Lone tree in the countryside

Download Report

Transcript Lone tree in the countryside

การวิเคราะห์ผูเ้ รียน
Powerpoint Templates
Page 1
เป็ นการวิเคราะห์ลกั ษณะ
ผูเ้ รี ยนเพื่อที่ผสู ้ อนจะได้
ทราบวา่ ผูเ้ รี ยนมี ความ
พร้อมในการเรี ยนมากน้อย
เพียงใด
Powerpoint Templates
Page 2
ข้ อมูลทีค่ วรรู้เกีย่ วกับ
ผู้เรียนมีดงั ต่ อไปนี้
Powerpoint Templates
Page 3
1. ความรู้ เดิมของผู้เรียน
เพือ่ ทีจ่ ะทราบพืน้ ฐานความรู้ เดิมของผู้เรียนว่ ามี
ความรู้ เพียงใด เพือ่ ทีจ่ ะนาไปสู่ การจัดกระบวนการ
เรียนการสอน ให้ เหมาะสมแก่ ผ้ ูเรียน
Powerpoint Templates
Page 4
2. วิธีการเรียนร้ ู
เพือ่ ทีจ่ ะทราบว่ าผู้เรียน
เหมาะสมวิธีการเรียนร้ ู แบบใด
และผ้ ูสอน จะได้ จดั วิธีการเรียนร้ ู
ทีเ่ หมาะสมแก่ ผู้เรียน
Powerpoint Templates
Page 5
3. ความสนใจความถนัดของผ้ ูเรียน
เพือ่ ทีจ่ ะทราบว่ าผู้เรียนมีความ
สนใจเรื่องใดและถนัด อะไร เพือ่ ที่
ผ้ ูสอนจะได้ นาไปจัดการเรียนการสอน
ที่ส่งเสริมความถนัด และความสนใจ
ของผ้ ูเรียน
Powerpoint Templates
Page 6
4. บุคลิกภาพและลักษณะนิสัย
เพือ่ ทีจ่ ะทราบบุคลิกภาพและ
ลักษณะนิสัยของผ้ ูเรียน เพือ่ ทีผ่ ู้สอน
จะได้ นาไปจัดการเรียนการสอนที่จะ
พัฒนาบุคลิกภาพ และลักษณะนิสัย
ของผู้เรียน
Powerpoint Templates
Page 7
5. ภูมหิ ลังของครอบครัว
เพือ่ ทีจ่ ะทราบภูมหิ ลังของ
ครอบครัวของผ้ ูเรียนว่ า ทางบ้ านมี
ปัญหาครอบครัว หรือฐานะทางบ้ านเป็ น
อย่ างไร ผู้สอนจะได้ จดั กระบวนการ
เรียนการสอนทีเ่ หมาะสม ทีส่ ุ ดแก่ ผ้ ูเรียน
Powerpoint Templates
Page 8
6. ความพร้ อมและทักษะในการเรียนรู้ เรื่อง
ใหม่ เพือ่ ทีจ่ ะทราบความพร้ อมของ
ผู้เรียนว่ า พร้ อมทีจ่ ะรับ การเรียนรู้ อย่ างไร
และผู้เรียนมีทกั ษะในการเรียนรู้ เรื่องใหม่
แบบใดเพือ่ ทีผ่ ู้สอนจะได้ นาไปสู่ การจัด
กระบวนการเรียนรู้ ทีเ่ หมาะสมแก่ ผู้เรียน
Powerpoint Templates
Page 9
7. สุ ขภาพ
เพือ่ ทีจ่ ะรู้ เกีย่ วกับสุ ขภาพของ
ผู้เรียนว่ ามีปัญหาหรือไม่ ถ้ ามีผู้สอน
ควรจัดการเรียนการสอนแบบใดทีผ่ ู้เรียน
สามารถ เรียนรู้ ได้ ดที สี่ ุ ด
Powerpoint Templates
Page 10
ข้อมูลที่ควรรูเ้ กีย่ วกับผูเ้ รียน
•
•
•
•
•
•
•
ภูมิหลังทางครอบครัว
บุคลิกภาพและลักษณะนิสยั
สุขภาพ
ความสนใจ/ความถนัดของนักเรียน
วิธีการเรียนรู ้ (Learning style)
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน/ความรูเ้ ดิมของผูเ้ รียน
ความพร้อPowerpoint
มและทักษะพื
้ นฐานในการเรียนรูเ้ รือ่ งใหม
Templates
Page 11
การวางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล
กาหนดข้อมูลที่ตอ้ งการ
ข้อมูลสาคัญ: ข้อมูลเกีย่ วกับการเรียน
เพือ่ วางแผนพัฒนาผูเ้ รียน
นิยามลักษณะของข้อมูลเกีย่ วกับผูเ้ รียน
เพือ่ สร้างเครือ่ งมือเก็บข้อมูล
Powerpoint Templates
Page 12
กาหนดวิธีการเก็บข้อมูล
เงือ่ นไข:
- วัยของผูเ้ รียน
- ลักษณะของชุมชน
- ปริมาณผูเ้ รียน
- ทรัพยากรที่ใช้
กาหนดแหลงข้อมูล
- นักเรียน
