เชาว์ อารมณ์ (Emotional Intelligence) “E.Q.” เชาว์ อารมณ์ (Emotional Intelligence)  “E.Q.” คือ ชื่อย่ อของ Emotional Quotient หรือ เชาว์ อารมณ์ (Emotional Intelligence) ซึ่งหมายถึง ความสามารถใน การตระหนัก รู้ถึง ความรู้สึกของตนเองและผู้อนื่

Download Report

Transcript เชาว์ อารมณ์ (Emotional Intelligence) “E.Q.” เชาว์ อารมณ์ (Emotional Intelligence)  “E.Q.” คือ ชื่อย่ อของ Emotional Quotient หรือ เชาว์ อารมณ์ (Emotional Intelligence) ซึ่งหมายถึง ความสามารถใน การตระหนัก รู้ถึง ความรู้สึกของตนเองและผู้อนื่

เชาว์ อารมณ์
(Emotional Intelligence)
“E.Q.”
เชาว์ อารมณ์ (Emotional Intelligence)

“E.Q.” คือ ชื่อย่ อของ Emotional Quotient หรือ เชาว์ อารมณ์
(Emotional Intelligence) ซึ่งหมายถึง ความสามารถใน การตระหนัก
รู้ถึง ความรู้สึกของตนเองและผู้อนื่ เพือ่ การสร้ างแจงจูงใจในตนเอง
บริหารจัดการอารมณ์ ต่าง ๆ ได้
ประวัติความเป็ นมาของเชาวน์ อารมณ์

ปั จจุบนั มีการกล่าวถึง “ความฉลาดทางอารมณ์” หรื อ “เชาวน์อารมณ์” หรื อ “เชาวน์ปัญญาทาง
อารมณ์” กันมาก ที่เรี ยกชื่อเช่นนี้เพื่อให้สอดคล้องกับคาว่า “เชาวน์ปัญญา” ที่มีมาก่อน และต้องการ
ให้มีอยูค่ ่กู นั ก่อนการศึกษาเชาวน์ปัญญาจะเริ่ มไปจากความพยายามศึกษาเรื่ องของอารมณ์ พิจารณาคา
ว่า “อารมณ์” (Emotion) โกลแมน (Goleman, 1995) ได้ให้ความหมายของคาว่า “อารมณ์” ไว้วา่
อารมณ์เป็ นความรู ้สึกที่ประกอบขึ้นจากความคิดเฉพาะตน เป็ นภาวะทางจิตใจ และชีววิทยา เป็ นวินยั
โน้มเอียงที่จะแสดงออกตัวอย่างของอารมณ์ที่สาคัญ ๆ ได้แก่ โกรธ เศร้า กลัว ร่ าเริ ง ขยะแขยง
ประหลาดใจ ละอาย อดสู เป็ นต้น มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ได้แก่ ภาวะอารมณ์ที่แฝงในตนและคง
อยูน่ านกว่าอารมณ์ และคาว่า “นิสัยใจคอ” ที่เป็ นนิสัยของอารมณ์ที่มีอยูใ่ นตัวคน พร้อมที่จะแสดง
อารมณ์และภาวะอารมณ์ออกมาให้ปรากฏ เราจะสังเกตเห็นความผิดปกติของอารมณ์ของบุคคลได้ชดั
หากเบนออกไปจากนิสัยที่เป็ นแบบฉบับปกติของคนๆ นั้น ปี เตอร์ เซโลเวย์ และ เมเจอร์ (Peter
Salovey and Mayer) ได้ให้ความหมาย “อารมณ์” ว่าอารมณ์คือความสามารถของบุคคลในการเกิด
ความหวัน่ ไหวในการเกิดความคิด ความรู ้สึก และการเกิดภาวะของตนเองและผูอ้ ื่น
จากคากล่าวข้างต้นจะเห็นว่าอารมณ์น้ นั แปรเปลี่ยนได้ อารมณ์ทาให้คนเรามีปฏิกิริยา
ตอบสนองต่อสิ่ งเร้าที่เป็ นสิ่ งแวดล้อม อารมณ์จึงชี้นาพฤติกรรมของบุคคล
จากการศึกษาเรื่ องของ “อารมณ์” มาสู่ การศึกษาเรื่ องของ “เชาวน์อารมณ์” หรื อ EQ ในปั จจุบนั
ความหมายของเชาวน์ อารมณ์

