การจัดทำเอกสาร มคอ 3

Download Report

Transcript การจัดทำเอกสาร มคอ 3

การจัดทาเอกสาร มคอ 3 - 7
ดร. ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต
25 กุมภาพันธ์ 2558
เนือ้ หาคาบรรยาย
• แนวโน้ มการปฏิบัตงิ านในยุคปั จจุบัน
• ความสาคัญของ มาตรฐานคุณวุฒอิ ุดมศึกษา
• ปั ญหาในการจัดทาเอกสาร มคอ ๓ และ ๕ พร้ อมกับคาแนะนา
ในการแก้ ไขการจัดทาเอกสารให้ ดขี นึ ้
• สรุ ป
การปฏิบัติงานทั่วไป
• หน่ วยงานหลายแห่ งประสบปั ญหาในการปฏิบัตงิ านมาก โดยเฉพาะ
หน่ วยงานขนาดใหญ่ ท่ ีมีหน่ วยงานย่ อยปฏิบัตงิ านลักษณะเดียวกัน เช่ น
มหาวิทยาลัยมีคณะต่ างๆจานวนมาก หรื อ กระทรวงมหาดไทยมีจังหวัด
ถึง 76 จังหวัด.
• ความสาเร็จของหน่ วยงานย่ อยส่ วนมากขึน้ อยู่กับผู้ปฏิบัตทิ ่มี ีทักษะและ
ความสามารถสูง
• การเปรี ยบเทียบความสาเร็จของหน่ วยงานย่ อยกระทาได้ ยาก
• เมื่อผู้ปฏิบัตงิ านที่มีความสามารถสูงถูกโยกย้ ายไป หน่ วยงานก็มีปัญหา
• Performance จึงขึน้ ๆลงๆ ตามตัวผู้บริหารที่มีความสามารถ
ความสามารถในการปฏิบัตงิ านขึน้ อยู่กบั อะไร?
• บุคลากร หน่ วยงานต้ องการได้ บุคลากรที่เก่ งที่สุด แต่ ไม่ มี
หน่ วยงานใดสามารถมีบุคลากรที่เก่ งที่สุดในทุกด้ าน
• เทคโนโลยี หน่ วยงานสามารถซือ้ เทคโนโลยีท่ เี ยี่ยมยอดที่สุดมา
ใช้ แต่ ความสามารถในการใช้ กข็ นึ ้ อยู่กับทักษะและ
ความสามารถของคน รวมทัง้ การมีบุคลากรด้ านเทคโนโลยีท่เี ก่ ง
และมีความสามารถสูงมาเป็ นผู้พัฒนา, จัดฝึ กอบรม, และ ให้
ความช่ วยเหลือ
• กระบวนงาน หน่ วยงานต้ องมีกระบวนงานเพื่อให้ บุคลากร
สามารถปฏิบัตงิ านได้ อย่ างถูกต้ องและมีประสิทธิผล
เป้ าหมายของการปฏิบัติงานได้ เปลีย่ นไป
• เดิมเป้าหมายของการปฏิบัตงิ านคือทางานให้ เสร็จสิน้ ตามหน้ าที่
และที่สาคัญที่สุดคือให้ หวั หน้ าและผู้บริหารพอใจ
• แต่ ปัจจุบันนีเ้ ป้าหมายได้ เปลี่ยนไปแล้ ว นั่นคือ
– การปฏิบัตงิ านต้ องให้ ถูกต้ องตรงตามกฎหมาย, กฎระเบียบ, มาตรฐาน
– การปฏิบัตงิ านต้ องทาให้ ลูกค้ าและผู้รับบริการพอใจ
– การปฏิบัตงิ านต้ องมีประสิทธิภาพ, ประสิทธิผล และ คุณภาพ
– การปฏิบัตงิ านต้ องได้ รับการปรั บปรุ งให้ ดีขนึ ้ ตลอดเวลา เพื่อให้
หน่ วยงานมีความยั่งยืน
– การปฏิบัตงิ านต้ องทาให้ ผ้ ูปฏิบัตไิ ด้ รับความรู้ เพิ่มมากขึน้
การพัฒนาตนเองของหน่ วยงานต่ างๆ
• เพื่อตอบสนองต่ อแนวทางการปฏิบัตงิ านแบบใหม่ หน่ วยงานจานวน
มากจึงได้ ปรั บปรุ งเปลี่ยนแปลงการปฏิบัตงิ านของตนเองด้ วยวิธี
ต่ างๆ
– การรื อ้ ปรั บระบบ (Business Process Reengineering)
– การนามาตรฐาน ISO มาใช้ เช่ น ISO 9000 ที่มีหลักการง่ ายๆว่ า จดบันทึก
วิธีการที่คุณทา แล้ ว ทาตามวิธีการที่คุณบันทึก
– การทางานที่หลากหลาย ทาให้ หน่ วยงานที่ต้องกากับดูแลงานเฉพาะกิจต้ อง
ศึกษาและพัฒนามาตรฐานกลางมากขึน้ เช่ น กระทรวงศึกษาธิการต้ อง
พัฒนาวิธีการaccreditation, กระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้ มีการ
ประเมินมาตรฐาน HA, สถาบันวิศวกรรมซอฟต์ แวร์ (ในสหรั ฐฯ) กาหนดให้
มีการประเมิน CMMI.
