คลิกที่นี่ - สาขา วิชา วิทยาการ สารสนเทศ และ เทคโนโลยี

Download Report

Transcript คลิกที่นี่ - สาขา วิชา วิทยาการ สารสนเทศ และ เทคโนโลยี

รหัสวิชา 7411101
ระเบียบวิธีการวิจยั และสถิติสาหรับ
วิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยี
(Research Methodologies and Statistics for
Information Science and Technology)
วิชญวัชญ์ เชาวนีรนาท
[email protected]
[email protected]
Mobile: 081-977-3337
ข้อตกลงในการเรียนร่วมกัน
ขอความร่วมมือ
• ปิ ดเสียงเครื่องมือสื่อสาร
• งดใช้ Social Media/e-mail ชัว่ คราว
ประเด็น/หัวข้อ
1. แนวคิด “วิธีการหาความรูข้ องมนุ ษย์”
2. หลักการวิจยั เบื้ องต้น: การวิจยั คืออะไร/คุณลักษณะของงานวิจยั /
วัตถุประสงค์และประโยชน์การวิจยั /ประเภทของงานวิจยั /ขั้นตอนการ
วิจยั
3. ขั้นตอนการทางานวิจยั หรือวิทยานิ พนธ์
4. กรอบการวิจยั ของสาขาวิชาฯ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ความรู/้ ความเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับวิธีการแสวงหาความรู ้
2. เพื่อให้ความรู/้ ความเข้าใจหลักการการวิจยั เบื้ องต้น รวมถึง
ขั้นตอนการทาวิจยั หรือวิทยานิ พนธ์
3. เพื่อให้ทราบถึงกรอบการวิจยั ของสาขาวิชาฯ ที่นักศึกษาสามารถ
ทาวิทยานิ พนธ์ได้
กิจกรรม #1
อภิปรายในประเด็น :
• ผลโพลล์กบั ผลการเลือกตัง้ ผูว้ ่า กทม. 56
ทาไมผลโพลล์เกือบทุกสานักถึงมีความคลาดเคลื่อน เกิดจากสาเหตุ
ใดได้บา้ งในแง่ของ
- ระเบียบวิธีวจิ ยั
- อื่นๆ
แนวคิด “วิธีการแสวงหาความรู ้ ”
บังเอิญ
ไม่ได้ต้งั ใจ
ขนบธรรมเนี ยมประเพณี
สืบทอดกันมา
วิธีนิรนัย
(Deductive Method)
ผูม้ ีอานาจ
วิธีอุปนัย
(Inductive Method)
ที่มาของ
ความรู ้
ความจริง
ผูอ้ าวุโส
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
(Scientific Method)
ประสบการณ์
ส่วนตัว
ลองผิด
ลองถูก
วิธีนิรนัย/อนุมาน(Deductive Method)
Aristotle ได้เสนอ “วิธีการแสวงหาความรูโ้ ดยอาศัยหลักเชิงเหตุผล
(Syllogistic Reasoning) เป็ นกระบวนการคิดค้นจากเรื่องทัว่ ๆ ไปสู่เรื่อง
เฉพาะเจาะจง
วิธีนิรนัย ประกอบด้วย
1. ข้อตั้งหลัก (Major Premise) เป็ นข้อตกลงที่กาหนดขึ้ น
2. ข้อตั้งรอง (Minor Premise) เป็ นเหตุเฉพาะกรณีที่ตอ้ งการทราบ
ความจริง และสัมพันธ์กบั ข้อตั้งหลัก
3. ข้อสรุป (Conclusion) เป็ นการสรุปจากการพิจารณาความสัมพันธ์ของ
ข้อตั้งหลักและข้อตั้งรอง
วิธีนิรนัย/อนุมาน(Deductive Method)
ขั้นตอน
ตัวอย่าง 1
ตัวอย่าง 2
1. ข้อตั้งหลัก (Major Premise)
สัตว์ปีกทุกตัวมี 2 ขา
ถ้านักเรียนมาโรงเรียนสายครูจะทาโทษ
2. ข้อตั้งรอง (Minor Premise)
ไก่เป็ นสัตว์ปีก
เด็กชายจุกมาโรงเรียนสาย
ไก่มี 2 ขา
เด็กชายจุกโดนครูทาโทษ
3. ข้อสรุป (Conclusion)
