ผล งาน เชิง วิเคราะห์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Download Report

Transcript ผล งาน เชิง วิเคราะห์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

การเขียนผลงานเชิงวิเคราะห์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เรือโท ดร.ทวีศักดิ์ รูปสิ งห์
อาจารย์ ดร.วันชัย ปานจันทร์
ความสาคัญของงานเชิงวิเคราะห์
ประกาศคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) เรื่ อง
มาตรฐานการกาหนดระดับตาแหน่ง และการแต่งตั้งข้าราชการพลเรื อนใน
สถาบันอุดมศึกษาให้ดารงตาแหน่งสูงขึ้น พ.ศ. 2553 ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2553
กาหนดว่า “การจะเสนอขอเป็ นระดับชานาญงานพิเศษ ระดับชานาญการ ระดับ
ชานาญการพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ และระดับเชี่ยวชาญพิเศษ ต้ องเสนอผลงานเชิง
วิเคราะห์ ”
การทางานเชิงวิเคราะห์มีความสาคัญ และจาเป็ นสาหรับข้าราชการ
ผูป้ ฏิบตั ิงานประเภททัว่ ไป วิชาชีพเฉพาะ หรื อผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะ และ
พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ ที่จะต้องนางานที่ปฏิบตั ิ หรื อ
เอกสารที่ใช้ประกอบการปฏิบตั ิงานมาทาการวิเคราะห์ เพื่อพัฒนา ปรับปรุ ง
และแก้ไขการปฏิบตั ิงานให้มีประสิ ทธิ ภาพต่อไป
ความหมาย
การวิเคราะห์ คือ การแยกแยะหาต้นตอสาเหตุ หาตัวแปรที่สาคัญ การใช้
เครื่ องมือทางสถิติ ใช้เครื่ องมืออุปกรณ์มาทาการวิเคราะห์ หรื อคิดแบบวิเคราะห์
(ผังก้างปลา ผังรากไม้ กราฟ การดูแนวโน้ม ฯลฯ)
การคิดเชิงวิเคราะห์ คือ การคิดเป็ นและคิดหลายทิศทาง มีเหตุและ
ผลในการจาแนกตีความเชื่อมโยงและเปรี ยบเทียบ
ผลงานเชิงวิเคราะห์
ผลงานที่แสดงการแยกแยะองค์ ประกอบต่ าง ๆ ของเรื่องอย่ างมี
ระบบ มีการศึกษาในแต่ ละองค์ ประกอบ และความสั มพันธ์ ของ
องค์ ประกอบต่ าง ๆ เพือ่ ให้ เกิดความรู้ ความเข้ าใจในเรื่องนั้น ซึ่งเป็ น
ประโยชน์ ต่ อหน่ วยงานหรือสถาบันอุดมศึกษา
รู ปแบบของการทาผลงานเชิงวิเคราะห์
1.บทที่ 1 บทนา
-ภูมหิ ลัง/ความสาคัญ และความเป็ นมาของเรื่ องที่จะวิเคราะห์
-วัตถุประสงค์ของเรื่ องที่จะวิเคราะห์
-ประโยชน์ของเรื่ องที่จะวิเคราะห์
-ขอบเขตของเรื่ องที่จะวิเคราะห์
-นิยามศัพท์เฉพาะ
-สมมติฐานการวิเคราะห์
2.เอกสารทีเ่ กีย่ วข้ องกับเรื่องทีจ่ ะวิเคราะห์
3.วิธีการดาเนินการวิเคราะห์
4.ผลการวิเคราะห์
5.สรุป วิพากษ์ และข้ อเสนอแนะ
6.บรรณานุกรม
7.ภาคผนวก
ส่ วนประกอบของรู ปเล่ มงานเชิงวิเคราะห์
โดยทัว่ ๆ ไป จะประกอบด้วย 3 ส่ วน คือ ส่ วนประกอบตอนต้น ส่ วนประกอบของ
เนื้อหา และส่ วนประกอบตอนท้าย
1.ส่ วนประกอบตอนต้ น
1.1 ปกนอก
1.2 ปกใน
1.3 คานิยม (ถ้ามี)
1.4 คานา
1.5 สารบัญ
1.6 บัญชีตาราง และบัญชีภาพประกอบ (ถ้ามี)
2. ส่ วนประกอบเนือ้ หา
เป็ นส่ วนที่จดั ทาสารบัญ โดยแบ่งออกเป็ นบท ๆ หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง
และสรุ ปความเห็น เป็ นต้น
3. ส่ วนประกอบตอนท้ าย
3.1 บรรณานุกรม
3.2 ภาคผนวก
3.3 ประวัติยอ่ ผูว้ เิ คราะห์
การเลือกเรื่องทางานเชิงวิเคราะห์
1.งานประจาที่ปฏิบัติ เลือกงานประจา และเป็ นงานหลักที่ตนเองปฏิบตั ิ เจ้า
ตัวจะรู้ดีวา่ งานเป็ นอย่างไร ข้อมูลจะเอามาจากไหน ขั้นตอนการทางานเป็ นอย่างไร
ใครเป็ นลูกค้า เอกสารที่ใช้ในการปฏิบตั ิงานเป็ นอย่างไร
2.สิ่ งที่ตนสนใจและมีความเชี่ยวชาญ เมื่อเรามีความเชี่ยวชาญในงานนั้น ๆ
ประกอบกับเราสนใจเป็ นพิเศษ ความรอบรู้ลึกซึ้ง ความครอบคลุมในเนื้อหาสาระ
และความสนใจ จะเป็ นตัวกระตุน้ ให้เราทุ่มเท มีความเพลิดเพลินสนุกไปกับงาน และ
จะทาให้งานสาเร็ จไปอย่างรวดเร็ ว
3.เรื่องที่มีความสาคัญและเป็ นประโยชน์ งานที่ทาต้องมีความสาคัญและเป็ น
ประโยชน์มากที่สุดสาหรับผูอ้ ่านศึกษาค้นคว้าและผูท้ าการวิเคราะห์ พิจารณาว่าคุม้ กับ
เวลา แรงงาน ค่าใช้จ่าย ความสิ้ นเปลื้องต่าง ๆ หากมีหลายเรื่ อง ต้องพิจารณาเรื่ องที่มี
ความสาคัญและมีประโยชน์มากที่สุดก่อน
4.มีแหล่ งข้ อมูลให้ ค้นคว้ า การทางานวิเคราะห์ตอ้ งมีแหล่งข้อมูลให้คน้ คว้าสิ่ ง
ที่เกี่ยวข้องหากเรามีแหล่งข้อมูลที่พร้อมอยูแ่ ล้ว และทันสมัยเป็ นปัจจุบนั สามารถเอา
มาอ้างอิงได้ไม่นอ้ ยจนเกินไป ไม่ตอ้ งไปขอความร่ วมมือจากแหล่งอื่น ๆ ก็ควร
ตัดสิ นใจทาการวิเคราะห์เรื่ องนี้
5.ขอบเขตของเรื่อง การตัดสิ นใจเลือกเรื่ องทาการวิเคราะห์ ต้องพิจารณาดูวา่ ถ้าขอบเขตของเรื่ องแคบเกินไป
อาจจะดูแล้วด้อยคุณค่า หากขอบเขตกว้างเกินไปอาจจะวิเคราะห์ไม่ครอบคลุม ต้องพิจารณาดูให้รอบคอบ ให้
เหมาะสมกับระดับตาแหน่งของความเป็ นผูช้ านาญงาน ผูช้ านาญงานพิเศษ ผูช้ านาญการ หรื อผูช้ านาญการ
พิเศษ หรื อผูเ้ ชี่ยวชาญ หรื อผูเ้ ชี่ยวชาญพิเศษ เป็ นต้น
6.ไม่ สิ้นเปลืองเวลาและค่ าใช้ จ่ายเกินไป เรื่ องบางเรื่ องต้องใช้เวลาในการดาเนิ นงานหากทิ้งไปเป็ นเวลานานอาจ
ล้าสมัย หรื อบางกรณี ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานมากเกินไป ไม่คุม้ กับเวลาที่เราอุทิศให้และค่าใช้จ่ายที่
ทุ่มลงไปก็ไม่ควรทา
7.เสี่ ยงต่ ออันตราย การหาข้อมูลบางทีตอ้ งลงภาคสนามเป็ นสิ่ งที่ยากลาบาก และไม่แน่ใจในความปลอดภัย
หรื อเสี่ ยงต่ออันตราย หากเป็ นเช่นนี้ ก็ไม่ควรเลือกเรื่ องนี้มาทาการวิเคราะห์
สรุป การเลือกเรื่ องทางานเชิงวิเคราะห์ของข้าราชการประเภททัว่ ไป
วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ และพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน
วิชาการ ต้องเลือกเรื่ องจากงานที่ปฏิบตั ิประจา โดยการศึกษาค้นคว้าจาก