- ผูป้ กครอง
- เพือ่ นนัPowerpoint
กเรียน Templates - ครู
Page 13
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
สังเกตพฤติกรรม
ศึกษารองรอยหลักฐานจากประวัตหิ รือบันทึก
ผลการเรียนที่ผานมา
สอบถาม/สัมภาษณ์นกั เรียน ผูป้ กครอง ครู
สารวจลักษณะบางประการที่ครูสนใจ
ทดสอบความรูพ้ ้ นื ฐาน/ความรอบรูใ้ นเรือ่ งที่จะเรียน
Powerpoint Templates
ฯลฯ
Page 14
การใช้ ประโยชน์ จากข้ อมูลผู้เรียน
Powerpoint Templates
Page 15
1.ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
เหมาะสมกับผู้เรียน
2.เตรียมผู้เรียนให้ มีความพร้ อมและ
พืน้ ฐานพอเพียงที่จะเรียนเรื่องใหม่
3.วางแผนพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียนที่
มีปัญหา (แผนการเรียนรู้ )
Powerpoint Templates
Page 16
กลุ่มผูเ้ รี ยน
กลุ่มเก่ง นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนดี เรี ยนรู้ได้เร็ ว เข้าใจ
บทเรี ยน ที่ครู ได้ทุกเรื่ อง
กลุ่มปานกลาง นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนต่ากว่ากลุม่ เก่งข้าใจเรื่ อง
ที่ครู สอนพอสมควร แต่ตอ้ งใช้เวลาเรี ยน หรื อทาแบบฝึ กหัดเพิ่ม
มากขึ้น
กลุ่มอ่อน นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนต่าสุ ด แม้ครู จะตั้งใจสอนก็
ไม่เข้าใจเนื้อหา สอบที่ไรก็ได้คะแนนต่าทุกครั้ง
Powerpoint Templates
Page 17
แนวคิดในการวิเคราะห์ ผู้เรียนทีน่ ิยม 5 แนวคิด
1. แอนโทนี เอฟ กราชา และไรช์แมน (1980) แบ่งผู้เรี ยนเน้ น
บุคลิภาพ มี 6 แบบ (อิสระ หลีกเลี่ยง ร่วมมือ พึง่ พา แข่งขัน
และมีสว่ นร่วม)
2. เดวิด เอ คอล์บ (1995) ใช้ ทฤษฎีการเรี ยนรู้เชิงประสบการณ์
แบ่งวิธีการเรี ยนรู้ตามแบบการคิด เป็ น 4 กลุม่ คือ แบบนัก
คิดทางเดียว ช่างคิด (หลายทาง) เจ้ าหลักการ และนักปฏิบตั ิ
Powerpoint Templates
Page 18
แนวคิดในการวิเคราะห์ ผู้เรียนทีน่ ิยม 5 แนวคิด
3. แฮรี ส และเบลล์ (1990) แบ่งวิธีการเรียนเน้ นลักษณะผู้เรียน มี 4
แบบ เน้ นกิจกรรม ผู้เรี ยนเรี ยนได้ ดี ร่วมกิจกรรมมากๆ
เน้ นการคิดไตร่ตรอง ผู้เรี ยนเรี ยนได้ ดี ใช้ เวลาการคิดไตร่ตรอง
ชอบอธิบายชัดเจน ไม่ชอบกิจกรรม
แสดงออก
เน้ นหลักการและเหตุผล ผู้เรี ยนเรี ยนได้ ดี มีเหตุมีผล มีหลักการ ทฤษฎี
ชอบคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ เรี ยนรู้ด้วยตนเอง
เน้ นการปฏิบตั ิจริง ผู้เรี ยนเรี ยนได้ ดี ลงฝึ กปฏิบตั ิจริง
Powerpoint Templates
Page 19
แนวคิดในการวิเคราะห์ ผู้เรียนทีน่ ิยม 5 แนวคิด
4. แนวคิดแบบพหุปัญญา ของ โฮเวร์ ด การ์ ดเนอร์ ได้ จาแนก
ความสามารถผู้เรี ยนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็ นทฤษฎี
พหุปัญญา 8 ด้ าน ถ้ าบุคคลได้ รับการพัฒนาที่เหมาะสม จะทาให้
คนเป็ นอัจฉริยะภาพได้
- ภาษา
- ตรรกะและคณิตศาสตร์ - มิติสมั พันธ์
- ร่างกายและความเคลื่อนไหว
- ดนตรี
- มนุษยสัมพันธ์ - เข้ าใจตนเอง
- เข้ าใจธรรมชาติ
Powerpoint Templates
Page 20
แนวคิดในการวิเคราะห์ ผู้เรียนทีน่ ิยม 5 แนวคิด