วิธีนิรนัย/อนุมาน(Deductive Method)
Top-down Approach
ทฤษฎี
สมมติฐาน
การสังเกต
การยืนยัน
วิธีนิรนัย/อนุมาน(Deductive Method)
Francis Bacon แย้งว่าวิธีนิรนัยของ Aristotle มีจดุ อ่อน/ข้อจากัด
• ไม่ช่วยให้คน้ พบองค์ความรูใ้ หม่
• ข้อสรุปจะมีความเที่ยงตรงเพียงใดย่อมขึ้ นอยูก่ บั ข้อตั้งหลักและข้อ
เท็จรอง ถ้าข้อเท็จจริงทั้งสองนี้ ขาดความเที่ยงตรง ก็อาจทาให้ขอ้ สรุป
ขาดความเที่ยงตรงได้
วิธีนิรนัย/อนุมาน(Deductive Method)
Francis Bacon แย้งว่าวิธีนิรนัยของ Aristotle มีจดุ อ่อน/ข้อจากัด
ขั้นตอน
ตัวอย่าง 3
ตัวอย่าง 4
1. ข้อตั้งหลัก (Major Premise)
ปลาทุกชนิดมีเกล็ด
นกทุกชนิดออกลูกเป็ นไข่
2. ข้อตั้งรอง (Minor Premise)
ปลาดุกเป็ นปลาชนิดหนึ่ง
เต่าออกลูกเป็ นไข่
ปลาดุกมีเกล็ด
เต่าจึงเป็ นนกชนิดหนึ่ง
3. ข้อสรุป (Conclusion)
วิธีอุปนัย/อุปมาน(Inductive Method)
Francis Bacon ได้เสนอวิธีอุปนัย/อุปมาน (Induction Method
/Baconian Induction) โดยรวบรวมข้อเท็จจริงย่อยๆ แล้วจึงสรุปรวบ
ไปหาส่วนข้อเท็จจริงใหญ่
วิธีอุปนัย มี 3 ขั้นตอน
• ขั้นตอนที่ 1 เก็บรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงย่อย
• ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่าง
ข้อเท็จจริงย่อยเหล่านั้น
• ขั้นตอนที่ 3 สรุปผล (Conclusion)
วิธีอุปนัย/อุปมาน(Inductive Method)
วิธีอุปนัยมี 3 แบบ
• อุปนัยอย่างสมบูรณ์ (Perfect Inductive) การเก็บรวบรวม
ข้อเท็จจริงย่อยๆ จากทุกหน่ วยของประชากร แล้วจึงสรุปรวม
• อุปนัยที่ไม่สมบูรณ์ (Imperfect Inductive) การเก็บรวบรวม
ข้อเท็จจริงย่อยๆ จากบางส่วนของหน่ วยประชากร แล้วจึงสรุปรวม
• Baconian Inductive* 3 ลักษณะ คือ
1) ส่วนที่มีลกั ษณะเหมือนกัน (Positive Instances)
2) ส่วนที่มีลกั ษณะแตกต่างกัน (Negative Instances)
3) ส่วนที่มีความแปรเปลี่ยนไป (Alternative Instances)
วิธีอุปนัย/อุปมาน(Inductive Method)
ขั้นตอน
1. เก็บข้อมูล
ตัวอย่าง 1
ไก่, นก, เป็ ด เป็ นสัตว์ปีก
ตัวอย่าง 2
คนเกิดมาต้องตาย
เห็นเป็ นเช่นนี้ ทุกครั้ง,
2. วิเคราะห์ขอ้ มูล
ทุกตัวมี 2 ขา
เห็นใครก็ตายกันทุกคน
3. ข้อสรุป (Conclusion)
สัตว์ปีกทุกตัวมี 2 ขา
ทุกคนเกิดมาแล้วต้องตาย
วิธีอุปนัย/อุปมาน(Inductive Method)
Bottom-up Approach
ทฤษฎี
สมมติฐานคร่าวๆ
ความมีแบบแผน
การสังเกต
กิจกรรม #2
ข้อสรุปนี้ถูกต้องหรือไม่/เพราะเหตุใด
ตัวอย่าง 1
 ข้อตัง้ หลัก : ผูห้ ญิงทุกคนชอบซื้อสินค้าที่ มีของแถม (ความรูเ้ ดิม
หรือประโยคอ้าง)
 ข้อตัง้ รอง : สร้อยระย้าเป็ นผูห้ ญิง (ความจริงย่อย)
 ข้อสรุป : สร้อยระย้าชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม
กิจกรรม #2
ตัวอย่าง 2
 แม่ชอบชื้อสินค้าที่ มีของแถม (ความจริงย่อย ประโยคอ้าง)