รายงานประจาปี จากรายงานการประชุม จากข้อร้องเรี ยนต่าง ๆ จากการ
ประชุมสัมมนา และการระดมสมอง หรื อการตรวจประกันคุณภาพ นามา
ทาการศึกษาวิเคราะห์หาคาตอบนั้น ๆ เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจในเรื่ อง
นั้น
ความพร้อมในการจัดทาผลงานเชิงวิเคราะห์
บุคลากร
*ด้านความรู้/ความสามารถ
*ด้านอารมณ์
*ด้านการตัดสิ นใจ
การพิจารณาตนเอง
ผลงานเชิง
วิเคราะห์
ด้านความรู้/ความสามารถ/ทักษะ/สมรรถนะ
• มีทกั ษะและมีประสบการณ์ที่ตอ้ งเรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิงาน
• มีทกั ษะในการเลือก/สร้างผลงานเชิงวิเคราะห์
• สามารถในการค้นคว้า/แสวงหาข้อมูล/การเก็บรวบรวมข้อมูล
• สามารถทางานเป็ นกลุ่ม/ทีม
• สามารถใช้หลักเหตุผลในการวิเคราะห์งาน/แปลผล
• สามารถสรุ ปผล/อภิปรายผล/มีขอ้ เสนอแนะที่พฒั นางานในหน่วยงาน
• มีความสามารถในการใช้ภาษาและการเขียนผลงาน
ด้านอารมณ์
• มีความจริ งจังในงาน/ไม่ผดั วันประกันพรุ่ ง
• มีความตั้งใจที่จะประสบผลสาเร็ จ/มีผลงาน
• มีความซื่อสัตย์/มาอารมณ์ที่ต่อเนื่องในการทาผลงาน
• มีความสามารถควบคุมตนเอง/เข้าใจผูอ้ ื่น
• มีความคาดหวัง/มีความสุ ขต่อการทาผลงาน
ด้านการตัดสิ นใจ
• มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง/ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น
• มีความเข้าใจในองค์กรและระบบราชการ
• สามารถแก้ไขปั ญหาของตนเองได้
• ประเมินความสามารถของตนเองได้
• มีวนิ ยั ในตนเอง มีความรับผิดชอบที่มีต่องานและสังคม
เทคนิคการเลือกเขียนผลงานเชิงวิเคราะห์
• เลือกวิเคราะห์งานประจา และเป็ นงานหลักที่ตนเองปฏิบตั ิ ที่ตรงกับลักษณะงานและสายงานในหน้ าที่ที่
รับผิดชอบ/ได้ รับมอบหมายในหน่วยงานที่สงั กัด
• เลือกวิเคราะห์งานที่ตนเองสนใจ มีความชานาญการเป็ นพิเศษ เป็ นงานที่มีความสาคัญต่อการพัฒนางาน
และเป็ นประโยชน์ตอ่ หน่วยงาน
• เลือกวิเคราะห์งานที่มีข้อมูลมากพอ และสามารถศึกษาค้ นคว้ าหาข้ อมูลเพิ่มเติมได้
• เลือกวิเคราะห์งานที่ตนเองสามารถทาได้ ด้วยตนเอง /ทีมงาน และไม่วิเคราะห์งานที่เสี่ยงต่อตนเอง/ทีมงาน
• เลือกวิเคราะห์งานที่ใช้ ระยะเวลาในการทาผลงานไม่มากจนเกินไป เพราะอาจทาให้ ผลงานเชิงวิเคราะห์ไม่
การปรับทันสมัย และเสียค่าใช้ จ่ายมาก
• เลือกวิเคราะห์งานที่จะทาให้ เกิดการปรับปรุงงาน/การพัฒนางานโดยเฉพาะเพื่อลดการสูญเสียอันเกิดจาก
การทางานในแต่ละขันตอน
้
ทังในเรื
้ ่ องระยะเวลา /บุคลากร/งบประมาณในการทางาน
ขั้นตอนการจัดทาผลงานเชิงวิเคราะห์
ขั้นตอนที่ 1 พิจารณาเลือกงานที่จะพัฒนา /
ปรับปรุ ง / งานที่มีปัญหา โดยศึกษางานที่ตอ้ งใช้
บุคลากรเป็ นจานวนมาก หรื องานที่มีความล่าช้า
ไม่เป็ นไปตามกาหนด
ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูล จากฐานข้อมูล (Database) เพื่อวิเคราะห์งานทั้ง
ระบบอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่ มต้น จนสิ้ นสุ ดกระบวนการ
ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์งานในแต่ละองค์ประกอบ / ทุกขั้นตอนของการ
ปฏิบตั ิงาน โดยผูเ้ ขียนต้อง รู้จกั การคิดเชิงวิเคราะห์ และออกแบบการปฏิบตั ิงานที่ใช้
เทคนิคและวิธีการในการ แก้ไขปัญหาที่เหมาะสม และประเมินผลงาน ในแต่ละ
องค์ประกอบ เพื่อหาแนวทาง ในการพัฒนา / ปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานในแต่ละขั้นตอน
ให้ดีข้ ึน โดยพิจารณางาน / องค์ประกอบของงานทั้งระบบ และใช้ IT เข้าช่วย เพื่อ
ความทันสมัย และรวดเร็ ว ในการปฏิบตั ิงาน
• ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์งานและกาหนดรู ปแบบ เทคนิควิธีการใหม่ท้ งั ระบบ มีการกาหนด
แผนงาน จานวนบุคลากรและเครื่ องมืออุปกรณ์ที่เหมาะสม ในการปฏิบตั ิงาน รวมทั้ง SWOT
analysis เพื่อขอความเห็นชอบ /อนุมตั ิจากผูบ้ ริ หารของหน่วยงานที่สงั กัด
• ขั้นตอนที่ 5 ปฏิบตั ิงานตามรู ปแบบ/ระบบการทางานใหม่ เพื่อให้ได้รับอนุมตั ิและเห็นชอบ มี
การติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องในแต่ละองค์ประกอบ /ขั้นตอนของงาน ที่วิเคราะห์ เพื่อ
ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อไป
• ขั้นตอนที่ 6 จัดทาเป็ นผลงานเชิงวิเคราะห์ ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ โดยจัดทาเป็ นรู ปเล่มที่สมบูรณ์
ประณี ตและสวยงาม
เทคนิคการเขียน
รายงานการวิเคราะห์
22
เทคนิคการเขียนบทที่ 1
บทนา
บทนา เป็ นบทที่ 1 เป็ นเนือ้ หาส่ วนแรกหรือบทเริ่มต้ นของงานที่
เขียนจึงมีความสาคัญและมีความจาเป็ นในการนาเข้ าสู่ เนือ้ เรื่องของงาน
ที่เขียน
การเขียนบทนาจะต้องกล่าวถึงความเป็ นมาและความสาคัญของ
งานที่ปฏิบตั ิให้ชดั เจน รวมถึงแนวคิด วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่
คาดว่าจะได้รับจากการ
วิเคราะห์
23
หลักการทัว่ ไปของการเขียนบทนา
• ควรเขียนนำให ้ผู ้อ่ำนเข ้ำใจถึงปั ญหำ แนวคิด
วัตถุประสงค์ ขอบเขต และประโยชน์ของเรือ
่ งทีก
่ ำลังเขียน
• ควรเขียนให ้ผู ้อ่ำนอยำกอ่ำนเรือ
่ งทีก
่ ำลังเขียนว่ำ
เป็ นเรือ
่ งทีส
่ ำคัญ มีควำมท ้ำทำย และน่ำสนใจอย่ำงไร
• ควรกล่ำวนำให ้ผู ้อ่ำนเห็นควำมสำคัญ เหตุผล
ตลอดจนควำมจำเป็ นทีต
่ ้องมีกำรวิเครำะห์นี้
้
• ควรมีกำรใชภำษำที
เ่ รียบง่ำย อ่ำนแล ้วเข ้ำใจง่ำย
ั สน วกไปเวียนมำ
สอดคล ้อง กลมกลืน ไม่สบ
• กำรเขียนบทนำไม่ควรให ้มีจำนวนหลำยๆ หน ้ำ
ให ้มีจำนวนหน ้ำพอประมำณ จำนวน 2-3 หน ้ำ
24
ส่ วนประกอบ ของบทนา
• ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญ
• วัตถุประสงค์
• ประโยชน์ทค
ี่ ำดว่ำจะได ้รับ
• ขอบเขต
• ข ้อตกลงเบือ
้ งต ้น