มาตรฐานในงานวิศวกรรมซอฟต์ แวร์
Based on material from:
Bruegge and Dutoit
7
การสะท้ อนให้ เห็นเป้ าหมายที่เปลีย่ นไป
• การทางานในแต่ละแผนกจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหมือนกัน
หมดได้ ตอ่ เมื่อมีการเขียนขันตอนการท
้
างานนันเป็
้ นมาตรฐานลาย
ลักษณอักษร ขันตอนที
้
่เขียนนันต้
้ องได้ มาจากการวิเคราะห์ศกึ ษาข้ อดี
ข้ อเสียของการปฏิบตั งิ านเดิม และศึกษา Best practices ของผู้อี่น
• กระบวนงานมาตรฐานนันจะต้
้ องปรับเปลี่ยนได้ ตามความจาเป็ นในการ
นาไปใช้ งานในสถานการณ์ตา่ งๆ
• ผู้ปฏิบตั ิงานได้ รับการฝึ กอบรมให้ ร้ ูจกั ใช้ ขนตอนมาตรฐานนั
ั้
น้
• มีการกากับดูแลเพื่อให้ แน่ใจว่า ผู้ปฏิบตั ไิ ด้ ปฏิบตั ติ ามขันตอนจริ
้
ง
การสะท้ อนให้ เห็นเป้ าหมายที่เปลีย่ นไป 2
• มีการจัดเก็บตัวชีว้ ัดเพื่อใช้ ในการวัด performance และคุณภาพ ของ
การปฏิบัตงิ าน, ความสอดคล้ องกับระเบียบปฏิบัติ, ความสาเร็จของ
ผลลัพธ์
• มีการวางแผนและบันทึกรายละเอียดการปฏิบัตงิ าน
• มีการพิจารณาจัดหาทรั พยากรที่ต้องการใช้ ในการปฏิบัตงิ าน
• มีการพิจารณาประเด็นปั ญหาและตัดสินใจแก้ ปัญหา โดยบันทึก
ประเด็นปั ญหาและการตัดสินใจเอาไว้ ด้วย
• มีการเสนอแนะแนวทางการปรั บปรุ งการปฏิบัตงิ านสาหรั บอนาคต
• มีการจัดทารายงานเสนอผู้บริหารให้ ทราบผลการปฏิบัตงิ าน
กล่ าวโดยย่ อ การปฏิบัตงิ านยุคใหม่ มีลกั ษณะดังนี้
1. การปฏิบัตงิ านมีลักษณะเป็ นกระบวนงาน ซึ่งอาจจะมีขัน้ ตอนข้ าม
ฟั งก์ ชันงานหลายแผนกได้
2. กระบวนงานระบุขัน้ ตอนปฏิบัตไิ ว้ อย่ างชัดเจนเป็ นลายลักษณ์ อักษร
โดยมีหลักคิดว่ า หากผู้ปฏิบัตงิ านทาตามขัน้ ตอนที่กาหนดไว้ อย่ าง
ถูกต้ องครบถ้ วนแล้ ว ผลงานจะต้ องดีเสมอ