 พี่ สาวชอบซื้อสินค้าที่ มีของแถม (ความจริงย่อย/ประโยคอ้าง)
 เพื่ อนผูห้ ญิงชอบซื้อสินค้าที่ มีของแถม (ความจริงย่อย/ประโยค
อ้าง)
 ป้าชอบซื้อสินค้าที่ มีของแถม (ความจริงย่อย/ประโยคอ้าง)
 ข้อสรุป : ผูห้ ญิงชอบซื้อสินค้าที่ มีของแถม
แนวคิด “วิธีการแสวงหาความรู ้ ”
• นิรนัย (Deductive Method) : วิธีการแสวงหาความรูจ้ าก
ข้อเท็จจริงใหญ่ไปสู่ขอ้ เท็จจริงย่อย จากทัว่ ไปไปสู่เฉพาะ
ทฤษฎี  วิเคราะห์ได้องค์ความรูย้ อ่ ยๆ เป็ น Duductive
• อุปนัย (Inductive Method) : รวบรวมข้อเท็จจริงย่อยๆ แล้วจึงวิ
สรุปรวบไปหาส่วนข้อเท็จจริงใหญ่
รวบรวมองค์ความรูย้ อ่ ยๆ  ทฤษฎี เป็ น Inductive
แนวคิด “วิธีการแสวงหาความรู ้ ”
Charles Darwin เสนอให้บรู ณาการวิธีนิรนัยกับวิธีอุปนัย เพราะเห็น
ว่าทั้งสองวิธีจะมีประโยชน์ มีขอ้ ดี/ข้อด้อยแตกต่างกัน เรียกว่าวิธีนี้ว่า
“วิธีนิรนัย-อุปนัย (Deductive-Inductive Method)”
John Dewey ปรับปรุงให้ดีขนโดยใช้
ึ้
หลักการคิดแบบใคร่ครวญรอบคอบ (Reflective Thinking)”
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
วิธีนิรนัย-อุปนัย (Deductive-Inductive Method) 5 ขั้นตอน
1) ขั้นปั ญหา (Problem) ประเด็นข้อสงสัย หรือคาถามที่มีต่อ
สภาพการณ์/ปรากฎการณ์ และต้องการหาคาตอบว่าเกิดจากอะไร
2) ขั้นตัง้ สมมติฐาน(Hypothesis) การคาดคะเนคาตอบที่อาจ
เป็ นไปได้ โดยการศึกษาค้นคว้าและทบทวนความรูท้ ี่มีอยู่เดิมมา
ประกอบ
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
3) ขั้นรวบรวมข้อมูล (Gathering Data) การเก็บรวบรวมข้อมูลที่
เกี่ยวข้องมาอย่างเพียงพอและตรงกับสิ่งที่ตอ้ งการศึกษา
4) ขั้นวิเคราะห์ขอ้ มูล (Analysis) การนาข้อมูลที่รวบรวมมาทา
การวิเคราะห์เพื่อหาคาตอบ
5) ขั้นสรุป(Conclusion) การนาผลการวิเคราะห์ มาแปลผลและ
ตีความ เพื่อสรุปผลการวิจยั
การวิจยั คืออะไร
คาว่า การวิจยั มาจากคาว่า Research มีรากศัพท์มาจาก
Re+Search - Re แปลว่า ซ้ า
- Search แปลว่า ค้น
Research แปลว่า การค้นหาความรูค้ วามจริงที่คน้ แล้ว
ค้นอีก เพื่อให้ได้รบั ความรูค้ วามจริงที่น่าเชื่อถือ ถูกต้อง
การวิจยั คืออะไร
• Selltiz et al. (1967) “การพยายามตอบคาถามโดยวิธีที่เป็ น
วิทยาศาสตร์”
• Best (1977) “การวิเคราะห์และบันทึกการสังเกต ภายใต้การควบคุม
อย่างเป็ นระบบและเป็ นปรนัย ซึ่งอาจนาไปสู่การสร้างทฤษฎี หลักการ”
• ตามพจนานุกรม (2525) ”การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถว้ นตามหลัก
วิชา”
• จริยา เสถบุตร (2526) “การค้นคว้าความรูอ้ ย่างมีระบบและแบบแผน
เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการหรือเกิดประโยชน์แก่มนุ ษย์ โดยอาศัย
วิธีการที่เป็ นที่ยอมรับ ในแต่ละสาขาวิชา”
การวิจยั คืออะไร