• คำจำกัดควำมเบือ
้ งต ้น
25
1.1 ความเป็ นมาและความ สาคัญของการวิเคราะห์
ต้องเขียนถึงความเป็ นมาและความสาคัญของการ
วิเคราะห์ให้ชดั เจน
โดยเขียนถึงความเป็ นมาของงานที่จะทาการวิเคราะห์วา่ มีความ
เป็ นมาอย่างไร มีความสาคัญอย่างไร หรื อมีความจาเป็ นอะไรที่ตอ้ งมีมา
ทาการวิเคราะห์เรื่ องนี้
26
ตัวอย่ างการเขียนความเป็ นมาและความสาคัญของการวิเคราะห์
ผลจากการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมทาให้ธุรกิจมีการพัฒนาด้านการผลิตและเศรษฐกิจ
มากยิง่ ขึ้น และได้เกิดระบบโรงงานขึ้นมา มีการลงทุนในการนาเอาเครื่ องจักรกลมาทดแทน
แรงงานคน การผลิตเปลี่ยนเป็ นขนาดใหญ่ (Mass Products) เพื่อให้เพียงพอกับความ
ต้องการ รวมทั้งมีการแบ่งงานกันทาตามความถนัด ดังนั้นการจัดการจึงมีความจาเป็ นอย่าง
ยิง่ เนื่องจากมีการลงทุนในรู ปแบบต่างๆ จะทาเป็ นการบริ หารแบบลองผิดลองถูกแบบก่อน
มิได้ จึงทาให้ในปั จจุบนั นี้ธุรกิจที่จะประสบผลสาเร็ จนั้นจะต้องเป็ นองค์การที่ให้
ความสาคัญกับงานการจัดการทรัพยากรมนุษย์ โดยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในปั จจุบนั
เป็ นภาระหน้าที่สาคัญอีกหน้าที่หนึ่ งที่ผบู ้ ริ หารทั้งในภาครัฐและเอกชนจะต้องทาความ
เข้าใจและดาเนินงานในส่ วนที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมเพื่อนาองค์การไปสู่
การบรรลุผลสาเร็ จในที่สุด (อนิวชั แก้วจานงค์, 2552, น.1)
27
การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี การปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริ หารองค์การ และ
การแก้ไขกฎระเบียบต่างๆ แล้ว การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ดูเหมือนจะเป็ นปั จจัยหลักที่มี
ความสาคัญอย่างสู่ ที่มีผลต่อความสาเร็ จดังกล่าวซึ่ งทาให้ในปั จจุบนั เป็ นที่ทราบกันดีอยูแ่ ล้ว
ว่า “ทรัพยากรมนุษย์” เป็ นทรัพยากรที่มีคุณค่าและมีความสาคัญอย่างยิง่ ต่อการปฏิบตั ิงาน
ทุกประเภท แม้วา่ วิทยาการหรื อเทคโนโลยีต่างๆ จะก้าวหน้ากว้างไกลไปเพียงใดก็ตาม
มนุษย์กย็ งั ถือได้วา่ เป็ นปั จจัยที่มีค่าและมีความสาคัญยิง่ ต่อการทางาน (ดิสดารก์ เวชยานนท์,
2543, น.1) ทั้งนี้เพราะส่ วนหนึ่ งความจาเป็ นของการจัดการทรัพยากรมนุษย์น้ นั 1) เพื่อ
จัดหาคนที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับงาน 2) เพื่อใช้ทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
3) เพื่อพัฒนาทักษะและความสามารถของกาลังแรงงานให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด 4) เพื่อ
รักษาพนักงานที่มีความสามารถให้คงอยูใ่ ห้นานที่สุด 5) เพื่อสื่ อสารโยบายการบริ หาร
ทรัพยากรมนุษย์ให้กบั พนักงานทุกคนได้ทราบ (สมชาย หิ รัญกิตติ,2542, น.10)
28
การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีความสาคัญต่อองค์การ เพราะทุกองค์การไม่
ต้องการให้มีความผิดพลาดในการบริ หารงาน ซึ่งจะส่ งผลต่อปัญหาที่เกิดขึ้นใน
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่องค์การจะต้องเผชิญผลกระทบกับปัญหาได้แก่ 1)
การจ้างคนไม่เหมาะสมกับงาน 2) อัตราการออกจากงานสูง 3) การพบว่า
พนักงานไม่ต้ งั ใจที่จะทางานให้ดีที่สุด 4) การเสี ยเวลากับการสัมภาษณ์ที่ไม่ได้
ประโยชน์ 5) ทาให้บริ ษทั ต้องขึ้นศาลเนื่องจากวามไม่เป็ นธรรมของผูบ้ ริ หาร 6)
ทาให้บริ ษทั ถูกฟ้ องจากการจัดสภาวะแวดล้อมการทางานที่ไม่ปลอดภัย 7) การ
ทาให้พนักงานคิดว่าเงินเดือนที่เขาได้รับไม่ยตุ ิธรรม 8) ไม่ยอมให้มีการฝึ กอบรม
และการพัฒนา ซึ่งเป็ นการทาลายประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลของหน่วยงาน 9)
การกระทาที่ไม่ยตุ ิธรรมและความสัมพันธ์ที่ตึงเครี ยดกับพนักงาน (สมชาย หิ รัญ
กิตติ,2542, น.10)
29
จากความเป็ นมาและความสาคัญของการวิเคราะห์การจัดการทรัพยากร
มนุษย์ในองค์การที่กล่าวถึงข้างต้นนั้นทาให้ผวู ้ ิเคราะห์มีความสนใจที่จะ
ศึกษาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ขององค์การโดยการเปรี ยบเทียบการบริ หาร
จัดการทรัพยากรมนุษย์ของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อเป็ นรู ปแบบและแนวทาง
ในการพัฒนาและการบริ หารจัดการทรัพยากรมนุษย์ให้มีความเหมาะสมกับ
สถานการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคต เพื่อก่อให้เกิดความคุม้ ค่าในการ
บริ หารงานสถาบันการศึกษา
30
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์
ต้องเขียนอธิบาย ชี้แจง ให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการ
วิเคราะห์เรื่ องนั้นๆ เช่น...
- เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบนั ของกาลังคนในหน่วยงาน
(วิเคราะห์อตั รากาลัง)
- เพื่อวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรในหน่วยงาน
(วิเคราะห์อตั รากาลัง)
- เพื่อกาหนดกรอบอัตรากาลังที่เหมาะสมของบุคลากร
ในหน่วยงาน(วิเคราะห์อตั รากาลัง)
31
1.3 ประโยชน์ทค
ี่ ำดว่ำจะได ้รับ
ตอ
้ งเขี ย นอธิ บ ำยช ี้ แ จงให ท
้ รำบประโยชน์ ข องกำรศ ึ ก ษำ
่ ...
วิเครำะห์เรือ
่ งนัน
้ ๆ เชน
- ได ้ทรำบถึง สภำพปั จจุบั น ของก ำลั ง คนใน
หน่วยงำน
- ได ท
้ รำบถึ ง ภำระงำนของบุ ค ลำกรใน
หน่วยงำน
้
- ข ้อมูลทีไ่ ด ้สำมำรถนำไปใชในกำรก
ำหนด
กรอบอัตรำกำลังทีเ่ หมำะสมของบุคลำกรใน
หน่วยงำน
* ควรตอบวัตถุประสงค์ตำมทีต
่ งั ้ ไว ้
32
1.4 ขอบเขตหรือข ้อจำกัด
ี้ จง ให ้ทรำบถึงขอบเขตหรือข ้อจำกัด
ต ้องเขียนอธิบำยชแ
ึ ษำวิเครำะห์เรือ
ของกำรศก
่ งนัน
้ ๆ
ว่ำเรือ
่ งทีก
่ ำลังวิเครำะห์อยูน
่ ม
ี้ ข
ี อบเขต ครอบคลุมถึง
่ ...