คูเปอร์ และ ซาวอฟ (Cooper and Sawof, 1997) กล่าวว่า “เชาวน์อารมณ์ คือ
ความสามารถของบุคคลที่จะเข้าใจ และประยุกต์ใช้พลังการรู้จกั อารมณ์มาเป็ นมาตรฐาน
ของพลังข้อมูล การสร้างสายสัมพันธ์เพื่อโน้มนาผูอ้ ื่นได้”
โกลแมน (Goldman, 1998) ให้ความหมายของเชาวน์อารมณ์ไว้วา่ “เชาวน์
อารมณ์ หมายถึง ความสามารถในการตระหนักถึงความรู้สึกของตนเองและของผูอ้ ื่น
เพื่อการสร้างแรงจูงใจในตัวเอง บริ หารจัดการอารมณ์ต่าง ๆ ของตน และอารมณ์ที่เกิด
จากความสัมพันธ์ต่าง ๆได้”
ปี เตอร์ ซัลโลเวย์ และ จอร์น ดี เมเจอร์ (1990) “เชาวน์อารมณ์ คือ
ความสามารถของบุคคลในการที่จะไหวเท่าทันในความคิด ความรู้สึก และภาวะอารมณ์
ของตนเองและผูอ้ ื่นได้ นอกเหนือจากการติดตามกากับควบคุมได้แล้ว บุคคลรู้จกั จาแนก
แยกแยะและใช้ขอ้ มูลเหล่านี้ให้เป็ นประโยชน์เพื่อชี้นาความคิดและการกระทาของ
ตนเอง”
สรุ ป จากความหมายของเชาวน์ อารมณ์ ที่รวบรวมได้ สรุ ปได้ ว่า
เชาวน์ อารมณ์ หรือ EQ หมายถึง ความสามารถในการตระหนัก
รู้ ถงึ อารมณ์ ความรู้ สึกของตนเองและผู้อนื่ กากับ ติดตาม
ควบคุมอารมณ์ ความรู้ สึกของตนเอง และใช้ พลังจากการรู้ จกั
อารมณ์ ชี้นาความคิดการกระทา ตลอดจนแก้ไขความขัดแย้ งใน
ตนเองในชีวติ ประจาวัน ในการทางาน และในการมี
สั มพันธภาพกับผู้อนื่
องค์ ประกอบทีเ่ กีย่ วข้ องและสั มพันธ์ กบั เชาวน์ อารมณ์

มีผศู้ ึกษา EQ ไว้ในส่ วนนี้รวบรวมได้ใน 3 ลักษณะ คือ ศึกษาองค์ประกอบของ EQ
สิ่ งที่มีความสัมพันธ์กบั EQ และความสัมพันธ์ของ EQ กับ IQ พอสรุ ปได้ดงั นี้
1. EQ เป็ นผลมาจากการอบรมเลี้ยงดู ภาวะแวดล้อม วัฒนธรรม การเรี ยนรู ้ท้ งั ที่เป็ น
ทางการและไม่เป็ นทางการ ปรากฎให้เห็นได้ชดั จากบุคลิกภาพของคน ๆ นั้น
2. EQ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการทางสังคม อารมณ์ และสติปัญญาของบุคคล
3. EQ เป็ นผลมาจากการเรี ยนรู้ภายในตนและภายนอกตน
4. การปลูกฝังและการพัฒนา EQ ของแต่ละบุคคล เป็ นกระบวนการสร้างที่ตอ้ งใช้
เวลา อันเป็ นผลร่ วมของปฏิสมั พันธ์ใน 2 ลักษณะคือ ลักษณะการซึ มซับเข้าสู่ ตวั เองกับ
ลักษณะการแสดงออกกับสิ่ งแวดล้อมนอกตน
การหล่ อหลอมพัฒนา EQ เป็ นผลรวมทั้ง 4 ปัจจัย ได้ แก่
การกาหนดคุณค่าภายในตน
 การดูดซึ มซับและการปรับตัว
 การขัดเกลานิ สัยทางสังคม
 การแสดงออกให้ปรากฏ

การหล่ อหลอมพัฒนา EQ เป็ นผลรวมทั้ง 4 ปัจจัย ดังภาพ
(ดร.วีรวัฒน์ ปันนิตามัย, 2542 : 58 และ 142)
การศึกษาความสั มพันธ์ ของ EQ กับ IQ