บุญชม ศรีสะอาด (2545) กระบวนการค้นคว้าหาความรูท้ ี่เชื่อถือได้ มี
ลักษณะดังนี้
1. เป็ นกระบวนการที่มีระบบ
2. มีจุดมุง่ หมายที่แน่ นอนและชัดเจน
3. ดาเนิ นการศึกษาค้นคว้าอย่างรอบคอบ ไม่ลาเอียง
4. มีหลักเหตุผล
5. บันทึกและรายงานออกมาอย่างระมัดระวัง
การวิจยั หมายถึง กระบวนการค้นคว้าหาองค์ความรู ้
อย่างเป็ นระบบแบบแผน มีความน่าเชื่อถือ
และมีวัตถุประสงค์ท่ีชัดเจนแน่นอน
ลักษณะของการวิจยั
• เป็ นการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงอย่างครบถ้วนทุกแง่มุม
• เป็ นกระบวนการที่มีระบบระเบียบเป็ นขั้นตอน มีความ
น่ าเชื่อถือ ไม่ใช่เป็ นการลองผิดลองถูก หรือเป็ นการบังเอิญ
• มีจดุ มุ่งหมายแน่นอนชัดเจน ว่าต้องการค้นหาองค์ความรู/้
ความจริงใด อาจตั้งจุดหมายไว้เพียงอย่างเดียวหรือหลายอย่าง
ประกอบกัน
กิจกรรมที่ไม่ใช่ลกั ษณะของการวิจยั
ลักษณะบางประการที่ไม่ใช่การวิจยั ได้แก่
• การไปศึกษาบางเรื่องจากเอกสาร ตารา วารสาร แล้วนาเอา
ข้อความต่างๆ มาตัดต่อกัน หรือการรวบรวมข้อมูลนามาจัดเข้า
ตาราง
• การค้นพบ (Discovery) โดยบังเอิญ เช่น นัง่ คิดแล้วได้คาตอบ
โดยเกิดขึ้ นโดยไม่ได้ต้งั ใจ
• การทดลองปฏิบตั ิตามคู่มือที่แนะนาไว้
วัตถุประสงค์/ประโยชน์ของงานวิจยั
• ได้ความรูใ้ หม่ ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบตั ิ
• พิสจู น์หรือตรวจสอบความถูกต้องของกฏเกณฑ์ หลักการและทฤษฎีต่างๆ
เข้าใจสถานการณ์ ปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่างๆ
• ช่วยพยากรณ์ผลล่วงหน้าได้อย่างถูกต้อง
• ช่วยแก้ไขปั ญหาได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
• ช่วยในการวินิจฉัย ตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม
• ช่วยปรับปรุงการทางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้ น
• ช่วยปรับปรุงและพัฒนาสภาพความเป็ นอยู่ และวิธีดารงชีวิตได้ดียงิ่ ขึ้ น
• ช่วยกระตุน้ บุคคลให้มีเหตุผล รูจ้ กั คิดและค้นคว้าหาความรูอ้ ยูเ่ สมอ
ประเภทของงานวิจยั
• จาแนกตามระเบียบวิธีวิจยั
• จาแนกตามสาขาวิชา
• จาแนกตามประโยชน์ที่ได้รบั
• จาแนกตามวิธีการศึกษา
• จาแนกตามชนิดของแหล่งข้อมูล
• จาแนกตามเวลา
• จาแนกตามการควบคุมตัวแปร
ประเภทของงานวิจยั
จาแนกตามระเบียบวิธีวิจยั
• การวิจยั เชิงประวัตศิ าสตร์ (Historical Research) เพื่อค้นหา
ความจริงในอดีตที่ผ่านมา
• การวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive Research) เพื่อค้นหาความ
จริงในสภาพปั จจุบนั
• การวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Research) เพื่อค้นหาความรู ้
ความจริงที่ใช้วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์มาช่วย เพื่อพิสจู น์ ผลของตัวแปร
ที่ศึกษา มีการทดลองและควบคุมตัวแปรต่างๆ