3. ผู้ปฏิบัตสิ ามารถปรั บเปลี่ยนกระบวนงานมาตรฐานให้ เหมาะสมกับ
สภาวการณ์ ได้ แต่ ต้องทาตามกฎเกณฑ์ ท่ กี าหนด
4. กระบวนงานมีหวั ข้ อปฏิบัตสิ องด้ าน
1. หัวข้ อปฏิบัตทิ ่ เี ป็ นงานหลักตามภารกิจของกระบวนงานนัน้
2. หัวข้ อปฏิบัตทิ ่ เี ป็ นงานจัดการกระบวนงานนัน้
งานของอาจารย์ คอื การสอนและให้ คาปรึกษา
• การสอนอาจจัดว่ าเป็ นกระบวนงานได้ เพราะเป็ นงานที่มีกจิ กรรม
เกี่ยวเนื่องกับฟั งก์ ชันงานอื่นๆหลายงาน
• ขัน้ ตอนหลักคือ
–
–
–
–
–
–
–
–
การรั บทราบชื่อรายวิชาที่จะสอน
การรั บทราบรายชื่อนักศึกษาที่ได้ ลงทะเบียนเรี ยน
การจัดเตรี ยมทรั พยากรสาหรั บใช้
การจัดเตรี ยมเอกสารการสอนและงานที่จะมอบหมาย
การสอนและการมอบหมายงาน
การจัดเตรี ยมข้ อสอบ
การสอบ
การตรวจข้ อสอบ, การคิดคะแนนสอบและส่ งคะแนนสอบ
มคอ เป็ นกรอบเพือ่ ให้ มหาวิทยาลัยมีคุณภาพ
• มคอ ๑ เป็ นมาตรฐานหลักสูตรแต่ ละสาขาที่ คกก กาหนดขึน้
• มคอ ๒ เป็ นหลักสูตรที่แต่ ละสถาบันจัดทาขึน้ ตาม มคอ 1 หรือ
ตามที่สถาบันเห็นว่ าควรจะเป็ นในกรณีท่ ไี ม่ มี มคอ 1
• มคอ ๓ - ๔ เป็ นเอกสารการวางแผนและเตรียมการสอน
• มคอ ๕ - ๖ เป็ นเอกสารสรุ ปผลการสอน
• มคอ ๗ เป็ นเอกสารแสดงผลการประชุมพิจารณาประเมินผลการ
สอนของอาจารย์ ในรอบปี เพื่อปรับปรุ งเนือ้ หาวิชาและหลักสูตร
มคอ มายุ่งเกีย่ วกับการสอนอย่ างไรบ้ าง?
• ในบางสาขา มคอ ๑ กาหนดวิชาที่จะต้ องเปิ ดสอน
• มคอ ๒ ต้ องให้ รายละเอียดต่ างๆ มากมาย
–
–
–
–
–
–
–
–
ชื่อหลักสูตร ฯลฯ และ อาชีพที่จะปฏิบตั ไิ ด้
ปรั ชญาและแนวคิดของหลักสูตร
ทักษะอย่ างน้ อย ๕ ประการที่นักศึกษาจะต้ องได้ รับ
จานวนและรายชื่อวิชากลุ่มต่ างๆ
ทรั พยากรของหลักสูตร
ตัวชีว้ ัด
แผนการพัฒนาอาจารย์
ฯลฯ.