5. แบบลีลาการเรี ยนรู้ (learning Stye) แต่ละคนต่างกัน
มี 3 ลักษณะ
1) เรี ยนรู้ได้ ดีด้วยการเห็น (Visual modality)
2) เรี ยนรู้ได้ ดีด้วยการได้ ยิน (Auditory …)
3) เรี ยนรู้ได้ ดีจาการเคลื่อนไหว การสัมผัส (Kinesthetic..)
สรุป
(พ.ร.บ. 2542 กพร. สมศ. ต้ องวิเคราะห์ผ้ เู รี ยน นาไปสู่ “เน้ น
ผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ ---- การออกแบบการสอน (โดยปรับ
วิธีการสอนให้ สอดคล้ องกับผู้เรี ยน โดยปรากฏในแผนการสอน)
Powerpoint Templates
Page 21
ขอบเขตเนื้อหา
ข้อมูลที่ควรรูเ้ กีย่ วกับผูเ้ รียน
การใช้ประโยชน์จากข้อมูลของผูเ้ รียน
ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ
ผลผลิต/หลักฐาน
การวางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
่ใช้ Templates
เครือ่ งมือทีPowerpoint
Page 22
การวิเคราะห์ผูเ้ รียน
ทฤษฎีพหุปญ
ั ญา (Theory of Multiple Intelligences)
Powerpoint Templates
Page 23
Powerpoint Templates
Page 24
1. ปัญญาด้ านภาษา (Linguistic Intelligence)
คือ ความสามารถในการใช้ภาษารู ปแบบต่างๆ ตั้งแต่
ภาษาพื้นเมือง จนถึงภาษาอื่นๆ ด้วย สามารถรับรู ้ เข้าใจ
ภาษา และสามารถสื่ อภาษาให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้ตามที่
ต้องการ ผูท้ ี่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น ก็มกั เป็ น กวี นักเขียน
นักพูด นักหนังสื อพิมพ์ ครู ทนายความ หรื อนักการเมือง
Powerpoint Templates
Page 25
2. ปัญญาด้ านตรรกศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (LogicalMathematical Intelligence)
คือ ความสามารถในการคิดแบบมีเหตุและผล การคิดเชิง
นามธรรม การคิดคาดการณ์ และการคิดคานวณทาง
คณิ ตศาสตร์ ผูท้ ี่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น ก็มกั เป็ น นัก
บัญชี นักสถิติ นักคณิ ตศาสตร์ นักวิจยั นักวิทยาศาสตร์
นักเขียนโปรแกรม หรื อวิศวกร
Powerpoint Templates
Page 26
3. ปัญญาด้ านมิติสัมพันธ์ (Visual-Spatial Intelligence)
คือ ความสามารถในการรับรู ้ทางสายตาได้ดี สามารถมองเห็นพื้นที่
รู ปทรง ระยะทาง และตาแหน่ง อย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แล้วถ่ายทอด
แสดงออกอย่างกลมกลืน มีความไวต่อการรับรู ้ในเรื่ องทิศทาง สาหรับผู ้
ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น จะมีท้ งั สายวิทย์และสายศิลป์ สายวิทย์ ก็
มักเป็ น นักประดิษฐ์ วิศวกร ส่ วนสายศิลป์ ก็มกั เป็ นศิลปิ นในแขนง
ต่างๆ เช่น จิตรกร วาดรู ป ระบายสี เขียนการ์ตูน นักปั้น นักออกแบบ
ช่างภาพ หรื อสถาปนิก เป็ นต้น
Powerpoint Templates
Page 27
4. ปัญญาด้ านร่ างกายและการเคลือ่ นไหว (Bodily Kinesthetic
Intelligence)
คือ ความสามารถในการควบคุมและแสดงออกซึ่งความคิด ความรู ้สึก
โดยใช้อวัยวะส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย รวมถึงความสามารถในการใช้มือ
ประดิษฐ์ ความคล่องแคล่ว ความแข็งแรง ความรวดเร็ ว ความยืดหยุน่
ความประณี ต และความไวทางประสาทสัมผัส สาหรับผูท้ ี่มีปัญญาด้าน