1. ความสัมพันธ์ของ EQ กับ IQ ไม่แน่นอน ไม่มีหลักประกันว่าแต่ละคนที่มี IQ สูงเมื่อ
รวมกลุ่มกันแล้ว EQ ของกลุ่มจะสู งตามไปด้วย การที่บุคคลมี IQ สูงก็ไม่ได้เป็ น
หลักประกันว่า EQ ของกลุ่มจะสู งตามไปด้วย การที่แต่ละคน EQ สูงก็ไม่ได้ยนื ยันว่า EQ
ของกลุ่มจะสู งตามไปด้วย แต่โดยภาพรวม ผูท้ ี่มี EQ สูงมักมีแนวโน้มที่จะมี IQ สูงด้วย
เนื่องจากองค์ประกอบของ EQ จะช่วยเสริ มให้คนเรี ยนรู้ และแก้ปัญหาได้ดียงิ่ ขึ้น
2. มีการศึกษาที่แสดงลักษณะของบุคคลที่มีระดับ IQ และ EQ สูงเมื่อจาแนกตามเพศ IQ
และ EQ ถึงแม้จะมีความแตกต่างกัน แต่กเ็ ป็ นความสามารถที่จะช่วยส่ งเสริ มซึ่ งกันและกัน
ให้ทาหน้าที่ได้ดียงิ่ ขึ้น เช่น คนที่มีความฉลาดทางอารมณ์สูงมักจะมีภาวะอารมณ์ที่สงบ
ปลอดโปร่ ง ไม่ตึงเครี ยด จึงสามารถนาความสามารถทาง เชาวน์ปัญญามาใช้ได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ตรงกันข้ามคนที่มีความฉลาดทางเชาวน์ปัญญาสูงหากอยูใ่ นภาวะที่มี
ความเครี ยดมากและไม่สามารถจัดการกับความเครี ยดนั้นได้ ก็อาจนึกคิดอะไรไม่ออก ไม่
สามารถดึงความฉลาดทางเชาวน์ปัญญามาใช้ได้อย่างน่าเสี ยดาย
ตารางแสดงลักษณะของบุคคลทีม่ ีระดับ IQ และ EQ สู งเมือ่ จาแนกตามเพศ
ความสาคัญและประโยชน์ ของเชาวน์ อารมณ์

ในชีวติ ของคนเราล้วนต้องติดต่อสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่นอยูเ่ สมอ ฉะนั้นการรู้จกั และเข้าอกเข้าใจ
จึงเป็ นสิ่ งที่มีความสาคัญอย่างยิง่ ถ้าทุกคนมีความพร้อมที่จะเกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั กับผูอ้ ื่น
ได้เป็ นอย่างดี ความสุ ขคงมีอยูโ่ ดยทัว่ กัน ปั จจุบนั เรื่ องของ EQ คือเรื่ องที่ตอ้ งการให้ผคู้ น
ได้รู้จกั อารมณ์ของตนเองและอารมณ์ของผูอ้ ื่นเป็ นอย่างดี รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงจะมี
ประโยชน์อย่างยิง่ จะนาไปสู่ สนั ติสุข ทุกคนสบายอกสบายใจ นัน่ คือถ้าบุคคลสามารถ
บริ หารจัดการอารมณ์ของตนเองได้จะทาให้เกิด ความคิดอ่านที่ดี มีความคิดสร้างสรรค์
ไม่มีอุปสรรคด้านอารมณ์เข้ามาขัดขวางความคิดอ่านและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลมี
ความสามารถในการรักษาสมดุลด้านอารมณ์ จะทาให้เป็ นคนกล้าคิดกล้าทาภายใต้เหตุ
และผล มีการยืดหยุน่ ประนีประนอม บุคคลสามารถบริ หารจัดการในหน้าที่ได้ดว้ ยการมี
สัมพันธ์อนั ดี
ผู้ทมี่ ีเชาวน์ อารมณ์ สูงจะมีลกั ษณะดังนี้ คือ


1. มีวฒ
ุ ิภาวะทางอารมณ์ เนื่องจากได้ศึกษาตนเอง ศึกษาผูอ้ ื่น เข้าใจ
ความรู ้สึกของตนเองและผูอ้ ื่น ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตนเองและผูอ้ ื่น
จนเกิดความเข้าใจ ทาให้สามารถปรับตัวได้ ส่ งผลให้มีอารมณ์เป็ นที่พึง
ปรารถนา มีความสามารถแก้ไขปั ญหาที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ และปั ญหาอื่น ๆ
ที่ตอ้ งพบอยูใ่ นชีวติ ประจาวันได้
2. มีความสามารถในการติดต่อสื่ อสารกับผูอ้ ื่นได้เป็ นอย่างดี รู ้จกั กาลเทศะ
รู้จกั รับฟังผูอ้ ื่นและรับรู้อารมณ์ของผูอ้ ื่นด้วยความเข้าใจ ดาเนินชีวติ ไปอย่าง
สอดคล้องกับผูค้ นในสังคม
ผู้ทมี่ ีเชาวน์ อารมณ์ สูงจะมีลกั ษณะดังนี้ คือ