รายละเอียดของ มคอ ๓
หมวดที่ ๑ ข้ อมูลทั่วไป
หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ
หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมิน
หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
หมวดที่ ๗ การประเมินและการปรับปรุ งของรายวิชา
อาจารย์ ใช้ มคอ ๓ ทาอะไร
มคอ ๓ คือเครื่องมือในการวางแผนการสอนของอาจารย์ และ อาจารย์ จะต้ องทา
ให้ เสร็จสิน้ ก่ อนการเปิ ดสอนในภาคการศึกษานัน้
• อาจารย์ กาหนดจุดมุ่งหมายของรายวิชา
• อาจารย์ ทราบคาอธิบายรายวิชาจาก มคอ ๒
• อาจารย์ แจกแจงคาอธิบายรายวิชาลงในแผนการสอนได้
• อาจารย์ นาผลการเรี ยนรู้ของรายวิชาจาก มคอ ๒ มาเป็ นตัวตัง้ ในการสอน
และการประเมินผลการเรียนรู้ ได้
• อาจารย์ กาหนดวิธีการประเมินรายวิชาและประกาศให้ นศ รู้
• อาจารย์ ทราบผลการประเมินการสอนจากการให้ นศ ประเมิน
• อาจารย์ สามารถเสนอแนะแนวทางการปรับปรุ งรายวิชา
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓
• ข้ อมูลในหมวดที่ ๑ ผิดพลาด เพราะอาจารย์ ไม่ ได้ ใส่ ใจเขียน
เช่ น วันที่จัดทาหรือปรับปรุ งรายละเอียดของรายวิชาครัง้ ล่ าสุด
ไม่ ถูกต้ อง
• จุดมุ่งหมายของรายวิชา (หมวดที่ ๒) ไม่ ตรงกับคาอธิบายรายวิชา
• วัตถุประสงค์ ในการพัฒนา/ปรับปรุ งรายวิชา ไม่ สะท้ อนถึง
ความคิดว่ าทาไมจึงต้ องมีรายวิชานีใ้ นหลักสูตร ส่ วนมากมักจะ
เขียนซา้ กับวัตถุประสงค์ ของรายวิชา
• จานวนชั่วโมงที่ใช้ ต่อภาคการศึกษา (หมวดที่ ๓) ไม่ ถูกต้ อง (ให้
พิจารณาจากหน่ วยกิต และ การสอนจริง ๑๕ สัปดาห์ )
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓
• จานวนชั่วโมงต่ อสัปดาห์ ท่ อี าจารย์ ให้ คาปรึกษาแนะนาฯ (หมวด
ที่ ๓) ถ้ ามีให้ อ้างถึงประกาศ หรือ ข้ อมูลในเว็บ.
• การพัฒนาผลการเรียนรู้ของ นศ. (หมวดที่ ๔) อาจารย์ หลายคน
ไม่ ได้ พจิ ารณารายละเอียด คือเพียงแต่ ก๊อปปี จาก มคอ ๒ มาลง
เท่ านัน้ . อาจารย์ จะต้ องพิจารณาผลการเรียนรู้ท่ เี ป็ นจุดดา ใน
มคอ ๒ แล้ วนามาพิจารณาว่ าตรงกับเนือ้ หาอะไรในวิชา เช่ น ใน
ด้ านคุณธรรมนัน้ ถ้ าเป็ นวิชา ภ ไทย, ภ อังกฤษ, สังคมศาสตร์ จะ
มีคุณธรรมอะไรที่จะต้ องสอน, จะสอนอย่ างไร, และจะ
ประเมินผลด้ วยการสอบในแบบใด.
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓
• แผนการสอน (หมวดที่ ๕) มักจะเขียนหยาบเกินไป
• ถ้ าตอนทา มคอ ๒ ได้ แยกย่ อยคาอธิบายรายวิชาลงไปถึง ๑๒-๑๕
เรื่ องแล้ ว จะทาให้ จัดเตรียมแผนการสอนได้ ง่าย.
• ถ้ าการสอนตรงกับบทใดในตาราหลัก ให้ ระบุไว้ ด้วย (อาจารย์ หลาย
คนมักจะไม่ ระบุ ซึ่งเท่ ากับไม่ ได้ วางแผน).
• กิจกรรมการเรี ยนการสอน ควรพิจารณาให้ สอดคล้ องกับเนือ้ หา
(อย่ ามีแต่ เพียงบรรยายด้ วย PPT อย่ างเดียว).
• ผู้สอน ถ้ ามีหลายคน ให้ ระบุให้ ชัด.
• เรื่ องใหญ่ คือ เขียนจานวนสัปดาห์ ท่ ใี ช้ สอนไม่ ครบ ๑๕ สัปดาห์
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓
• แผนการประเมินการเรี ยนรู้ คือการระบุว่าจะประเมินนักศึกษา
ออกมาเป็ นคาแนนสอบ (หรื อเกรด) ได้ อย่ างไร. อาจารย์ จะต้ อง
ตรวจสอบว่ าคะแนนสอบย่ อยทัง้ หมดนัน้ เมื่อรวมแล้ วได้ ๑๐๐% จริง
• หมวดที่ ๖ ทรั พยากรประกอบการเรี ยนการสอน
– เอกสารและตาราหลัก คือเอกสารและตาราที่กาหนดให้ นักศึกษาทุกคน
จะต้ องมีเพื่ออ่ าน อาจจะเป็ นเอกสารการสอนอย่ างละเอียดที่อาจารย์
จัดเตรี ยมให้ กไ็ ด้ ถ้ าเป็ นตาราควรเป็ นเล่ มที่ยงั หาซือ้ ได้ ในปั จจุบนั
– เอกสารและข้ อมูลสาคัญ คือเอกสารและตาราที่มีอยู่ในห้ องสมุด และเป็ น
ส่ วนที่นักศึกษาควรจะอ่ านประกอบเพื่อขยายความรู้ ให้ กว้ างขวาง. ควรเป็ น
เล่ มที่มีในห้ องสมุดและให้ กาหนด ISBN ไว้ ด้วย.