เรือ
่ งอะไร แค่ไหน เพียงใด เชน
กรณีตำแหน่ง น.วิเครำะห์ หรือ ตำแหน่งบุคลำกรในกำร
วิเครำะห์ควำมต ้องกำรกำลังคน จะครอบคลุมบุคลำกรที่
เป็ นข ้ำรำชกำร และพนักงำนมหำวิทยำลัยทัง้ นีไ
้ ม่รวมไป
ถึงลูกจ ้ำงชวั่ ครำวและ พนักงำนองค์กรในกำกับของ
มหำวิทยำลัย
33
1.5 คำจำกัดควำมเบือ
้ งต ้น
ี้ จงให ้ทรำบถึงคำจำกัดควำม
ต ้องเขียนอธิบำยชแ
ึ ษำวิเครำะห์นัน
ต่ำงๆ ทีม
่ อ
ี ยูใ่ นเรือ
่ งทีท
่ ำกำรศก
้ ๆ
ค ำศั พ ท์เ ฉพำะที่ม ีใ นคู่ ม ือ อำจเป็ นภำษำไทย หรื อ
่ ...
ภำษำต่ำงประเทศ หรือ คำย่อ ก็ได ้ เชน
บุคลำกร หมำยถึง.............
สำยวิชำกำร หมำยถึง.............
สำยสนับสนุน หมำยถึง.............
34
เทคนิคการเขียน บทที่ 2
ทฤษฎี/งานวิเคราะห์/วิจ ัยทีเ่ กีย
่ วข้อง
หลักในกำรเขียนแนวคิดทฤษฎี มีดงั นี้
۞ จัดหมวดหมูข
่ องแนวคิด-ทฤษฎีตำ่ งๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้องให ้เป็ น
หมวดๆ เพือ
่ ให ้เห็นแนวทำงในกำร review literature
ั เจน
อย่ำงชด
۞ จัดลำดับของหมวดหมูใ่ ห ้เหมำะสม
۞ เขียนและเรียบเรียงควำมรู ้ด ้วยภำษำวิชำกำรให ้เป็ นควำม
ื่ มโยงกัน
ต่อเนือ
่ งเชอ
35
ต ัวอย่างการเขียน
ทฤษฎีทเี่ กีย
่ วข้อง
ในบทที่ 2
36
บทที่ 2
ทฤษฎีและงานวิเคราะห์ ที่เกีย่ วข้ อง
2.1 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องในการทาวิจัย
2.1.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ทาการศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดการทรัพยากรมนุษย์
(Human Resource Management) ได้แก่ แนวคิดของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของ
เชาว์ โรจนแสง (2544) ที่กล่าวถึงหลักการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ขอบเขตของการ
จัดการทรัพยากรมนุษย์, ความเป็ นมาของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดของ
Ferderick W. Taylor, แนวคิดของ Hugo Munsterberg, แนวคิดของ Douglas McGregor
และแนวคิดของ Robert Oven (อนิวชั แก้วจานงศ์, 2552), ระบบการจัดการทรัพยากร
มนุษย์ของ อนันต์ บุญสนอง (2550)
37
2.1.2 แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ทาการศึกษาแนวคิดทฤษฎี่เกี่ยวข้องกับการบริ หารทรัพยากร
มนุษย์ ได้แก่ ทฤษฎีการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ (จิระจิต บุนนาค,
2544) ลักษณะการบริ หารทรัพยากรมนุษย์และกิจกรรมการบริ หาร
ทรัพยากรมนุษย์ (Mondy, Noe and Premeaux, 1999, Dessler, 1997,
Byars and Rue. 1997, Ivancevich. 1998) การบริ หารทรัพยากรมนุษย์
เชิงกลยุทธ์ (เสน่ห์ จุย้ โต, 2544, สมชาย หิ รัญกิติ, 2544), การบริ หาร
ทรัพยากรมนุษย์แบบไทยๆ (นิสดารก์ เวชยานนท์, 2543) และ การ
บริ หารทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์ (จาเนียร จวงตระกูล, 2550)
38
2.1.3 แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ทาการศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) ได้แก่
แนวคิดในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ Leonard Nadler and
Zeace Nadler (1980), Ellen Emst Kossek and Richaard N.
Block (2002), R. Wayne Mondy and Robert M.Noe (2005),
เป้ าหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (สุ จิตรา ธนานันท์,
2551) ทฤษฎีทุนมนุษย์ และกลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
(อาภรณ์ ภู่วทิ ยพันธุ์, 2554)
39
2.1.4 แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับการบริหารและการพัฒนาองค์ การ
ทาการศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารและการพัฒนาองค์การ ได้แก่
ทัศนะเกี่ยวกับการพัฒนาองค์การ (Egan, 2000, Swanson and Holton, 2001), ความเป็ นมา
ของการพัฒนาองค์การ และกระบวนการพัฒนาองค์การ (Commings and Worley, 2001)
ลักษณะของการพัฒนาองค์กรตามแนวคิดของสร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ
(2553) หลักการพื้นฐานของการพัฒนาองค์กร (Beer, 1995)
วัตถุประสงค์ของการพัฒนาองค์กร ซึ่ งในการพัฒนาองค์กร (OD) ได้มีการถกเถียง
กันในเรื่ องของแนวความคิด หลักการและแนวทางการปฏิบตั ิอยู่ ซึ่ งยังไม่มีขอ้ ยุติกต็ าม
แต่โดยทัว่ ไปเมื่อมีการพัฒนาองค์กรจะต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ของการพัฒนา
องค์กร
40
กำรเขีย นเอกสำรที่เ กี่ย วข ้องนั ้น ก่อ นอื่ น เรำ
ต ้องย่อเอกสำรเอำไว ้ก่อนเล่มละ 1-4 หน ้ำ ในกำร
ย่อนัน
้ จะต ้องมีหวั ข ้อ ดังนี้
ื่ ผู ้เขียน
۞ ชอ
่ื เรือ
۞ ชอ
่ งทีเ่ รำอ่ำนมำ
่ื สถำบันของเรือ
۞ ชอ
่ ง
۞ ปี พ.ศ. ทีพ
่ ม
ิ พ์
۞ วัตถุประสงค์ของวรรณกรรมนัน
้