3. มีความสามารถปฏิบตั ิงานร่ วมกับผูอ้ ื่น รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ให้การ
ยอมรับผูอ้ ื่น ให้ความร่ วมมือเพื่อให้งานบรรลุเป้ าหมาย เสริ มสร้างความ
สามัคคี ลดความขัดแย้ง สามารถปรับตัว ให้เข้ากับสถานการณ์ในการทางาน
ได้
4. มีความสามารถด้านบริ หารจัดการ ช่วยส่ งเสริ มบุคลิกภาพของการเป็ นผูน้ า
ให้สามารถครองคน ครองตน และครองงานได้ ทาให้บรรลุเป้ าหมายและ
ประสบความสาเร็ จ ผูน้ าที่ดีคือผูน้ าที่มีเชาวน์อารมณ์สูง
ผู้ทมี่ ีเชาวน์ อารมณ์ สูงจะมีลกั ษณะดังนี้ คือ

5. มีความสามารถให้บริ การ ทาหน้าที่ในการให้บริ การทางานได้อย่างดี ในลักษณะ
ของการรับฟัง เข้าใจ และตอบสนองความต้องการของผูม้ ารับบริ การได้
สาหรับประโยชน์ของเชาวน์อารมณ์ สรุ ปได้ ในสิ่ งที่ผศู้ ึกษาจะได้รับประโยชน์ คือ
1) ตนเอง
2) การศึกษาเล่าเรี ยน
3) การทางาน
4) ความรักความอบอุ่นในครอบครัว
5) ผูท้ ี่ติดต่อสัมพันธ์ดว้ ยและคนอื่นในสังคม
ทฤษฎีเชาวน์ อารมณ์

1. การรู้ จักตนเอง (Knowing one’s emotions หรือ self – awareness) การ
รู ้จกั ความรู ้สึกของตนเองที่เกิดขึ้นทุกขณะจิต นี่เป็ นหลักสาคัญของเชาวน์
อารมณ์ การรู ้จกั ตนเองเป็ นการรู ้จกั ทั้งอารมณ์และความคิดที่เกิดจากอารมณ์
ด้วย อารมณ์คนนั้นมีท้ งั อารมณ์ดีและอารมณ์ร้าย อารมณ์ดีมีประโยชน์
อารมณ์ร้ายมีโทษมากมาย ถ้าคนไม่มีสติยงั คิดกับอารมณ์ร้ายที่มีอยูก่ จ็ ะเป็ น
อันตรายทุกเวลา ขั้นนี้จึงเป็ นความสามารถในการปรับปรุ งความเข้าใจและ
เหตุการณ์ของอารมณ์ตนเอง
ทฤษฎีเชาวน์ อารมณ์

2. การจัดการกับอารมณ์ (Managing emotions) เป็ นความสามารถในการ
ควบคุมอารมณ์ของตนเองให้เป็ นไปอย่างราบรื่ นเหมาะสม อารมณ์เป็ น
ความรู้สึกที่เปลี่ยนแปลง มีทิศทางคือไปทางบวกและไปทางลบ มีความรู้สึก
น้อย ๆ จนถึงความรู ้สึกที่รุนแรงมาก อารมณ์ทางบวก เช่น อารมณ์รักก็มี
อันตรายถ้ารักจนหน้ามืดตามัว อารมณ์ลบ เช่น ความเกลียดชังก็มีอนั ตรายทา
ให้เกิดการฆ่ากัน การจัดการควบคุมอารมณ์ให้มีเหตุผล มีการชัง่ ใจว่าอะไร
ควรทา อะไรไม่ควรทา สังคมและตนเองจะอยูไ่ ด้อย่างมีความสุ ข ทุกคนเป็ น
มิตรกัน ให้อภัยกัน ชนะความโกรธด้วยความไม่โกรธ
ทฤษฎีเชาวน์ อารมณ์

3. การการกระตุ้นตนเอง (Motivating oneself) คนเราจะทาอะไรต้องมี
เป้ าหมาย เป้ าหมายนั้นต้องมีแรงกระตุน้ แรงกระตุน้ ตนเองจัดการกับอารมณ์
ได้แก่ ความมานะ ความขยัน อดทน ความตั้งใจมัน่ ความกระตือรื อร้น ความ
พยายาม ความปลื้มปิ ติยนิ ดี ความคิดทางบวกและการทางานอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ฯลฯ การจะทาอะไรให้ได้รับความสาเร็ จจาเป็ นต้องควบคุม
อารมณ์ตนเองด้วยแรงกระตุน้ ดังกล่าว แรงกระตุน้ ตนเองที่ทาให้เอาชนะใจ
ตนเองได้ในทางที่ดีนนั่ เอง
ทฤษฎีเชาวน์ อารมณ์