ประเภทของงานวิจยั
จาแนกตามสาขาวิชา
• การวิจยั ทางสังคมศาสตร์ ได้แก่ การวิจยั เกี่ยวกับสังคม
การเมือง การปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ เป็ นต้น
• การวิจยั ทางมนุษยศาสตร์ ได้แก่ การวิจยั เกี่ยวกับคุณค่าของ
มนุ ษย์ เช่น ภาษาศาสตร์ ดนตรี ศาสนา โบราณคดี ปรัชญา เป็ นต้น
• การวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การวิจยั ทางชีววิทยา เคมี
ฟิ สิกส์ วิศวกรรม แพทย์ เป็ นต้น
ประเภทของงานวิจยั
จาแนกตามประโยชน์ที่ได้รบั
• การวิจยั บริสุทธิ์ (Pure Research) หรือเรียกว่าการวิจยั พื้ นฐาน
(Basic Research) เป็ นการวิจยั ที่มุง่ ค้นหาความรูค้ วามจริงที่เป็ น
หลักการ กฎเกณฑ์ ทฤษฎี เพื่อขยายพื้ นฐานความรูท้ างวิชาการให้
กว้างขวางออกไป
• การวิจยั ประยุกต์ (Applied Research) เพื่อนาผลไปใช้เพื่อ
ปรับปรุงสภาพของสังคม และความเป็ นอยูข่ องมนุ ษย์ให้ดีขึ้น ส่วนมาก
ได้แก่ การวิจยั ทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และการศึกษา เป็ นต้น
• การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร (Action Research) เพื่อนาผลมาใช้
แก้ไขปั ญหาในการปฏิบตั ิงาน
ประเภทของงานวิจยั
จาแนกตามวิธีการศึกษา
• การวิจยั เชิงปริมาณ (Quantitative Research) เน้นการเก็บ
ข้อมูลตัวเลขเป็ นหลักฐาน ในการวิเคราะห์มกั ใช้วธิ ีการทางสถิติเข้ามา
ช่วย
• การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เน้นการเก็บข้อมูล
ตามสภาพจริงตามธรรมชาติมากกว่าการเก็บตัวเลข ใช้การสังเกต จด
บันทึก โลกทัศน์ วิพากษ์วจิ ารณ์ ฯลฯ มุง่ วิเคราะห์เชิงเหตุผลมากกว่า
ตัวเลข
ประเภทของงานวิจยั
จาแนกตามชนิดของแหล่งข้อมูล
• การวิจยั เชิงประจักษ์ (Empirical Research) เป็ นการวิจยั ที่ โดย
เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิ และเน้นใช้วธิ ีการทางสถิติเข้ามา
ช่วยในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
• การวิจยั เชิงวิพากษ์วิจารณ์หรือเชิงไม่ประจักษ์ (Nonempirical
Research) โดยอาศัยข้อมูลแหล่งทุติยภูมิ หรือที่มีอยูแ่ ล้วในเอกสาร
หนังสือ ตารา ฯลฯ เน้นใช้การเทคนิ คการวิเคราะห์เนื้ อหา
ประเภทของงานวิจยั
จาแนกตามเวลา
• การวิจยั เชิงประวัตศิ าสตร์ (Historical Research) เพื่อค้นหา
ความจริงในอดีตที่ผ่านมา
• การวิจยั เชิงปั จจุบนั (Contemporaneous Research) เป็ นการ
วิจยั ที่เกี่ยวกับเรื่องราวในปั จจุบนั ผลที่เกิดขึ้ นในปั จจุบนั
• การวิจยั เชิงอนาคต (Futuristic Research) เพื่อวางแผนหรือ
คาดคะเนอนาคต เช่น การวิจยั ในโครงการอวกาศ เป็ นต้น
ประเภทของงานวิจยั
จาแนกตามการควบคุมตัวแปร
• การวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Research) เพื่อพิสจู น์
ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ โดยมีการจัดสถานการณ์การทดลอง และ
ควบคุมตัวแปรต่างๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง แล้ววัดผลตัวแปรตามออกมา
• การวิจยั เชิงกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research)
สามารถควบคุมตัวแปรอิสระเพียงบางตัว เนื่ องจากไม่สามารถสุ่ม
ตัวอย่างให้เท่ากันได้
• การวิจยั เชิงธรรมชาติ (Nationalistic Research) เพื่อค้นหา
ความจริงของสภาพการณ์ ใช้การสังเกตการณ์เป็ นสาคัญ และสรุปผล
โดยอาศัยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน อนุ มาน และอุปมาน
ขั้นตอนการวิจยั
1. การกาหนดหัวข้อเรื่องและปั ญหาการวิจยั (Topic/Research
Problem/Question)
2. การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง (Literature Review)
3. การกาหนดตัวแปร (Variables) วัตถุประสงค์ (Objective)
และสมมุตฐิ าน (Hypothesis)
4. การกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั (Research Framework)
5. การกาหนดนิยามศัพท์เฉพาะ การกาหนดขอบเขตการวิจยั
(ถ้ามี)
ขั้นตอนการวิจยั
6. การออกแบบการวิจยั (Research Design) ประกอบด้วย
• การกาหนดประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
• เครื่องมือการวิจยั
• การเก็บรวบรวมข้อมูล
• การวิเคราะห์ขอ้ มูล
7. การพัฒนาและทดสอบเครื่องมือ (Research Instrument)
8. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ขั้นตอนการวิจยั
9. การจัดการและวิเคราะห์ขอ้ มูล (Data Processing and
Analysis)
10. การแปลผล อภิปรายและสรุปผล (Interpretation,
Discussion and Conclusion of Results)
11. การเผยแพร่ผลงานวิจยั (Reports and Presentation)
กรอบงานวิจยั ของ IST
กรอบงานวิจยั ฯ ตามประกาศของสาขาฯ (ประกาศ 24 พ.ย. 55)
กรอบที่ 1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร เช่น การ
พัฒนาระบบสารสนเทศฯ
กรอบที่ 2 การบริหาร/จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กรอบที่ 3 อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การใช้ Management Information
System (MIS), Knowledge Management ในการบริหารจัดการองค์
ความรู ้ เช่น การศึกษาเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อบริหารจัดการองค์กร
ในระดับท้องถิ่น
กรอบงานวิจยั ของ IST
กรอบที่ 1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร (IT
Application)
• Information System Development , SDLC
• Database System Development
• Cloud Computing/Mobile Computing
• Geo-Information System: GIS
• Web/Search Engine/Social Network Application
• AI/Expert System
• Content Management System/Knowledge Base System
• IT/Web Interactive etc.