ึ ษำ(ทำอย่ำงไรเขำจึงได ้ข ้อสรุปออกมำ)
۞ วิธก
ี ำรทีเ่ ขำศก
ึ ษำของเขำ ค ้นพบควำมจริงอะไรบ ้ำง
۞ ผลกำรศก
41
ต ัวอย่างการเขียน
วรรณกรรม/งานวิจ ัยที่
เกีย
่ วข้องในบทที่ 2
42
2.2 งานวิเคราะห์ /งานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง
จงศักดิ์ ผดุงทรัพย์ (2551) ได้ทาการวิจยั เรื่ อง “การศึกษาเรื่ องกลไกการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ของตุลาการ”
ผลการศึกษาพบว่า กลไกการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ของตุลาการด้านการบรรจุแต่งตั้ง คือ มีการกาหนดอายุข้ นั ต่า มี
การกาหนดประสบการณ์ในการทางานและวุฒิการศึกษาขั้นต่า นอกจากนี้ยงั มีกระบวนการฝึ กอบรมเกี่ยวกับการ
โยกย้าย มีการกาหนดบัญชีอาวุโสศาลในการแต่งตั้งโยกย้ายและกาหนดวาระในการดารงตาแหน่งทางการบริ หาร
เกี่ยวกับการพิจารณาความดีความชอบ มีการกาหนดตัวบุคคล ผูพ้ ิจารณาความดีความชอบในลาดับต่างๆ และมีการใช้
ระบบบัญชีเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่งแบบแท่ง เกี่ยวกับการขึ้นตาแหน่งหรื อการเลื่อนตาแหน่ง มีการจัดลาดับ
อาวุโสตัวของผูพ้ ิพากษา เกี่ยวกับการลงโทษทางวินยั มีการแต่งตั้งกรรมการสอบข้อเท็จจริ งในชั้นต้นก่อนมีการตั้ง
กรรมการสอบสวนทางวินยั เว้นแต่ความผิดที่ชดั แจ้ง
ปั จจัยที่ส่งเสริ มกลไกและวิธีการทางการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ของตุลาการ พบว่า ใช้กฎหมายซึ่ งออกโดย
ฝ่ ายนิติบญั ญัติ และระเบียบ ประกาศ รวมถึงวัฒนธรรมการบริ หารงานบุคคลที่สะสมมานาน
จุดอ่อน จุดแข็ง ในการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ของตุลาการ พบว่า ทั้ง 5 ด้าน คือ การบรรจุแต่งตั้ง การ
โยกย้าย การพิจารณาความดีความชอบ การขึ้นตาแหน่งหรื อเลื่อนตาแหน่ง และการลงโทษทางวินยั มีท้ งั จุดอ่อนและ
จุดแข็ง สาหรับจุดแข็งที่สาคัญ คือ ระบบอาวุโสที่ใช้มานาน ส่ วนจุดอ่อน คือ การกาหนดให้เงินเดือนและเงินประจา
ตาแหน่งของผูพ้ ิพากษาศาลชั้นต้นจนถึงอธิ บดีผพู ้ ิพากษาศาลชั้นต้น และของผูพ้ ิพากษาศาลอุทธรณ์จนถึงรอง
ประธานศาลฏีกามีอตั ราเท่ากัน ทั้งที่ภารกิจ อานาจหน้าที่แตกต่างกัน
43
จีรศักดิ์ โพกาวิน (2551) ได้ทาการวิจยั เรื่ อง “การพัฒนาการศึกษาเพื่อพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศเวียดนาม หลังนโยบายโด๋ ยเม้ย (Doi Moi) ค.ศ.1986 2007” ผลการวิจยั พบว่า หลังจากมีการปฏิรูประบบเศรษฐกิจโดยใช้นโยบายโด๋ ย
เม้ย ในปี ค.ศ.1986 ได้ส่งผลอย่างมากต่อระบบการศึกษาของประเทศเวียดนาม
กล่าวคือ พ่อแม่ให้ลูกลาออก จากการศึกษากลางคันเพื่อต้องทางาน แรงงานวัยหนุ่ม
สาวต้องการมีรายได้จึงลาออกจากโรงเรี ยน และการนาระบบเก็บค่าหน่วยกิตมาใช้
ทาให้ผปู ้ กครองไม่สามารถจ่ายได้จึงให้บุตรหลานลาออกจาก การศึกษา ดังนั้น จึง
เป็ นที่มาสาคัญของการปฏิรูประบบการศึกษาของประเทศเวียดนาม โดยรัฐบาล ได้
ประกาศใช้นโยบาย Education for All (1990-2000) ขึ้นในปี 1992
ผลจากการศึกษาพบว่า ปัจจัยสนับสนุนที่ทาให้บรรลุเป้ าหมาย คือ วัฒนธรรม
รักการเรี ยนรู ้ และสนับสนุนคนเก่ง วิสยั ทัศน์ของผูน้ าที่ได้ดาเนินนโยบายด้าน
การศึกษาอย่างต่อเนื่องและจริ งจัง นโยบายและการดาเนินมาตรการตามแผนการ
ศึกษาอย่างจริ งจัง การได้รับความช่วยเหลือจากองค์กร ต่างชาติ ผูป้ กครอง ครู และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความร่ วมมืออย่างจริ งจัง และบทบาทของ สื่ อมวลชน
44
เทคนิคการเขียน บทที่ 3
หลักเกณฑ์ และวิธีการวิเคราะห์
ใชวิ้ ธก
ี ำรรูปแบบเดียวกับงำนวิจัย
๏ ประชำกรและกลุม
่ ตัวอย่ำง
้
๏ เครือ
่ งมือทีใ่ ชในกำรเก็
บรวบรวมข ้อมูล
๏ กำรเก็บรวบรวมข ้อมูล
้
๏ สถิตท
ิ ใี่ ชในกำรวิ
เครำะห์ข ้อมูล
๏ กำรวิเครำะห์ข ้อมูล
๏ เทคนิคอะไรในกำรวิเครำะห์ข ้อมูล
45
ในบทที่ 3 นี้ จ ะต อ้ งเขีย นอธิบ ำยช ี้แ จงให ท
้ รำบถึง
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ำรในกำรวิเครำะห์ อย่ำงไร ประชำกรคือใคร
กลุม
่ ตัวอย่ำงคือใครหรืออะไร และมีจำนวนเท่ำใด
้
เครื่อ งมือ ที่ใ ช ในกำรเก็
บ รวบรวมข ้อมูล คือ อะไร เป็ น
้
แบบสอบถำม แบบสัมภำษณ์ หรือ ตำรำงข ้อมูล สถิต ท
ิ ใี่ ช ใน
กำรวิเครำะห์ใชค่้ ำอะไร ค่ำร ้อยละ ค่ำเฉลีย
่ ค่ำกลำง ฯลฯ
กรณีทท
ี่ ต
ี่ ้องมี สูตร หรือ เกณฑ์มำตรฐำน และ วิธก
ี ำร
คำนวณ ต ้องเขียนสูตรและอธิบำยวิธก
ี ำรใชสู้ ตรในกำรคำนวณ
นัน
้ ๆ ประกอบด ้วย
้
และใชเทคนิ
ควิธใี ดในกำรวิเครำะห์ครัง้ นี้
46
เทคนิคต่ างๆ ในการวิเคราะห์
ในการทางานวิเคราะห์ มีหลักความรู้ ทฤษฎี หรื อ เครื่ องมือที่จะนามาใช้ใน
การวิเคราะห์งานหรื อวิเคราะห์เอกสาร มีหลายหลักวิธีดว้ ยกัน คือ....