นี้โดดเด่น มักจะเป็ นนักกีฬา หรื อไม่กศ็ ิลปิ นในแขนง นักแสดง นัก
ฟ้ อน นักเต้น นักบัลเล่ย ์ หรื อนักแสดงกายกรรม
Powerpoint Templates
Page 28
5. ปัญญาด้ านดนตรี (Musical Intelligence)
คือ ความสามารถในการซึมซับ และเข้าถึงสุ นทรี ยะทาง
ดนตรี ทั้งการได้ยนิ การรับรู ้ การจดจา และการแต่งเพลง
สามารถจดจาจังหวะ ทานอง และโครงสร้างทางดนตรี
ได้ดี และถ่ายทอดออกมาโดยการฮัมเพลง เคาะจังหวะ
เล่นดนตรี และร้องเพลง สาหรับผูท้ ี่มีปัญญาด้านนี้โดด
เด่น มักจะเป็ นนักดนตรี นักประพันธ์เพลง หรื อนักร้อง
Powerpoint Templates
Page 29
6. ปัญญาด้ านมนุษยสั มพันธ์ (Interpersonal
Intelligence)
คือ ความสามารถในการเข้าใจผูอ้ ื่น ทั้งด้านความรู ้สึกนึกคิด อารมณ์
และเจตนาที่ซ่อนเร้นอยูภ่ ายใน มีความไวในการสังเกต สี หน้า ท่าทาง
น้ าเสี ยง สามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม สร้างมิตรภาพได้ง่าย
เจรจาต่อรอง ลดความขัดแย้ง สามารถจูงใจผูอ้ ื่นได้ดี เป็ นปั ญญาด้านที่
จาเป็ นต้องมีอยูใ่ นทุกคน แต่สาหรับผูท้ ี่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะ
เป็ นครู บาอาจารย์ ผูใ้ ห้คาปรึ กษา นักการฑูต เซลแมน พนักงานขายตรง
พนักงานต้อนรับ ประชาสัมพันธ์ นักการเมือง หรื อนักธุรกิจ
Powerpoint Templates
Page 30
7. ปัญญาด้ านการเข้ าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence)
คือ ความสามารถในการรู ้จกั ตระหนักรู ้ในตนเอง สามารถเท่าทันตนเอง
ควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ และสถานการณ์ รู ้วา่
เมื่อไหร่ ควรเผชิญหน้า เมื่อไหร่ ควรหลีกเลี่ยง เมื่อไหร่ ตอ้ งขอความช่วยเหลือ
มองภาพตนเองตามความเป็ นจริ ง รู ้ถึงจุดอ่อน หรื อข้อบกพร่ องของตนเอง ใน
ขณะเดียวกันก็รู้วา่ ตนมีจุดแข็ง หรื อความสามารถในเรื่ องใด มีความรู ้เท่าทัน
อารมณ์ ความรู ้สึก ความคิด ความคาดหวัง ความปรารถนา และตัวตนของ
ตนเองอย่างแท้จริ ง เป็ นปั ญญาด้านที่จาเป็ นต้องมีอยูใ่ นทุกคนเช่นกัน เพือ่ ให้
สามารถดารงชีวติ อย่างมีคุณค่า และมีความสุ ข สาหรับผูท้ ี่มีปัญญาด้านนี้โดด
เด่น มักจะเป็ นนักคิด นักปรัชญา หรื อนักวิจยั
Powerpoint Templates
Page 31
8. ปัญญาด้ านธรรมชาติวทิ ยา (Naturalist Intelligence)
คือ ความสามารถในการรู ้จกั และเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง เข้าใจ
กฎเกณฑ์ ปรากฏการณ์ และการรังสรรค์ต่างๆ ของธรรมชาติ มีความไว
ในการสังเกต เพื่อคาดการณ์ความเป็ นไปของธรรมชาติ มีความสามารถ
ในการจัดจาแนก แยกแยะประเภทของสิ่ งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์
สาหรับผูท้ ี่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็ นนักธรณี วิทยา
นักวิทยาศาสตร์ นักวิจยั หรื อนักสารวจธรรมชาติ
Powerpoint Templates
Page 32
แนวคิดพื้นฐาน
• องค์ประกอบการเรี ยนการสอน
หลักสู ตร
(เนือ้ หา-จุดมุ่งหมาย)
การเรียนการสอน
การวัดและประเมิน
Powerpoint Templates
Page 33
วัตถุประสงค์คืออะไร ?