– เอกสารและข้ อมูลแนะนา คือเอกสารอื่นๆ รวมทัง้ URL ของเว็บ ซึ่ง
นักศึกษาอาจจะอ่ านหรื อไม่ อ่านก็ได้ .
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓
• อาจารย์ หลายท่ านไม่ ชอบหมวดที่ ๗ การประเมินและการ
ปรับปรุ งการดาเนินการของรายวิชา. แต่ หมวดนีก้ ็คือการประกัน
คุณภาพ และเป็ นหมวดที่สามารถช่ วยให้ อาจารย์ สอนได้ ดขี นึ ้ .
• มหาวิทยาลัยควรมีนโยบายในการประเมินการสอนของอาจารย์?
• การปรับปรุ งการสอนในหมวดนี ้ ไม่ ใช่ ปรับปรุ งหลังเสร็จสิน้ การ
สอน แต่ เป็ นการปรับปรุ งระหว่ างที่ยังสอนอยู่
• การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ หากให้ คกก ทวนสอบ จะต้ องจัดเก็บ
รายงานการประชุมไว้ เป็ นหลักฐาน.
รายละเอียดของมคอ ๕
หมวดที่ ๑ ข้ อมูลทั่วไป
หมวดที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน
หมวดที่ ๓ สรุ ปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
หมวดที่ ๔ ปั ญหาและผลกระทบต่ อการดาเนินการ
หมวดที่ ๕ การประเมินรายวิชา
หมวดที่ ๖ แผนการปรับปรุ ง
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๕
• แบบฟอร์ มที่ สกอ กาหนด ไม่ ได้ มีคอลัมน์ สาหรับระบุสัปดาห์
ควรเติมเข้ าไปเพื่อให้ ตรวจสอบกับแผนการสอนใน มคอ ๓ ได้
ง่ าย
• ข้ อเสนอแนะแนวทางแก้ ปัญหาที่ระบุในหมวดที่ ๒ ไม่ ได้ รับการ
ประมวลไปพิจารณาในหมวดที่ ๖
• อาจารย์ ไม่ ได้ พจิ ารณากรอกเนือ้ หาในหมวดที่ ๒ อย่ างจริงจัง
เพราะอาจไม่ ใส่ ใจ หรือ ไม่ ได้ จดบันทึกรายละเอียดเอาไว้ หรือ
ไม่ ได้ แก้ ไขปั ญหาระหว่ างการสอน
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๕
• หมวดที่ ๓ สรุ ปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา มักจะมี
ปั ญหาเรื่องการนับจานวน นศ ในประเภทต่ างๆ ไม่ ตรงกันกับใบ
แจ้ งระดับคะแนนนักศึกษา.
• ระดับคะแนนที่ผิดปกติ ไม่ ได้ รับการอธิบายอย่ างชัดเจนว่ าเป็ น
เพราะสาเหตุอะไร. ส่ วนใหญ่ อาจารย์ มักจะบอกว่ า นศ มี
พืน้ ฐานค่ อนข้ างต่า แต่ คาถามก็คือ แล้ วอาจารย์ ได้ ปรับปรุ งการ
สอนอย่ างไรเพื่อรับมือกับปั ญหานีบ้ ้ าง?
• ประเด็นด้ านการคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินมักจะไม่ มใี คร
รายงาน
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๕
• หมวดที่ ๔ ปั ญหาและผลกระทบต่ อการดาเนินการ เป็ นหมวดที่
อาจารย์ ควรจะใช้ ในการแจ้ งให้ มหาวิทยาลัยทราบว่ ามีปัญหาใน
ด้ านทรัพยากร หรือ การบริหารของคณะอย่ างไรบ้ าง?
• หมวดที่ ๕ การประเมินรายวิชา และ ความเห็นของอาจารย์
ผู้สอน ควรให้ ความเห็นในเชิงสร้ างสรรค์ เกี่ยวกับผลการประเมิน
โดยเฉพาะให้ เน้ นว่ าอาจารย์ จะช่ วยปรับปรุ งการสอนได้ อย่ างไร?