BRAIM STORMING/ระดมสมอง
TREE DIAGRAM/ผ ังรากไม้
FISH BONE DIAGRAM/ผ ังก้างปลา
DELPHI TECHNIQUE/เดลฟาย
47
เทคนิคต่ างๆ ในการวิเคราะห์ (ต่ อ)
DEMING CYCLE/วงจรเดมมิง PDCA
BALANCED SCORECARD/BSC
SWOT ANALYSIS/จุดอ่อน จุดแข็ง
SIX SIGMA
BENCHMARKING
STANDART TECHNIQUE
Comparison techniques
48
ต ัวอย่างการเขียน
หล ักเกณฑ์และ
วิธก
ี ารวิเคราะห์
ในบทที่ 3
49
บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิเคราะห์
การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนคร
เหนือ ผู้วิเคราะห์ได้ ดาเนินการวิเคราะห์ ตามลาดับขันตอนดั
้
งต่อไปนี ้
- กาหนดวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์
- ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
- การจัดเก็บข้ อมูล
- เครื่ องมือที่ใช้ ในการเก็บข้ อมูล
- แหล่งข้ อมูลและการเก็บรวบรวมข้ อมูล
- การวิเคราะห์ข้อมูลและการนาเสนอ
50
3.1 ขัน้ ตอนการกาหนดวัตถุประสงค์
ในการกาหนดวัตถุประสงค์นนผู
ั ้ ้ วิเคราะห์ได้ ดาเนินการกาหนด
วัตถุประสงค์ของการศึกษาโดยให้ ความสาคัญกับการบริ หารจัดการ
ทรัพยากรมนุษย์ของสถาบันอุดมศึกษาคือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้ าพระนครเหนือ
3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
ประชากร : บุคลากรทังหมดของมหาวิ
้
ทยาลัยพระจอมเกล้ า
พระนครเหนือจานวน 1,850 คน
กลุ่มตัวอย่ าง : ตัวแทนของประชากรที่ได้ ทาการคัดเลือก
สาหรับใช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล จานวน 320 คน
51
3.3 ขัน้ ตอนการเก็บรวบรวมข้ อมูล
ในการเก็บรวบรวมข้ อมูลนันผู
้ ้ วิเคราะห์ได้ ดาเนินการเก็บรวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับ
การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนคร
เหนือจากบุคลากร โดยการทาหนังสือรับรองในการเก็บรวบรวมข้ อมูลจากหน่วยงานต้ น
สังกัด แล้ วดาเนินเก็บรวบรวมข้ อมูลตามจานวนที่กาหนดไว้
3.4 เครื่ องมือที่ใช้ ในการเก็บข้ อมูล
เครื่ องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมในครัง้ นี ้ได้ แก่แบบสอบถามสาหรับใช้ เพื่อ
ดาเนินการเก็บรวบรวมข้ อมูล
52
3.5 แหล่ งข้ อมูลและการเก็บรวบรวมข้ อมูล
ในการวิเคราะห์การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้ าพระนครเหนือ ผู้วิเคราะห์ได้ เก็บรวบรวมข้ อมูลจากงานนโยบายและแผน
รวมถึงยุทธศาสตร์ การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
3.6 การวิเคราะห์ ข้อมูลและการนาเสนอ
ในการวิเคราะห์ข้อมูลนัน้ ผู้วิเคราะห์ได้ ใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็จรูป และ
ดาเนินการวิเคราะห์โดยใช้ สถิติ ประกอบด้ วยสถิติพื ้นฐานได้ แก่ ค่าร้ อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน
53
เทคนิคการเขียน บทที่ 4
ผลการศึกษาวิเคราะห์
ในบทนี้จะเขียนถึงของของการศึกษาที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์ขอ้ มูลในรู ปของการ
พรรณนาวิเคราะห์ การใช้สถิติวิเคราะห์ การแปลความหมาย อาจนาเสนอใน
รู ปแบบที่เป็ นตาราง แผนภูมิ หรื อ กราฟ ในการช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น
การนาเสนอผลการศึกษา ควรนาเสนอตามลาดับเรื่ องของวัตถุประสงค์
ที่ต้ งั ไว้ในบทที่ 1 ซึ่งผลของการศึกษาวิเคราะห์จะต้องตอบวัตถุประสงค์ได้ทุก
ข้อตามที่ต้ งั ไว้
54
ต ัวอย่างการเขียน
ผลการวิเคราะห์
ในบทที่ 4
55
บทที่ 4
ผลการศึกษาวิเคราะห์
ผลการศึกษาความคิดเห็นจากนักศึกษา
ผลการศึกษาวิเคราะห์จากการเก็บรวบรวมข้ อมูลจากบุคลากรของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนครเหนือเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึง่ มี
ข้ อมูลที่สาคัญ 3 ส่วนดังนี ้
1. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนครเหนือ
3. ข้ อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากร
มนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนครเหนือ
56
ความคิดเห็นเกีย่ วกับการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้ าพระนครเหนือ
ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเกี่ยวกับการบริ หารจัดการทรัพยากร
มนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริ หารจัดการทรัพยากรมนุษย์
1.ด้านการพัฒนา
2. ด้านโอกาสและความก้าวหน้า
3. ด้านสวัสดิการ
4. ด้านสิ ทธิและผลประโยชน์
รวม
X
4.12
3.93
4.00
3.71
4.18
S.D.
0.61
0.52
0.52
0.65
0.47
ระดับ
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
จากตารางที่ 4.2 พบว่าความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริ หารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.18) และเมื่อพิจารณาเป็ นราย
ด้าน โดย 3 ด้านแรกที่มีค่าเฉลี่ยสู งสุ ดคือ ด้านการการพัฒนา ( X = 4.12) ด้านสวัสดิการ ( X = 4.00) ด้าน
โอกาสและความก้าวหน้า ( X = 3.93) ส่ วนการบริ หารจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ด้าน
สวัสดิการและสิ่ งอานวยความสะดวก ( X = 3.71)
57
เทคนิคการเขียน บทที่ 5
สรุปและข้ อเสนอแนะ
•สรุปผลกำรวิเครำะห์
• ข ้อเสนอแนะ
58
ึ ษำวิเครำะห์โดยย่อ มีกำร
ในบทนีเ้ ป็ นกำรสรุปผลกำรศก
อภิปรำยผลกำรวิเครำะห์ ในสงิ่ ทีพ
่ บในบทที่ 4 เปรียบเทียบกับ
ึ ษำวิเครำะห์ในเรือ
ผลกำรศก
่ งเดียวกันหรือคล ้ำยคลึงกันของใคร
่ เดียวกับเรำ หรือขัดแย ้งกับสงิ่ ทีเ่ รำพบ
ทีพ
่ บเชน
ึ ษำวิเครำะห์นไ
มีกำรให ้ข ้อเสนอแนะ ว่ำจะนำผลกำรศก
ี้ ปใช ้
ประโยชน์ในกำรพัฒนำงำนงำน หรือปรับปรุงงำนได ้อย่ำงไร?
ต ้องทำอะไร? เตรียมอะไร? มีข ้อปฏิบต
ั อ
ิ ย่ำงไร?
ึ ษำวิเครำะห์ในครัง้ ต่อไป ควรจะเป็ นเรือ
และถ ้ำจะศก
่ งใด? และ
ทำในลักษณะใด?
59
การเขียนข้อเสนอแนะ
หลังจำกกำรตรวจสอบ หรือกำรวิจัย /วิเครำะห์เสร็ จ ก็
จะเจอกับปั ญหำอุปสรรค ต่ำงๆ แล ้วต ้องมำนั่ ง สรุปปั ญ หำ
ทั ง้ หมด เมื่อ สรุ ป ปั ญหำทั ง้ หมดแล ้วเรำก็ ม ำแยกว่ำ แต่ล ะ
ปั ญหำ ถ ้ำเกิดแล ้วจะสง่ ผลกระทบอย่ำงไร และมีผลกระทบ
มำกในระดับไหน
สุดท ้ำยก็ เสนอแนะวิธก
ี ำรแก ้ไข หรือ เสนอข ้อคิดเห็ น
เกีย
่ วกับทำงออกของปั ญหำนั น
้ สว่ นข ้อดีไม่ต ้องเอำมำเสนอ
ี หรือต ้องกำรให ้เกิด
กำรเสนอแนะจะทำก็ตอ
่ เมือเจอข ้อเสย
สงิ่ ทีดแ
ี ละเหมำะสมกว่ำ
60
การเขียนข้อเสนอแนะสาหรั บการวิจยั /วิเคราะห์ในครั้ งต่อไป
เป็ นการนาเสนอว่า ถ้าจะมีการวิจยั /วิเคราะห์ต่อไป ควรคานึงถึงอะไรบ้าง
หรื อควรท าเรื่ องอะไรบ้า ง หรื อ ควรจะเพิ่ ม ตัว แปรอะไรบ้า ง ควร
ปรับปรุ งวิธีดาเนินการอย่างไร เครื่ องมือในการวิจยั /วิเคราะห์ควรใช้แบบ
ไหน
ให้เสนอแนะว่าใคร หน่ ว ยงานใด ควรจะดาเนิ นการอะไรต่อไป
ข้อเสนอแนะต้องเป็ นข้อเสนอที่ได้จากการวิจยั /วิเคราะห์ ไม่ใช่ขอ้ เสนอแนะ
ในเชิงทฤษฏี ที่ไม่ได้มาจากข้อค้นพบในการวิจยั /วิเคราะห์ และต้องเป็ นเรื่ อง
ที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่วิจยั /วิเคราะห์
61
การเขียนบรรณานุกรม
โดยแยกบรรณำนุกรมสงิ่ พิมพ์ภำษำไทยและ
บรรณำนุกรมสงิ่ พิมพ์ภำษำต่ำงประเทศ และแต่ละภำษำ
นัน
้ ให ้เรียงตำมลำดับอักษร แบบพจนำนุกรมฉบับรำช
บัณฑิตสถำน และ พจนำนุกรมภำษำอังกฤษทัว่ ไป
กำรเขียนบรรณำนุกรมจะเรียงลำดับอักษร
และพยัญชนะ โดยเป็ นภำษำไทยก่อนตำมด ้วย
ภำษำอังกฤษ
62
ต ัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม
บุญชม ศรี สะอาด.(2548).การวิจัยเบือ้ งต้ น.กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ สุ วีริสานส์น.