• วัตถุประสงค์ หมายถึง สิ่งที่ต้องการจะให้ เกิดผลในแต่ละ
กิจกรรม สามารถตรวจวัดพฤติกรรมได้
• เป็ นการกาหนดลักษณะพฤติกรรมของผู้เรี ยน เพื่อการเรียนการ
สอนและ การวัดและประเมิน
Powerpoint Templates
Page 34
ลักษณะและพฤติกรรมผูเ้ รี ยน
• เป็ นผลผลิตจากการเรี ยนการสอน เมื่อสิ ้นสุดการเรี ยน
• เป็ นพฤติกรรมที่แสดงออกที่สามารถสังเกตและวัดได้
– คากริยา บ่งบอกการกระทาที่แสดงออกเชิงรูปธรรม
3 2 1
เนื้อหา-กิจกรรม
จปส.นาทาง
Powerpoint Templates
จุดหมาย
ปลายทาง
Page 35
ลักษณะและพฤติกรรมผูเ้ รี ยน
• พุทธพิสยั
• ทักษะพิสยั
• เจตพิศยั
Powerpoint Templates
Page 36
พุทธพิสยั
Powerpoint Templates
Page 37
พุทธพิสยั
• ความสามารถทางด้ านสมรรถภาพทางสมองหรื อการใช้ ปั ญญาซึ่ ง
Bloom Taxonomyได้ จาแนกออกเป็ น 6 ระดับโดยเรี ยง ลาดับตาม
พฤติกรรมที่ซบั ซ้ อนน้ อยไปสูซ่ บั ซ้ อนมาก ดังนี ้
– ขันความรู
้
้ ( Knowledge) หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกของความสามารถ
ในการจดจาสิ่งต่าง ๆ
– ขันความเข้
้
าใจ (Comprehension) หมายถึง ความสามารถใน การใช้
ความคิดเพื่อศึกษาเนื ้อหาต่าง ๆ แล้ วตีความ แปลความและขยาย ความในสิ่งที่ได้
ศึกษามา
– ขันการน
้
าไปใช้ (Application) หมายถึง ความสามารถในการนาเอากฎเกณฑ์
และหลักการต่าง ๆ ที่ได้ ศกึ ษามาแล้ วไปใช้ แก้ ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ ๆ ได้
Powerpoint Templates
Page 38
พุทธพิสยั
– ขันการวิ
้
เคราะห์ (Analysis) หมายถึง ความสามารถในการจาแนกเรื่ องราว
ออก เป็ นส่วนย่อย ๆ หรื อองค์ประกอบย่อย ๆ ซึง่ มุง่ ทาให้ เข้ าใจเรื่ องราวต่าง ๆ
ได้ ชดั เจนยิ่งขึ ้น
– 5 ขันการสั
้
งเคราะห์ (Synthesis) หมายถึงความสามารถในการนาข้ อมูล
ต่างๆเพื่อสร้ างบูรณาการ รวบรวม หรื อออกแบบสิง่ ใหม่ ๆ หรื อเป็ นหลักการและ
ทฤษฎีใหม่ ๆ ที่แตกต่างไปจากเดิม
– 6 ขันการประเมิ
้
นผล (Evaluation) หมายถึง ความสามารถในการตัดสินใจ
เกี่ยวกับ คุณค่าของสิง่ ของหรื อวิธีการ โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี และ
ความสัมพันธ์ตา่ งๆ
Powerpoint Templates
Page 39
ทักษะพิสยั
Powerpoint Templates
Page 40
ทักษะพิสยั
• เป็ นการแบ่งระดับพฤติกรรมที่เกี่ยวกับทักษะความชานาญโดยมุ่งเน้ นทักษะ
ทางกล้ า มเนื อ้ ในรู ป ของการกระท าหรื อ การปฏิ บัติ ที่ เ กี่ ย วกับ ระบบการ
ท างานของอวั ย วะต่ า งๆของร่ า งกาย จ าแนกออกเป็ น 5 ระดับ ตาม
พฤติกรรมที่มีความชานาญน้ อยไปหามาก ดังนี ้
– ขั น้ กา รเลี ย นแบบ (Imitation) หมาย ถึ ง พ ฤติ ก ร รมที่ แ สดงถึ ง กา ร
ลอกเลียนแบบ หรื อการปฏิบตั ิการตามแบบอย่างที่มีต้นแบบ
– ขันการปฏิ
้