• หมวดที่ ๖ แผนการปรับปรุ ง ส่ วนใหญ่ ท่ พ
ี บมาอาจารย์ ยังเขียน
น้ อยเกินไป
การจัดทารายงาน มคอ ๕ และ ๗
• อาจารย์ แต่ ละวิชาที่สอนในภาคการศึกษานัน้ ๆ จะต้ องจัดทารายงาน
มคอ ๕ ให้ เสร็จภายใน ๓๐ วันหลังสิน้ สุดภาคการศึกษา และ ให้ ส่ง
รายงานนัน้ ให้ อาจารย์ ผ้ ูรับผิดชอบหลักสูตร.
• อาจารย์ ผ้ ูรับผิดชอบหลักสูตรพิจารณาปั ญหาที่ได้ รับทราบจาก
รายงาน. หากเห็นว่ าเป็ นปั ญหาที่เกี่ยวกับการบริหารหรือการจัดสรร
ทรั พยากรให้ รีบแก้ ไขทันที.
• เมื่อสิน้ สุดปี การศึกษาแล้ ว คณะกรรมการประจาหลักสูตรจะต้ อง
ประชุมพิจารณารายงาน มคอ ๕ ทัง้ หมด แล้ วนารายละเอียดมาจัดทา
เป็ นรายงาน มคอ ๗ เพื่อเสนอแนะวิธีการแก้ ไขปรั บปรุ งหลักสูตร
ต่ อไป.
สรุปการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา (TQF)
กรอบมาตรฐาคุณวุฒิ
อุดมศึกษาแห่งชาติ
TQF ระดับสาขาวิ ชา
วางแผนปรับปรุง + พัฒนา
รายละเอียด
ของรายวิ ชา
(มคอ3,4)
ภาควิ ชา
คณะกรรมการ
จัดทาหลักสูตร
อาจารย์ผสู้ อน
กระบวนการเรียนการสอน
การรายงานผล
รายวิ ชา(มคอ5,6
)
เกณฑ์กาหนดชื่อปริ ญญา
หลักเกณฑ์การเทียบโอน
เกณฑ์แนวทางอื่น ๆ
รายละเอียดของหลักสูตร
(มคอ2)
การรายงานผลหลักสูตรประจาปี (มคอ.7)
อาจารย์ประจาหลักสูตร (รายงานผลการดาเนิ นการในภาพรวม
หัวหน้ าภาควิ ชา
และเสนอแนวทางในการปรับปรุง)
อาจารย์ผส้ ู อน
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
การวัดผลประเมิ นผล
ติดตามโดยการประกัน
คุณภาพ
กลวิ ธีการสอนแบบต่าง ๆ
Teaching Unit
การวิ จยั ในห้องเรียน
เอกสาร มคอ.3-7 เป็ นเอกสารภายในของสถาบัน ต้องมีให้ตรวจสอบ
 ติดตามผลการดาเนินการโดยประกันคุณภาพ (IQA)
สรุป
• การจัดทาเอกสาร มคอ ทัง้ หลายให้ มีความถูกต้ องเป็ นเรื่ องสาคัญ
ไม่ ใช่ เพราะ สกอ บังคับ แต่ เพราะเป็ นการปฏิบัตทิ ่ ดี .ี
• มาตรฐานคุณวุฒอิ ุดมศึกษา หรื อ มคอ นี ้ หากพิจารณาให้ ถ่ถี ้ วนแล้ ว
จะเห็นว่ าเป็ นวิธีการปฏิบัตทิ ่ ดี ี และ ได้ จัดทาขึน้ ตามหลักการที่ดี
เยี่ยม.
• อาจารย์ สมควรศึกษารายละเอียดในแต่ ละรายงานให้ เข้ าใจ.
• อาจารย์ จะต้ องฝึ กการสอนให้ นักศึกษาได้ ความรู้ ตามที่กาหนดไว้ ใน
เอกสาร มคอ, นักศึกษาเกิดทักษะ ๕ ประการจริง, อาจารย์ ได้ รับ
ความรู้ และทักษะที่ดีในการสอนและการปรั บปรุ งการสอน,
มหาวิทยาลัยได้ อาจารย์ และนักศึกษาที่มีคุณภาพ