4. เข้ าใจอารมณ์ คนอืน่ (Recognition emotions in others) ความสามารถใน
การเข้าใจความรู้สึกของคนอื่นเป็ นความสามารถที่จะทาให้มนุษย์อยูใ่ นสังคม
ได้ดี ควรศึกษาให้ได้วา่ คนรอบตัวเรามีอารมณ์ความรู ้สึกอย่างไร เราควร
วางแผนปฏิบตั ิต่อเขาอย่างไรเพื่อให้เกิดผลที่ดีงาม การแปลความหมายของ
อารมณ์และความรู ้สึกควรศึกษาให้เข้าใจถ่องแท้ อย่างไรก็ตามเราก็ควรมี
ความเมตตา เห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่นมองในแง่ดีไว้ก่อน เรี ยกว่าชนะความไม่ดีดว้ ย
ความดีแล้วก็จะ ทาให้อยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข ถ้าเราเข้าใจอารมณ์คน
อื่นแล้วการคบหากับคนอารมณ์อย่างไรก็ได้ ถ้าเรารู ้ ความต้องการของผูอ้ ื่น
รับฟังผูอ้ ื่นเป็ น
ทฤษฎีเชาวน์ อารมณ์

5. ความสั มพันธ์ กบั ผู้อนื่ (Handling relationships) เป็ นความสามารถที่จะทาให้
ตนเองอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความหมาย มนุษย์แต่ละคนปฏิสมั พันธ์กนั ไม่ทางใดก็ทาง
หนึ่งถ้าไม่มีศิลปะ ในการอยูร่ ่ วมกับคนอื่นแล้ว จะทาให้ชีวติ ไม่มีความสงบสุ ข ข้อนี้
อาศัยความสามารถที่จะทาให้เข้ากับคนอื่นได้ในข้อที่แล้วมาใช้กจ็ ะทาให้เป็ นผูม้ ี
มนุษยสัมพันธ์ดี พฤติกรรมของคนที่มีความสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่นเก่งต้องมีความเมตตา
กรุ ณา เห็นอกเห็นใจ รู้จกั การให้อภัย มองในแง่ดี ควบคุมอารมณ์ตนเองได้ มีความ
เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ เห็นคุณค่าของคนอื่น เป็ นต้น ความสามารถด้านสัมพันธ์เป็ น
ความสามารถ ด้านวิเคราะห์วา่ อะไรมีความสาคัญที่สุด สิ่ งเหล่านี้เกี่ยวข้อกันอย่างไร
และโดยหลักการแล้วควรเป็ นอย่างไร ดังนั้นถ้ามีปัญหาถกเถียงกันในกลุ่มต้องสามารถ
หาสาเหตุแก้ไขได้มีความเป็ นเพื่อนสูง เข้ากลุ่มเพื่อนได้ ใคร ๆ ก็รัก มีความยุติธรรม
และเป็ นประชาธิปไตย
การพัฒนาทักษะทางอารมณ์

แบบทดสอบเพือ่ การพัฒนา EQ
กรมสุ ขภาพจิต เห็นความสาคัญของความฉลาดทางอารมณ์ จึง
สร้ างแบบประเมินสาหรับบุคคลทัว่ ไปออกเผยแพร่ ผู้สนใจสามารถประเมิน
ตนเองได้ ผลทีเ่ ป็ นการประเมินโดยสั งเขป คะแนนทีไ่ ด้ ต่ากว่ าช่ วงคะแนน
ปกติไม่ ได้ หมายความว่ าผู้ทาแบบประเมินจะมีความผิดปกติในด้ านนั้น
เพราะด้ านต่ าง ๆ เหล่านีเ้ ป็ นสิ่ งที่มกี ารพัฒนาและเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา
ดังนั้นคะแนนทีไ่ ด้ ต่าจึงเป็ นเพียงข้ อเตือนใจให้ หาแนวในการพัฒนาความ
ฉลาดทางอารมณ์ ในด้ านนั้น ๆ ให้ มากยิง่ ขึน้
การพัฒนาทักษะทางอารมณ์