บตั ิได้ โดยลาพัง (Manipulation) หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออก
ถึงการกระทาได้ ด้วยตนเองโดยลาพัง
Powerpoint Templates
Page 41
ทักษะพิสยั
– ขันการปฏิ
้
บตั ิได้ ถกู ต้ องแม่นยา (Precision) หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออก
ถึงการปฏิบตั ิการอย่างถูกต้ องแม่นยา ซึง่ ผ่านการฝึ กฝนมาแล้ ว
– ขั น้ การปฏิ บั ติ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและผสมผสาน (Articulation) หมายถึ ง
พฤติกรรมที่ ปฏิบตั ิงานหลาย ๆ ขันตอนได้
้
อย่างต่อเนื่องด้ วยความถูกต้ อง
– ขั ้น ก า ร ป ฏิ บั ติ โ ด ย อั ต โ น มั ติ เ ป็ น ธ ร ร ม ช า ติ ( Naturalization)
หมายถึง พฤติกรรมที่ แสดงออกอย่างชัดเจนถึงความชานาญ ความถูกต้ องและ
เที่ยงตรง
Powerpoint Templates
Page 42
เจตพิสยั
Powerpoint Templates
Page 43
เจตพิสยั
•
วัตถุประสงค์ด้านเจตพิสยั เป็ นการเน้ นความสามารถทางด้ านความ
รู้สกึ อารมณ์ เจตคติตอ่ สิง่ ต่าง ๆ เช่นบุคคล อุปกรณ์และสิ่งแวดล้ อม
เป็ นต้ นเนื่องจากทางด้ านนีเ้ ป็ นเรื่ องของอารมณ์ และจิตใจ จึงเป็ น
เรื่ อ งยากในการก าหนดเพื่ อ ให้ เ ห็ น เป็ นพฤติ ก รรม อย่ า งไรก็ ต าม
Bloomได้ แบ่ง พฤติกรรมด้ านนี ้ออกเป็ น 5 ระดับด้ วยกัน ดังนี ้
– ขั น้ การยอมรั บ (Receiving) หมายถึ ง พฤติ ก รรมต่ า งๆที่ ผ้ ู เรี ย นมี
ความรู้ สึกต่อปรากฏการณหรื อสิ่งเราบางอย่างที่มีอยู่มีความพอใจที่จะ
ยอมรับปรากฏการณ์นนั ้ ๆ
Powerpoint Templates
Page 44
เจตพิสยั
– ขั น้ การตอบสนอง (Responding) หมายถึ ง พฤติ ก รรมที่ ผ้ ู เรี ย นมี
ปฏิกิริยาโต้ ตอบสิง่ แวดล้ อมที่รับเข้ ามา
– ขันการสร้
้
างค่านิยม (Valuing) หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงถึงความรู้ สกึ
หรื อสานึกในคุณค่านัน้ ๆ จนกลายเป็ นความเชื่อและเจตคติ
– ขัน้ ดาเนินการ (Organization) หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกถึ ง
เจตคติในทาง บวกต่อสิ่งต่าง ๆ จนถึงขันที
้ ่ยดึ ไว้ เป็ นหลักปฏิบตั ิ
– ขันแสดงลั
้
กษณะเฉพาะตนตามค่านิยม (Characterization by a
Value) หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความยึดมัน่ อย่างสม่า
Powerpoint Templates
Page 45
การวิเคราะห์ผูเ้ รียน
Powerpoint Templates
Page 46
การวิเคราะห์ผูเ้ รียน
Powerpoint Templates
Page 47
การวิเคราะห์ผูเ้ รียน
Powerpoint Templates
Page 48
การวิเคราะห์ผูเ้ รียน
Powerpoint Templates
Page 49
การวิเคราะห์ผูเ้ รียน
Powerpoint Templates
Page 50
การวิเคราะห์ผูเ้ รียน
Powerpoint Templates
Page 51
การวิเคราะห์ผูเ้ รียน
Powerpoint Templates
Page 52
การวิเคราะห์ผูเ้ รียน
Powerpoint Templates
Page 53