บทที่_6._.

Download Report

Transcript บทที่_6._.

บทที่ 6
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
เสนอ
ผศ. สราวรรณ์
เรื องกัลปวงศ์
จัดทำโดย
นาย วุฒินันต์
เม่ นชัยภูมิ
รหัส 50132793028
บริ หารการตลาด ตอนเรี ยน J1
ในการทาวิจัยส่ วนใหญ่ ผู้วิจัยไม่ สามารถศึกษาประชากร
ทั้งหมดได้ กลุ่มตัวอย่ างถือว่ าเป็ นส่ วนหนึ่งของประชากร ที่
นักวิจัยนามาใช้ ศึกษาค้ นคว้ าแทนประชากร ดังนั้นข้อความจริ ง
ที่ค้นพบจากกลุ่มตัวอย่ าง จึ งสามารถอ้ างอิงไปถึงกลุ่มประชากร
ได้
ควำมหมำยของประชำกร
หมายถึง ทุกหน่วยของข้อมูลที่เรามุ่งศึกษา ไม่วา่ จะมีชีวติ หรื อไม่กต็ ามแบ่งออกเป็ น 2
ประเภท
1.
ประชำกรทีน่ ับได้ (Finite population) หมายถึง ประชากรที่มีจานวนจากัด มีขนาดพอนับได้
เช่น จานวนพนักงานในบริ ษทั สุ รเสี ยง จากัด
2.
ประชำกรทีม่ จี ำนวนไม่ จำกัด (Infinite population) หมายถึง ประชากรที่ไม่สามารถบอก
จานวนที่แน่นอนได้ จาแนกออกเป็ น 2 ลักษณะ
1. มีจานวนไม่สิ้นสุ ด ไม่สามารถกาหนดจานวนที่แน่นอนได้ เช่น จานวนลูกค้าใน
ห้างสรรพสิ นค้าเซนทรัล
2. มีขนาดใหญ่จนไม่สามารถนับจานวนที่แน่นอนได้ เช่น จานวนเม็ดทรายในทะเล
โดยทัว่ ไปแล้วจะไม่นิยมศึกษาจากประชากรทั้งหมด เพราะทาให้
สิ้ นเปลือง ดังนั้นจึงเลือกศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งสามารถอ้างอิงจากกลุ่ม
ประชากรได้
1.
2.
3.
4.
5.
การเลือกสุ่ มประชากรมาเป็ นตัวอย่างมีเหตุผลดังนี้
ประหยัดค่าใช้จ่าย
ประหยัดเวลา
มีความสะดวก
มีผลใกล้เคียงความเป็ นจริ ง
สามารถทาการวิจยั ได้รวดเร็ วขึ้น
ความหมายของกล่ มุ ตัวอย่าง (Sample Group)
หมายถึง ส่ วนหนึ่งของประชากรซึ่งเลือกขึ้นมาเป็ นตัวแทนของ
ประชากร การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างนั้น มีสิ่งที่เกี่ยวข้อ 2 เรื่ อง คือ
1.กำรกำหนดขนำดตัวอย่ ำง คือ การกาหนดจานวนของตัวอย่างที่จะเป็ น
ตัวแทนที่ดีของประชากร
2. กำรสุ่ มตัวอย่ ำง เป็ นการสุ่ ม หยิบ ออกมาจากประชากร ทุกหน่วยของ
ประชากรต้องมีโอกาสถูกเลือกมาเป็ นตัวอย่างพอๆกัน
กระบวนกำรสุ่ มตัวอย่ ำง
1.
2.
3.
4.
กำหนกกลุ่มประชำกรทีต่ ้ องกำรจะศึกษำ ต้องกาหนดส่ วนประกอบให้
ชัดเจน โดยมีส่วนที่เกี่ยวข้องคือ สมาชิก หน่วยของการสุ่ มตัวอย่าง
ขอบเขต เวลา
กำรเลือกหน่ วยของกำรสุ่ มตัวอย่ ำง จะถูกกาหนดขึ้นจากหลาย
องค์ประกอบ
กำรเลือกขอบเขตของกำรสุ่ มตัวอย่ ำง เป็ นขั้นตอนที่สาคัญ ถ้าไม่ตรง
กับประชากรอาจทาให้ผลผิดพลาดได้
กำรเลือกแบบกำรสุ่ มตัวอย่ ำง
5. กำรเลือกขนำดของตัวอย่ ำง โดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง
6. กำรเลือกแผนในกำรสุ่ มตัวอย่ ำง
7. กำรเลือกตัวอย่ ำง
ประโยชน์ ของกำรเลือกกลุ่มตัวอย่ำง
1.