สานักงานเลขาธิการรัฐสภา.(2550).จุลสารเฉพาะกรณี การ พัฒนาพืน้ ที่บริเวณชายฝั่งทะเล
ตะวันตก.กรงเทพฯ : ศูนย์บริ การเอกสารและค้นคว้า.
Brown,Lorri D.(2012).Assesing the Quality of Management. Washington D.C.Age Khan
Foundation.
Meadows,Donnella H.,Meadows,Dennis L.(2011).The Limits to Growth .London : Pan
Book Ltd.
63
การเขียนรายงานผลการวิเคราะห์
การเขียนรายงานการวิเคราะห์ มีทงั ้ แบบฉบับ
ั ้ กรณีรำยงำนแบบไม่เป็ น
สมบูรณ์ฉบับเต็ม และแบบฉบับสน
ั ้ แต่จะครอบคลุม
ทำงกำรจะเขียนรำยงำนทีเ่ ป็ นฉบับสน
้
สำระสำคัญของกำรวิเครำะห์ ใชภำษำง่
ำยๆ เรียบเรียงโดยใช ้
ควำมคิดเป็ นของตนเอง ประกอบด ้วย..... วัตถุประสงค์
ึ ษำวิเครำะห์ ผลกำรวิเครำะห์ และข ้อเสนอแนะ
วิธด
ี ำเนินกำรศก
จำกกำรวิเครำะห์
ั ้ อำจมีควำมยำวเพียง 1 หน ้ำกระ
รำยงำนทีเ่ ป็ นฉบับสน
ั้
ดำษ A4 จนถึง 3-6 หน ้ำกระดำษ A4 และถึงแม ้จะเป็ นฉบับสน
แต่ก็ควรมีสำระสำคัญทีค
่ รบถ ้วน
64
ต ัวอย่างห ัวข้อ
ในการทางานวิเคราะห์
65
ต ัวอย่างห ัวข้อการเขียนงานวิเคราะห์
ของตาแหน่งน ักวิชาการเงินและบ ัญช ี
-
วิเครำะห์งบประมำณเงินรำยได ้ คณะ.....ประจำปี งบประมำณ....
วิเครำะห์งบประมำณเงินแผ่นดิน คณะ.....ประจำปี งบประมำณ....
วิเครำะห์กำรบริหำรเงินงบประมำณเงินรำยได ้ คณะ...ประจำปี งบประมำณ...
วิเครำะห์กำรบริหำรงบประมำณแผ่นดิน คณะ.....ประจำปี งบประมำณ...
วิเครำะห์งบประมำณแผ่นดิน คณะ......เปรียบเทียบ 3 พระจอม
วิเครำะห์งบประมำณเงินรำยได ้ คณะ.....เปรียบเทียบ 5 สถำบัน
วิเครำะห์แนวโน ้มงบประมำณเงินรำยได ้/แผ่นดิน คณะ......
ในปี งบประมำณ พ.ศ.25..-25..
วิเครำะห์กำรพึงพำตนเองด ้ำนเงินรำยได ้ คณะ.......
วิเครำะห์คำ่ ใชจ่้ ำยภำคบุคลำกร คณะ......
ต ัวอย่างห ัวข้อการเขียนงานวิเคราะห์
ึ ษา
ของตาแหน่งน ักวิชาการศก
-
-
-
ึ ษำระดับปริญญำตรี คณะ.....
วิเครำะห์กำรสอบคัดเลือกเข ้ำศก
ปี พ.ศ...
ึ ษำต่อระดับบัณฑิตศก
ึ ษำ
วิเครำะห์กำรสอบคัดเลือกเข ้ำศก
คณะ...ปี พ.ศ. ...
ึ ษำ คณะ...ชว่ งปี 25..-25..
วิเครำะห์กำรลำออกของนักศก
ึ ษำระดับปริญญำตรี
วิเครำะห์กำรลงทะเบียนเรียนของนักศก
คณะ.....ชว่ งปี 25..-25..
ึ ษำระดับบัณฑิตศก
ึ ษำ คณะ......ชว่ งปี
วิเครำะห์กำรลงทะเบียนเรียนของนักศก
25..-25..
ั ้ ของนักศก
ึ ษำ คณะ.... ปี พ.ศ. ...
วิเครำะห์กำรตกออก ซ้ำชน
ึ ษำ คณะ....ปี พ.ศ. ...
วิเครำะห์กำรเพิม
่ ถอน รำยวิชำของนักศก
วิเครำะห์หลักสูตร ป.ตรี/โท/เอก ของคณะ...ชว่ งปี พ.ศ.25..-25..
67
ต ัวอย่างห ัวข้อการเขียนงานวิเคราะห์
ของตาแหน่งบุคลากร
-
่ ำแหน่ง ผศ. รศ. ศ. คณะ.....ชว่ งปี พ.ศ...
วิเครำะห์กำรเข ้ำสูต
่ ำแหน่ง ชำนำญกำร เชย
ี่ วชำญ คณะ....ชว่ งปี
วิเครำะห์เข ้ำสูต
25..-25..
วิเครำะห์กำรลำออก โอนย ้ำยของบุคลำกร คณะ...ชว่ งปี 25..25..
วิเครำะห์กำรเปลีย
่ นตำแหน่ง คณะ.....ชว่ งปี 25..-25..
วิเครำะห์ผลกำรสรรหำบุคลำกร คณะ......ชว่ งปี 25..-25..
่ ำแหน่งวิชำกำรของสำยวิชำกำร
วิเครำะห์หลักเกณฑ์กำรเข ้ำสูต
่ ำแหน่งวิชำกำรของสำยสนับสนุน
วิเครำะห์หลักเกณฑ์กำรเข ้ำสูต
68
ต ัวอย่างห ัวข้อการเขียนงานวิเคราะห์
ของตาแหน่งน ักวิชาการพ ัสดุ
-
ื้ จัดจ ้ำงโดยวิธส
วิเครำะห์ผลกำรจัดซอ
ี อบรำคำ คณะ.....
ื้ จัดจ ้ำงโดยวิธป
วิเครำะห์ผลกำรจัดซอ
ี ระกวดรำคำ คณะ.....
ื้ จัดจ ้ำงโดยวิธต
วิเครำะห์ผลกำรจัดซอ
ี กลงรำคำ คณะ....
ื้ จัดจ ้ำงโดยวิธพ
วิเครำะห์ผลกำรจัดซอ
ี เิ ศษ คณะ......
วิเครำะห์ผลกำรบริหำรจัดกำรวัสดุ คณะ........
วิเครำะห์ผลกำรบริหำรครุภัณฑ์ คณะ.....
69
ต ัวอย่างห ัวข้อการเขียนงานวิเคราะห์
ของตาแหน่งเจ้าหน้าทีบ
่ ริหารงานทวไป
่ั
-
วิเครำะห์โครงกำร คณะ.....ทีด
่ ำเนินกำรในปี งบประมำณ 25..
วิเครำะห์ต ้นทุนกำรจัดประชุม กรรมกำรชุดต่ำงๆ คณะ... ปี 25..
วิเครำะห์ฐำนข ้อมูลด ้ำนอำคำร คณะ.......ปี 25..
วิเครำะห์คำ่ ใชจ่้ ำยในลักษณะต่ำงๆ คณะ.....ปี 25..
้ น
วิเครำะห์กำรใชพื
้ ทีข
่ องอำคำรต่ำงๆ คณะ....ปี 25..
เจ ้ำหน ้ำทีบ
่ ริหำรทั่วไปทีส
่ งั กัดภำควิชำ
-
วิเครำะห์หลักสูตร....... ภำควิชำ.....คณะ...
ึ ษำต่อ กำรเพิม
วิเครำะห์กำรลำศก
่ พูนวิชำกำร ภำควิชำ...คณะ.....
วิเครำะห์งบกำรเงิน ภำควิชำ..... คณะ......ปี งบประมำณ 25..
วิเครำะห์กำรจอง/ใช ้ ห ้องประชุม ภำควิชำ....คณะ.... ปี พ.ศ. ...
70
ต ัวอย่างห ัวข้อการเขียนงานวิเคราะห์
ของตาแหน่งน ักวิทยาศาสตร์
-
วิเครำะห์ผลกำรทดลองในห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ำร...... ของ
ึ ษำ คณะ.....ปี พ.ศ...