แบบทดสอบประเมินความสามารถบริหารอารมณ์ โดยใช้ หลัก S M I L E (รอยยิม้ แบบไทย)
การบริหารอามรณ์ ด้วย “รอยยิม้ แบบไทย” ใช้ หลัก S M I L E
ความเครียดในสั งคมยุคโลกาภิวฒ
ั น์ เกิดจากการที่เราวิง่ ตามกระแสการเปลีย่ นแปลงที่จู่
โจมเข้ ามาหาเราทุกคนอย่ างรวดเร็ว เราไม่ มีเวลาได้ ต้งั ตัว เรามีความสุ ขที่แท้ จริงหรือไม่
และความเป็ นไทยของเรายังคงมีอยู่มากน้ อยแค่ ไหน ให้ หยุดคิดและถามตนเองด้ วย
คาถาม 5 คาถาม คือเรามี S-M-I-L-E อยู่ในตัวเราเองหรือไม่
S – Self awareness รู้ จักอารมณ์ ของตนเอง
M – Manage emotion ความสามารถในการควบคุมอารมณ์ ของตนเอง
I - Innovate inspiration ความสามารถในการสร้ างสรรค์ อารมณ์ ของตนเอง
L – Listen with head and heart ความสามารถในการเข้ าอกเข้ าใจในอารมณ์ ของผู้อนื่
E – Enhance social skill ความสามารถในการประสานสั มพันธ์ กบั ผู้อนื่ ตลอดจน
สร้ างสั งคมที่เกือ้ กูล
การพัฒนาทักษะทางอารมณ์
วิธีการพัฒนา EQ 5 ประการ ของโกลแมน
1. ถูกครอบงา หมายถึง การที่เราสามารถฝื นทนต่อสภาพอารมณ์นนั่ ๆ ได้ จึงแสดงพฤติกรรม
ไปตามสภาพอารมณ์ดงั กล่าว เช่น เมื่อโมโหอาจจะขว้างปาข้าวของหรื อ ส่ งเสี ยงดัง
2. ไม่ยนิ ดียนิ ร้าย หมายถึง การไม่ยนิ ดียนิ ร้ายต่ออารมณ์ที่เกิดขึ้น หรื อทาเป็ นละเลยไม่สนใจเพื่อ
บรรเทาการแสดงอารมณ์ เช่น ทาเป็ นไม่ใส่ ใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทั้งที่จริ ง ๆ ก็รู้สึกโกรธ
3. รู ้เท่าทัน หมายถึง การรู ้เท่าทันต่ออารมณ์ที่เกิดขึ้น มีสติรู้วา่ ควรจะทาอย่างไรจึงจะเหมาะสม
ที่สุดในขณะที่มีอารมณ์น้ นั ๆ เช่น โกรธก็รู้วา่ โกรธ แต่กส็ ามารถควบคุมความโกรธนั้นได้
ระงับอารมณ์โกรธได้ และหาวิธีจดั การแก้ไขได้อย่างเหมาะสม โดยการทบทวนอารมณ์ดว้ ย
ใจที่เป็ นกลาง คิดว่าเหมาะสมหรื อไม่ต่อการแสดงอารมณ์ในลักษณะนั้น ๆ มีสติรู้ตวั อยู่
เสมอว่าความคิดและความรู ้สึกนั้นมีผลอย่างไรกับการแสดงออกของเรา

การพัฒนาทักษะทางอารมณ์

การจัดการกับอารมณ์ ตนเองได้ หมายถึงความสามารถในการควบคุมอารมณ์ และสามารถแสดง
ออกไปได้ อย่ างเหมาะสมกับกาลเทศะ แต่ การทีจ่ ะจัดการกับอารมณ์ ได้ อย่ างเหมาะสมหรื อไม่
เพียงใดนั้น ก็ขนึ้ อยู่กบั ความสามารถในการควบคุมอารมณ์ ดังต่ อไปนี้
ก. ทบทวน ว่ ามีอะไรบ้ างทีเ่ ราทาลงไปเพือ่ ตอบสนองอารมณ์ ที่เกิดขึน้ และพิจารณาว่ าผลที่
ตามมาเป็ นอย่ างไร
ข. เตรียมการในการแสดงอารมณ์ โดยฝึ กสั่ งตัวเองว่ าจะทาอะไร และจะไม่ ทาอะไร
ค. ฝึ กรับรู้ในสิ่ งทีเ่ กิดขึน้ หรือทีเ่ ราต้ องเกีย่ วข้ องในด้ านดี ทาอารมณ์ ให้ แจ่ มใส ไม่ เศร้ าหมอง
ง. สร้ างโอกาสจากอุปสรรคหรือหาประโยชน์ จากปัญหา เปลีย่ นมุมมองโดยการคิดว่ า
เหตุการณ์ ทเี่ กิดขึน้ คือความท้ าทายทีจ่ ะทาให้ เราพัฒนายิง่ ขึน้
จ. ฝึ กผ่ อนคลายความเครียด โดยเลือกวิธีทเี่ หมาะสมกับตนเอง เช่ น ออกกาลังกาย นั่งสมาธิ
เดินจงกรม เล่ นดนตรี และปลูกต้ นไม้ เป็ นต้ น
การพัฒนาทักษะทางอารมณ์