2.
3.
4.
ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย
ทาให้ประหยัดเวลา
ทาให้เก็บรวบรวมข้อมูลได้สะดวก
ผลการวิจยั มีความเชื่อมัน่ และถูกต้องแม่นยามากกว่า
ลักษณะของกลุ่มตัวอย่ ำงทีด่ ี
1. มีขนาดพอเหมาะ ไม่มากหรื อน้อยหรื อน้อยจนเกินไป
2. มีลกั ษณะจุดมุ่งหมายตรงกับงานวิจยั
3. มีลกั ษณะเป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร
4. ได้จากการสุ่ มด้วยวิธีการที่เหมาะสม
กำรกำหนดตัวอย่ ำง
1.
2.
ถ้าขนาดของกลุ่มตัวอย่างมากไป ทาให้สิ้นเปลืองทรัพยากร
ถ้ากลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็กเกินไป อาจเกิดความคลาดเคลื่อนได้
วิธีกำรกำหนดตัวอย่ ำง (Sample sizes)
1.
กำรกำหนดตัวอย่ ำงโดยพิจำรณำจำกขนำดของประชำกรเป้ำหมำย
ถ้า 100
ถ้า 1,000
ถ้า 10,000
ถ้า 100,000
N หมำยถึง
n หมำยถึง
≤
≤
≤
≤
n
n
n
n
< 1,000
< 10,000
< 100,000
< 1,000,000
จำนวนประชำกรทั้งหมด
จำนวนตัวอย่ำง
2. กำรกำหนดขนำดตัวอย่ ำงโดยวิธีกำรทำงสถิติ
เป็ นการคานวณหาขนาดตัวอย่าง โดยคานวณจากสู ตร ต้องพิจารณาก่อนว่าทราบจานวนประชากร
ทั้งหมดหรื อไม่ เพราะกรณี ทราบกับไม่ทราบ จะใช้สูตรต่างกัน
2.1 กรณีไม่ ทรำบจำนวนประชำกร
2.1.1) ไม่ ทราบจานวนประชากร แต่ ผ้ วู ิจัยทราบว่ ามีจานวนมากมาก ใช้ สูตร W.G. Cochran
n = P(1-P)Z²
d
เมื่อ n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่างที่ตอ้ งการ
P แทน สัดส่ วนของประชากรที่ผวู ้ จิ ยั ต้องการจะสุ่ ม ซึ่ งสามารถนาค่าสถิติในอดีตมาใช้ได้
Z แทน ความมัน่ ใจที่ผวู้ จิ ยั กาหนดไว้ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ เช่น
Z ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 มีค่าเท่ากับ 1.96 (มัน่ ใจ 95%)
Z ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.01 มีค่าเท่ากับ 2.58 (มัน่ ใจ 99%)
d แทน สัดส่ วนของความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้
2.1.2 กรณีไม่ ทราบจานวนประชากร หรื อมีจานวนไม่ แน่ นอน โดยใช้ สูตร Poscoe
e=Z. S
n
หรื อ
2
n= Z•S
e
เมือ่
e แทน ความคลาดเคลื่อนมากที่สุดที่ยอมรับได้
n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
Z แทน ความมัน่ ใจที่ผวู้ จิ ยั กาหนดไว้ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ เช่น
Z ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 มีค่าเท่ากับ 1.96 (มัน่ ใจ 95%)
Z ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.01 มีค่าเท่ากับ 2.58 (มัน่ ใจ 99%)
S แทน ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2.2 กรณีทรำบจำนวนประชำกร
N(CV)² Z ²
(CV) ² Z ² + (N-1) e ²
n=
เมื่อ
n
N
Z
CV
e
แทน
แทน
แทน
แทน
แทน
จานวนตัวอย่าง
จานวนประชากร