นั กศก
้
วิเครำะห์วัสดุวท
ิ ยำศำสตร์ทใี่ ชในห
้องปฏิบต
ั ก
ิ ำร คณะ...
ปี 25..
วิเครำะห์กำรเตรียม Lab วิชำ.......ภำคต ้น คณะ...ปี 25..
วิเครำะห์กำรเตรียม Lab วิชำ.......ภำคปลำย คณะ.....
ชว่ งปี 25..
วิเครำะห์กำร...........
คณะ......ชว่ งปี 25..-25..
วิเครำะห์กำร...........
คณะ......ชว่ งปี 25..-25..
71
ต ัวอย่างห ัวข้อการเขียนงานวิเคราะห์
ของตาแหน่งอืน
่ ๆ
ึ ษำใหม่ (น.วิชำกำรศกึ ษำ,น.วิเครำะห์,จ.บริหำร)
- วิเครำะห์นักศก
ึ ษำเต็มเวลำ (น.วิเครำะห์)
- วิเครำะห์นักศก
ั้
- วิเครำะห์กำรตกออกซำ้ ชน
ึ ษำ,น.วิเครำะห์,จ.บริหำร)
(น.วิชำกำรศก
ิ ธิข
ึ ษำ
- วิเครำะห์กำรสละสท
์ องนักศก
ึ ษำ,น.วิเครำะห์,
(น.วิชำกำรศก
จ.บริหำร)
้
- วิเครำะห์กำรใชประโยชน์
จำกอำคำร
(น.วิเครำะห์,จ.บริหำร)
้ น
- วิเครำะห์ควำมต ้องกำรใชพื
้ ทีอ
่ ำคำร
- วิเครำะห์หลักสูตร
(น.วิเครำะห์,จ.บริหำร)
ึ ษำ,น.วิเครำะห์,จ.บริหำร)
(น.วิชำกำรศก
้
- วิเครำะห์ควำมต ้องกำรใชสำธำรณู
ปโภค (น.วิเครำะห์,จ.บริหำร)
ั ยภำพบุคลำกร (จ.บุคคล,น.วิเครำะห์,จ.บริหำร)
- วิเครำะห์ศก
72
ตัวอย่ างหัวข้ อการเขียนงานวิเคราะห์
ของตาแหน่ งอืน่ ๆ (ต่ อ)
-
วิเคราะห์การจัดซื้อวัสดุ/ครุ ภณั ฑ์(น.พัสดุ,น.วิเคราะห์,จ.บริ หาร)
- วิเคราะห์การบริ หารวัสดุ/ครุ ภณั ฑ์ (น.พัสดุ, น.วิเคราะห์,จ.บริ หาร)
- วิเคราะห์การบริ หารงบประมาณ (น.การเงิน, น.วิเคราะห์)
- วิเคราะห์หนังสื อเข้า-ออก (จ.บริ หาร)
- วิเคราะห์การการเข้าสู่ตาแหน่ง ผศ รศ. ศ.(น.วิเคราะห์,จ.บุคคล)
- วิเคราะห์ความต้องการกรอบอัตรา ช. ชช. (น.วิเคราะห์,จ.บุคคล)
- วิเคราะห์ งปม.ที่ได้รับระยะ 3ปี (น.การเงิน,น.วิเคราะห์,จ.บริ หาร)
- วิเคราะห์ความต้องการห้องเรี ยนบรรยาย (น.วิเคราะห์,จ.บริ หาร)
- วิเคราะห์ความต้องการห้องปฏิบตั ิการ (น.วิทย์,น.วิเคราะห์)
- วิเคราะห์สถิติผปู้ ่ วย (น.เวชสถิติ)
73
ต ัวอย่างการเขียนรายงานการวิเคราะห์
ึ ษา
ของตาแหน่งน ักวิชาการศก
ึ ษาใหม่
การวิเคราะห์น ักศก
ึ ษำใหม่ จำแนกตำมภูมล
ตารางที.่ . แสดงจำนวนนักศก
ิ ำเนำ
ที่
ภูมล
ิ าเนา
จานวน
ร้อยละ
1
2
3
4
ฯลฯ
ึ ษำใหม่จำนวน ..... คน คิดเป็ นร ้อยละ ...... มี
จำกตำรำงที.่ .. นักศก
ึ ษำใหม่ จำนวน
ภูมล
ิ ำเนำจำกจังหวัด.........มำกทีส
่ ด
ุ รองลงมำ นักศก
.... คน และ ......... คิดเป็ นร ้อยละ ...... , ...... ตำมลำดับ มีภม
ู ล
ิ ำเนำ
ึ ษำใหม่ จำนำน.....คน
จำกจังหวัด.........และ จังหวัด........ โดยมีนักศก
คิดเป็ นร ้อยละ......มีภม
ู ล
ิ ำเนำจำกจังหวัด...................... น ้อยทีส
่ ด
ุ
74
ึ ษาใหม่
การวิเคราะห์น ักศก
ึ ษำใหม่ จำแนกตำมอำชพ
ี ผู ้ปกครอง
ตารางที.่ . แสดงจำนวนนักศก
ที่
ี ผูป
อาชพ
้ กครอง
จานวน
ร้อยละ
1
2
3
4
ฯลฯ
ึ ษำใหม่จำนวน ..... คน คิดเป็ นร ้อยละ ...... บิดำมี
จำกตำรำงที.่ ..นักศก
ี .........มำกทีส
ึ ษำใหม่ จำนวน .... คน และ
อำชพ
่ ด
ุ รองลงมำ นักศก
ี และ อำชพ
ี
......... คิดเป็ นร ้อยละ ...... , ...... ตำมลำดับ บิดำมีอำชพ
ึ ษำใหม่ จำนำน.....คน คิดเป็ นร ้อยละ......บิดำมีอำชพ
ี
........ โดยมีนักศก
................ น ้อยทีส
่ ด
ุ
75
ั้
การวิเคราะห์ตกออกซา้ ชน
ึ ษำทีต
ตารางที.่ . แสดงจำนวนนักศก
่ กออก จำแนกตำมเกรด
ที่
เกรดเฉลีย
่ สะสม
จานวน
ร้อยละ
1
2
3
4
ฯลฯ
ึ ษำทีต
จำกตำรำงที.่ .นักศก
่ กออกจำนวน ..... คน คิดเป็ นร ้อยละ ...... ตก
ึ ษำทีต
ออกด ้วยเกรด.........มำกทีส
่ ด
ุ รองลงมำ นักศก
่ กออก จำนวน .... คน
และ ......... คิดเป็ นร ้อยละ ...... , ...... ตำมลำดับตกออกด ้วยเกรด.........
ึ ษำทีต
และ เกรด........ โดยมีนักศก
่ กออก จำนำน.....คน คิดเป็ นร ้อยละ......
ตกออกด ้วยเกรด...................... น ้อยทีส
่ ด
ุ
76
ั้
การวิเคราะห์ตกออกซา้ ชน
ึ ษำทีต
ั ้ ปี
ตารางที.่ . แสดงจำนวนนักศก
่ กออก จำแนกตำมชน
ที่
ั้ ทีต
ชนปี
่ กออก
จานวน
ร้อยละ
1
2
3
4
ฯลฯ
ึ ษำทีต
จำกตำรำงที.่ . นักศก
่ กออกจำนวน ..... คน คิดเป็ นร ้อยละ ...... กำลัง
ึ ษำในชน
ั ้ ปี ท.ี่ ........มำกทีส
ึ ษำทีต
ศก
่ ด
ุ รองลงมำ นักศก
่ กออก จำนวน .... คน
ึ ษำในชน
ั ้ ปี ท ี่ และ ชน
ั้
และ ......... คิดเป็ นร ้อยละ ...... , ...... ตำมลำดับกำลังศก
ึ ษำทีต
ปี ท ี่ ........ โดยมีนักศก
่ กออก จำนำน.....คน คิดเป็ นร ้อยละ...... กำลัง
ึ ษำในชน
ั ้ ปี ท.ี่ ............ น ้อยทีส
ศก
่ ด
ุ
77
ฝึ กปฏิบัติ
ให้เขียนโครงร่ างการวิเคราะห์งาน
ตามรู ปแบบที่กาหนดให้
78