม่กี่คน
18
อุปสรรคและข้ อจากัดของการพัฒนาตามระเบียง SEC (ต่ อ)
6. Border Line Pinpoint ส่งผลทาให้ความร่ วมมือระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน
ด้วยกันปราศจากความราบรื่ น ส่ งผลกระทบต่อการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจ
7. Illegal Immigrate Labor การค้ามนุษย์โดยเฉพาะสตรี และเด็ก การค้าต่างๆ ที่
ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
8. Environmental Problem เช่น การตัดไม้ทาลายป่ า การสูญเสี ยความหลากหลาย
ทางชีวภาพ และการเสื่ อมสภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ
9. Income Gap การลดความเหลือ่ มลา้ ด้ านรายได้ เพิ่มโอกาสในการจ้างงาน เพิ่มพูน
รายได้ของประชากร และพัฒนาสภาพความเป็ นอยูข่ องผูค้ นตามแนวพื้นที่และใน
บริ เวณใกล้เคียงให้ดีข้ ึน
19
GMS+AEC :จุดเปลี่ยนประเทศไทย
โอกาสและความท้าทาย
AEC Country
to Countries
Free Trade
Logistics
Hub
GMS Border
Cities To
Border Cities
Finance
Free
neighbor
Investment
Free
Co-Tourism
Cross border Trade
Immigrant
Labour
Border Special
Economic Zone
20
www.tanitsorat.com
Skill Labour
Free
20
ทาไมต้ องไปลงทุนในประเทศเพือ่ นบ้ าน
ขีดความสามารถในการแข่ งขันด้ านต้ นทุนค่ าแรง
– พม่ า
33.4
USD/Month
– กัมพูชา
61
USD/Month
– เวียดนาม
55-60
USD/Month
– ลาว
81
USD/Month
– ไทย
290
USD/Month
สิ ทธิประโยชน์ ทางภาษีอากร (GSP: Generalized System of Preferences)
ลดข้ อจากัดเชิงพืน้ ที่ (ชุ มชน+สิ่ งแวดล้อม)
21
Off Shore Investment
• ศักยภาพของอุตสาหกรรมไทย
• การสนับสนุนจากภาครัฐ
• การสนับสนุนจากภาคการเงิน
โอกาส
Factory
Re-Location
22
Offshore Factory : Opportunity
อุตสาหกรรมไทยทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะเคลือ่ นย้ ายไปประเทศเพือ่ นบ้ าน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
Industry which use local content material.อุตสาหกรรมที่ใช้วตั ถุดิบประเภท
Local Content
Textile industry which use a lot of labor content. อุตสาหกรรมสิ่ งทอซึ่ งใช้
แรงงานมาก Labour Content
Spare part industry. อุตสาหกรรมประกอบชิ้นส่ วน
Electric and electronic equipment which use the benefit from value chain
connection with foreign country. เครื่ องใช้ไฟฟ้ า และอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งถือ
เป็ นการใช้ประโยชน์การเชื่อมโยง Value Chain กับต่างประเทศ
Household furniture industry which made of natural material.
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องเรื อน เฟอร์ นิเจอร์ ที่ใช้วสั ดุธรรมชาติ
transformed agriculture industry อุตสาหกรรมเกษตรแปรรู ป
23
ประเทศไทยต้ องกาหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาและ
เป้ าหมายให้ ชัดเจน
1. Area Base ยุทธศาสตร์ เชิงพืน้ ที่ ต้องสอดคล้องเชื่อมโยงกับระเบียงเศรษฐกิจ GMS
2. Product Base ยุทธศาสตร์ เชิงผลิตภัณฑ์ ต้องสร้าง Value Chain ให้กบั พื้นที่โดยกาหนดเป็ น
ยุทธศาสตร์ที่ชดั เจน เช่น ขนส่ งข้ามแดน,ศูนย์กระจายสิ นค้า,ศูนย์ขนถ่าย-เปลี่ยนยานพาหนะ ฯลฯ
3. Border Strategy ยุทธศาสตร์ ชายแดน ได้แก่ อุตสาหกรรมชายแดนแบบ การผลิต Co-Production
4. Action Plan ยุทธศาสตร์ จังหวัดต้ องมีแผนปฎิบตั ิการ และบูรณาการกับแนวทางการพัฒนาพื้นที่
ของภูมิและต้องมีแผนปฏิบตั ิการกาหนดกรอบระยะเวลา และตอบโยชน์ของพื้นที่และชุมชนได้
5. Provincial Cluster การกาหนดจังหวัดชายแดน ต้องกาหนดจากกลุ่มจังหวัดชายแดนที่มีพ้นื ที่
ติดต่อกับแต่ละประเทศเพื่อนบ้าน
6. Local to Regional Strategy ยกระดับจังหวัดวัดจากท้ องถิ่น เชื่อมโยงไปสู่ ภูมภิ าค และการบูร
ณาการระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ผูว้ า่ ราชการจังหวัดจะต้องเป็ นแกนของการพัฒนา โดยความ
ต่อเนื่องของผูท้ ี่เกี่ยวข้องมีส่วนสาคัญต่อการพัฒนา
24
Provincial & Gateway Corridor Connectivity
R3E
การพัฒนาพืน้ ที่ต้องเป็ นแบบ Cluster
จั ง หวั ด ชายแดน และเชื่ อ มโยงกั บ
ประตูเศรษฐกิจ
เวียงจันทน์
ย่างกุง้
R12
R9
ทวาย/มะริ ด
ปอยเปต
โฮจิมินห์
แหลมฉบัง
เกาะกง
ปี นัง
สะเดา/ปาดังเบซาร์
ตันจุงปาราปั ส
สิ งคโปร์
25
ประเทศไทย...พร้ อมแล้ วหรือยัง???
เมื่อพรมแดนเปิ ดภายใต้ GMS + AEC การค้ าจะเปลีย่ นจาก
Border to Border แต่ จะเป็ น City to City
Local จะลดบทบาท International จะมาแทนที่
Border Trade จะถูกแทนทีด่ ้ วย Global Trade
26
END
ข้ อมูลเพิม่ เติมที่ www.tanitsorat.com
27