คะแนนมาตรฐานที่ระดับความเชื่อมัน่ ตามที่กาหนด
สัมประสิ ทธิ์ความผันแปร
ความคลาดเคลื่อนของข้อมูลที่ได้จากตัวอย่าง
3. กำรกำหนดขนำดตัวอย่ ำงโดยใช้ ตำรำง
มีนกั สถิติคานวณขนาดของตัวอย่างออกมาเป็ นตารางสาเร็ จรู ป ที่นิยมใช้กนั มีดงั นี้
3.1 ตารางสาเร็จที่ใช้สูตรของ Taro Yamane
3.2 ตารางสาเร็จรู ปที่ใช้สูตรของ R.V.Krejcie & R.W. Morgan ซึ่ งสร้างขึ้นจากสู ตร
n=
X ² NPQ
e ² (N-1) + X ² PQ
n
X²
N
P
Q
e
=
=
=
=
=
=
ขนาดของตัวอย่าง
ค่าไค-สแควร์ที่ df เท่ากับ 1 และระดับความเชื่อมัน่ 95% ( = 3.841)
ขนาดของประชากร
สัดส่ วนของลักษณะที่สนใจของประชากร (P=0.5)
1-P = 1- 0.5 = 0.5
เปอร์เซ็นต์ของความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ (e=0.05)
วิธีกำรสุ่ มตัวอย่ ำง
1. กำรสุ่ มตัวอย่ ำงโดยไม่ อำศัยควำมน่ ำจะเป็ น
เป็ นการสุ่ มตัวอย่างที่ไม่เป็ นไปตามโอกาสทางสถิติ หน่วยของประชากรไม่มีโอกาสถูก
เลือกเท่ากัน ซึ่ งมีวธิ ีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็ นไปตามโอกาสทางสถิติ 5 วิธี คือ
1. การสุ่ มตัวอย่างแบบบังเอิญ
2. การสุ่ มตัวอย่างแบบกาหนดโควตา
3. การสุ่ มตัวอย่างแบบเจาะจง
4. การสุ่ มตัวอย่างแบบตามความสะดวก
5. การสุ่ มตัวอย่างแบบกระจายต่อเนื่อง
2. กำรสุ่ มตัวอย่ ำงโดยอำศัยควำมน่ ำจะเป็ น
เป็ นการสุ่ มตัวอย่างที่ให้ทุกหน่วยของประชากรมีโอกาสถูกเลือกเท่าๆกัน จาแนก
ได้ 6 วิธี คือ
1. กำรสุ่ มตัวอย่ ำงอย่ ำงง่ ำย กรณี ที่ผวู ้ ิจยั มีความรู ้เกี่ยวกับประชากร
น้อย อาจทาได้ 2 วิธี
1. วิธีจบั ฉลาก
2. ใช้ตารางเลขสุ่ ม
2. กำรสุ่ มตัวอย่ ำงอย่ ำงมีระบบ เหมาะกับประชากรที่ได้จดั
เรี ยงลาดับหน่วยตัวอย่างไว้แล้วอย่างมีระบบ
3. กำรสุ่ มตัวอย่ ำงตำมระดับชั้นภูมิ โดยแบ่งประชากรที่จะศึกษา
ออกเป็ นกลุ่มๆ
4. กำรสุ่ มตัวอย่ ำงแบบกลุ่ม ผูว้ จิ ยั จะต้องแบ่งประชากรออกเป็ นกลุ่มๆก่อน
5. กำรสุ่ มตัวอย่ ำงแบบหลำยขั้นตอน เป็ นการสุ่ มตัวอย่างที่มีจานวน
ประชากรมาก
6. กำรสุ่ มตัวอย่ ำงจำกตำรำงเลข โดยอาศัยตารางเลขสุ่ มที่จดั แบบสุ่ มไว้แล้ว
ควำมคลำดเคลือ่ นของกำรวิจัยเชิงสำรวจ
1. ควำมคลำดเคลือ่ นในกำรสุ่ มตัวอย่ ำง
1.1 เลือกตัวอย่างไม่เป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร
1.2 การเลือกตัวอย่างมีความลาเอียง
2. ควำมคลำดเคลือ่ นทีไ่ ม่ ได้ มำจำกกำรสุ่ มตัวอย่ ำง
2.1 Coverage errors เกิดจากการเก็บรวบรวมกลุ่มตัวอย่างไม่
ครอบคลุมประชากรทั้งหมด
2.2 Observational เกิดจากความผิดพลาดของผูว้ จิ ยั เอง
2.3 Processing errors ความคลาดเคลื่อนชนิดนี้เกิดได้ 3 กรณี
- ใช้สถิติวเิ คราะห์ผดิ
- ข้อมูลคลาดเคลื่อนซึ่ งอาจเกิดจากการคัดลอกหรื อเก็บไม่ครบ
- ความคลาดเคลื่อนในการคานวณ
___จบ___