กรอบงานวิจยั ของ IST
กรอบที่ 2 การบริหาร/จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (IST/ICT
Management)
• e-Government/IT Government
• e-Office/OA/Mobile Office/Visualize Office
• Strategic ICT/ICT Planning
• ICT Outsourcing/ERP/MRP/HR-IS
• MIS/DSS/EIS
• IT Security/IT Accessibility
• ICT Competency/ICT Skill/e-Competence
• Performance Management System etc.
กรอบงานวิจยั ของ IST
กรอบที่ 3 อื่นๆ ที่เป็ น IST Issue/Trend
• Knowledge Management/Knowledge Sharing
• Communities of Practices: CoPs
• ICT KM Tool
• IT Literacy
• IT Behavior
• IT Culture
• ICT Usage/ICT Utilization/ICT Effective/ICT Efficiency
• e-Library, ห้องสมุดมีชีวติ , แหล่งเรียนรูม้ ีชีวติ ฯลฯ
etc.
กรอบงานวิจยั ของ IST
หัวข้อที่ไม่อนุญาตให้นกั ศึกษาทาวิจยั
• CAI คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
• WBI เวบช่วยสอน
• e-Learning บทเรียนออนไลด์
* เป็ นส่วนใดหนึ่ งส่วนหนึ่ งของวิทยานิ พนธ์ได้ โดยต้องใช้ระเบียบวิธี
วิจยั ในการศึกษา เช่น ศึกษาประสิทธิผลของ CAI ที่มีต่อสัมฤทธิ์ผล
ด้านการเรียน IT ของนักเรียน.... (ไม่อนุ ญาตให้สร้าง CAI อย่างเดียว)
etc.
กิจกรรม#3
ให้นักศึกษาเลือกกรอบการวิจยั ของสาขาฯ ที่สนใจมาอย่างน้อย 1
กรอบ และเขียนหัวข้อ/ประเด็น/ปั ญหาการวิจยั คร่าวๆ ที่อยากเสนอ
ทาวิทยานิ พนธ์
• กรอบที่ 1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร เช่น
การพัฒนาระบบสารสนเทศฯ
• กรอบที่ 2 การบริหาร/จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
• กรอบที่ 3 การใช้ Management Information System (MIS),
Knowledge Management ในการบริหารจัดการองค์ความรู ้ เช่น
การศึกษาเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อบริหารจัดการองค์กรในระดับ
ท้องถิ่น
ทบทวนประเด็น/หัวข้อ
1. แนวคิด “วิธีการหาความรูข้ องมนุ ษย์”
2. หลักการวิจยั : การวิจยั คืออะไร/คุณลักษณะของงานวิจยั /
วัตถุประสงค์และประโยชน์การวิจยั /ประเภทของงานวิจยั /ขั้นตอนการ
วิจยั /ขั้นตอนการทางานวิจยั หรือวิทยานิ พนธ์
3. กรอบการวิจยั ของสาขาวิชาฯ
ประเด็น/เนื้อหาในครั้งหน้า
1. การหาหัวข้อในการทาวิจยั : ปั ญหาการวิจยั การตั้งโจทย์และ
คาถามการวิจยั
2. การตั้งสมมติฐานการวิจยั
3. การเขียนวัตถุประสงค์การวิจยั
3. การประชากรและกลุ่มตัวอย่างการวิจยั