สร้ างแรงจูงใจให้ ตนเอง การมองหาแง่ดีของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จะช่วยให้เรา
เชื่อมัน่ ว่าสามารถเผชิญกับเหตุการณ์น้ นั ได้ และทาให้เกิดกาลังใจที่กา้ วไปสู่เป้ าหมายที่
วางไว้ดงั ต่อไปนี้
ก. ทบทวนและจัดอันดับสิ่ งสาคัญในชีวติ โดยให้จดั อันดับ ความต้องการ ความอยาก
ได้ ความอยากมี และความอยากเป็ นทั้งหลาย แล้วพิจารณาว่าการที่เราจะบรรลุสิ่งที่
ต้องการนั้น เรื่ องไหนที่พอเป็ นไปได้ เรื่ องไหนที่ไม่น่าจะเป็ นไปได้
ข. ตั้งเป้ าหมายให้ชดั เจนเมื่อได้ความต้องการที่มีความเป็ นไปได้แล้ว เพื่อวางขั้นตอน
การปฏิบตั ิที่จะมุ่งสู่จุดมุ่งหมายนั้น ๆ
ค. มุ่งมัน่ ต่อเป้ าหมาย ในการปฏิบตั ิเพื่อบรรลุถึงความฝัน ความต้องการของตนเอง
และต้องระวังอย่าให้มีเหตุการณ์ใดมาทาให้เราเกิดความไขว้เขวออกนอกแนวทางที่ต้ งั
ไว้
การพัฒนาทักษะทางอารมณ์

สร้ างแรงจูงใจให้ ตนเอง
ง. ลดความสมบูรณ์แบบ ต้องทาใจยอมรับให้ได้วา่ สิ่ งที่เราตั้งใจไว้อาจจะมีความผิดพลาด
เกิดขึ้นได้ หรื อไม่เป็ นไปดังที่ใจเราคาดหวัง 100 เปอร์เซ็นต์ การทาใจยอมรับ ความบกพร่ องจะ
ทาให้เราไม่เครี ยด ไม่ทุกข์ ไม่ผดิ หวังมากจนเกินไป
จ. ฝึ กมองหาประโยชน์จากอุปสรรค เพื่อสร้างความรู้สึกดี ๆ ที่จะเป็ นพลังให้เกิดสิ่ งดี ๆ อื่น
ๆ ต่อไป
ฉ. ฝึ กสร้างเจตคติที่ดี หามุมมองที่ดีในเรื่ องที่เราไม่พอใจ (แต่ไม่สามารถแก้ไขหรื อ
เปลี่ยนแปลงได้) มองปั ญหาให้เป็ นความท้าทาย ที่ทาให้เราได้เรี ยนรู ้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อสร้างพลัง
และแรงจูงใจให้ผา่ นพ้นปัญหานั้น ๆ ไปได้
ช. หมัน่ สร้างความหมายในชีวติ ด้วยการรู้สึกดีต่อตัวเอง นึกถึงสิ่ งที่สร้างความภูมิใจ และ
พยายามใช้ความสามารถที่มีประโยชน์ท้งั แก่ตนเองและผูอ้ ื่นแม้วา่ จะเป็ นเรื่ องเล็ก ๆ น้อย ๆ ให้
กาลังใจตนเอง คิดอยูเ่ สมอว่าเราทาได้ เราจะทาและลงมือทา
การพัฒนาทักษะทางอารมณ์

รู้อารมณ์ ผ้ อู ื่น การรู้และเข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของผูอ้ ื่น และสามารถแสดงอารมณ์ของตนเอง
ตอบสนองได้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะกับคนที่เราเกี่ยวข้องสัมพันธ์ดว้ ย จะช่วยได้เราสามารถ
อยูร่ ่ วมหรื อทางานด้วยกันอย่างดี และมีความสุ ขมากขึ้น ดังต่อไปนี้
ก. ให้ความสนใจในการแสดงออกของผูอ้ ื่น โดยการสังเกตสี หน้า แววตา ท่าทาง การพูด
น้ าเสี ยง ตลอดจนการแสดงออกอื่น ๆ
ข. อ่านอารมณ์ความรู้สึกของผูอ้ ื่น จากสิ่ งที่สงั เกตเห็นว่าเขากาลังมีความรู้สึกใดโดยอาจ
ตรวจสอบดูวา่ เขารู้สึกอย่างนั้นจริ งหรื อไม่ดว้ ยการถาม แต่วธิ ีน้ ีควรทาในสถานการณ์ที่
เหมาะสม เพราะมิฉะนั้น อาจดูเป็ นการวุน่ วาย ก้าวก่ายเรื่ องของผูอ้ ื่นได้
ค. ทาความเข้าใจอารมณ์และความรู้สึกของบุคคล เรี ยกว่า เอาใจเขามาใส่ ใจเรา คือถ้าเรา
เป็ นเขา เราจะรู้สึกอย่างไร จากสภาพที่เขาเผชิญอยู่
ง. แสดงความเห็นอกเห็นใจ ให้กาลังใจ เมื่อผูอ้ ื่นกาลังมีปัญหา
การพัฒนาทักษะทางอารมณ์

รักษาความสัมพันธ์ ทดี่ ตี ่ อกัน การมีความรู ้สึกที่ต่อกัน จะช่วยลดความขัดแย้งและช่วยให้การอยู่
ร่ วมกันเป็ นไปอย่างราบรื่ นพร้อมที่จะสร้างสรรค์ผลงานที่เป็ นประโยชน์ ดังต่อไปนี้
ก. ฝึ กการสร้างความรู้สึกที่ดีต่อผูอ้ ื่น ด้วยการเข้าใจ เห็นใจความรู ้สึกของผูอ้ ื่น
ข. ฝึ กการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิภาพ ด้วยการสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ฝึ กการเป็ นผูพ้ ดู และฟัง
ที่ดี และไม่ลืมที่จะใส่ ใจในความรู ้สึกของผูฟ้ ั งด้วย
ค. ฝึ กแสดงการมีน้ าใจ เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ รู้จกั การให้และรับ
ง. ฝึ กการให้เกียรติผอู ้ ื่นอย่างจริ งใจ รู ้จกั ยอมรับในความสามารถของผูอ้ ื่น
จ. ฝึ กการแสดงความชื่นชม ให้กาลังใจซึ่งกันและกันตามวาระที่เหมาะสม
การพัฒนาทักษะทางอารมณ์

การเพิม่ EQ ด้ วยการฝึ กสมาธิ
การฝึกสมาธิโดยการหลับตาสบาย สารวจจิต นับลมหายใจ ทั้งหายใจ
เข้าและหายใจออก จนจิตสงบเข้าที่แล้วอาจหยุดนับ เมื่อมีประสบการณ์
พอสมควรแล้วจะรู ้สึกว่าจิตนั้นสะอาด สงบเย็น ผ่องใส ไม่หงุดหงิด ไม่
หลับไหล ไม่วิตกกังวล เมื่อจิตสงบเย็น ให้นอ้ มจิตเพื่อพิจารณาเรื่ องราวต่าง
ๆ ต่อไป ถ้ามีปัญหาชีวิต หรื อปัญหาใด ๆ ก็จงน้อมจิตเข้าไปคิดพิจารณาด้วย
ความสุ ขมุ รอบคอบ ด้วยความมีสติ การฝึ กสมาธิจึงเป็ นการมีปัญญารู ้เท่าทัน
ตามเป็ นจริ งในสิ่ งที่ทาให้เราเป็ นทุกข์ กาหนดจิตให้สงบเสี ยก่อน จากนั้นเอา
จิตที่สงบนั้นมาพิจารณาทบทวนปัญหาที่ทาให้เกิดความรู ้สึกเป็ นทุกข์
สรุป
ในอดีตผูค้ นจะให้ความสาคัญและชื่นชมกับคนเก่ง คนฉลาด หรื อคนที่มี IQ สูงต่อมาภายหลัง
ได้ยอมรับกันแล้วว่า IQ แต่เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะทาให้คนเราประสบความสาเร็จใน
ชีวติ ได้ทุกด้าน ในชีวติ จริ งคนเราต้องการทักษะในการดารงชีวติ อีกมากมายที่นอกเหนือไปจาก
ความสามารถต่าง ๆ ที่ระบุไว้ในเชาวน์ปัญญา เชาวน์ปัญญาตามความเข้าใจเดิมนั้นพัฒนาได้
ยาก แต่พหุปัญญาพัฒนาได้ และทักษะทางปั ญญาคือการคิดแบบต่าง ๆ ก็สามารถส่ งเสริ มและ
พัฒนาได้เช่นกัน คนฉลาดทางเชาวน์ปัญญาสามารถจะประสบความสาเร็ จในการทางานที่ยาก
และได้รับการยกย่อง แต่จากการศึกษาเรื่ องนี้แล้ว จะพบว่าไม่แน่ที่เขาจะมีความสุ ข นอกเสี ย
จากว่าเขาจะมีความฉลาดทางเชาวน์อารมณ์หรื อ EQ ด้วย การพัฒนา EQ ได้รับความนิยมมาก
ในปัจจุบนั สมควรศึกษาและนามาใช้เพื่อประโยชน์ในการดาเนินชีวติ