หลักการเขียน proposal - คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Download Report

Transcript หลักการเขียน proposal - คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หลักการเขียน proposal
สุ ธีระ ประเสริ ฐสรรพ์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ.
12 ตุลาคม 2554
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม. ขอนแก่น
ความสาคัญของการทาวิจยั
วิจัยคืออะไร

คือการหาความรู ้ในสิ่ งที่อยากรู ้ ที่..
• หาไม่ได้จากกระบวนการอื่น เช่น เรี ยน อบรม ซึ่ งหาความรู ้ได้ง่ายกว่าวิจยั (ถ้า
มีความรู ้ที่พร้อมจะให้โดยกระบวนการเหล่านั้น)

คือกระบวนการแก้ปัญหา ด้วย...
• ความรู ้ที่หาเองจนเข้าใจและรู ้ถึงเหตุ แล้วเอาความรู ้ไปใช้แก้ปัญหา

คือการพัฒนาตนเองและงาน ด้าน...
• ความคิดที่มีตรรกะและเป็ นระบบจนเกิดปั ญญาและการพัฒนางานของตน
วิจัยมีกระบวนการอย่ างไร








กาหนดเป้ าหมาย
ตั้งคาถามที่เป็ นปัญหาต่อเป้ าหมาย
ตั้งสมมุติฐาน (เหตุแห่งปัญหา)
กาหนดข้อมูลที่ตอ้ งหามาพิสูจน์เหตุ
วิจยั คือการหาความรู ้
กาหนดวิธีการหาข้อมูล
หาข้อมูล
วิเคราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มูล
เอาไปทาให้เป้ าหมายบรรลุ วิจยั คือการแก้ปัญหา
วิจยั คือการพัฒนาตนเองและงาน
วิจัยสาคัญอย่ างไร?

ถ้าไม่มีความรู ้ (จากวิจยั )
•
•
•
•
•
•
•
คนเราต้องยังอยูใ่ นถ้ า
อายุส้ นั
ไม่พฒั นาเป็ นสังคมเกษตรกรรม
การเปลี่ยนแปลงที่บอกว่างานวิจยั สาคัญ
ไม่มีภาษาเขียนที่บนั ทึกความรู ้
อยูด่ ว้ ยสัญชาติญาณ
จินตนาการน้อย
ไม่ตอ้ งมาทา workshop การเขียน proposal ผลของการเชื่อว่างานวิจยั สาคัญ
วิจัยเป็ นเรื่องของคนมหาวิทยาลัย

ทาไมต้องเขียน proposal?
• ต้องการได้เงินทาวิจยั

ทาไมต้องทาวิจยั ?
• ต้องการตาแหน่งทางวิชาการ มหาวิทยาลัยคิด KPI วิจยั (ยศให้ ลาภ)

ทาไมมหาวิทยาลัยคิด KPI อาจารย์จากงานวิจยั ?
ของคนทาวิจยั
• เพราะมหาวิทยาลัยต้องแข่งกันสร้างชื่อเสี ยงจากวิจยั (ยศ)

ทาไมมหาวิทยาลัยต้องการมีชื่อเสี ยงจากวิจยั ?
• เพราะเท่ดี เพราะดูมี class…. แห่งชาติ (สรรเสริญ)
• เพราะตามกติกาการจัดสรรงบประมาณจะได้งบมาก (สุ ข)
ของใครในมหาวิทยาลัย?
แนวทางและหลักการเขียนข้ อเสนอ
โครงการวิจัย
รูปแบบการวิจัยแบบประมวลความ (induction)
เอาผลไปใช้
อ๋ อ สรุ ปแล้วเป็ นอย่างนี้เอง
ทฤษฎี
ข้อสรุ ป
รวมๆ แล้วน่าจะ “เข้าทาง” นี้
ได้ยนิ มาว่า....
หายสงสัย
0 มีปัญหา
1 ข้อสงสัย
2 ถามใครดีหว่า?
3 ถามอะไร?
4 ถามด้วยเครื่ องมือ
อะไร?
การทาวิจยั ให้หายสงสัย
การคิด proposal ด้วยหลักถาม
ผูร้ ู ้แล้วเชื่อมัน่ ด้วยสถิติ
รูปแบบการวิจัยแบบคัดสรรทางเลือก (reduction)
1 อยากแก้ปัญหานี้จงั
ทฤษฎี
ปัญหาหลัก
ทฤษฎี
ตรวจสอบ
2 ฮ้า! มีแนวทางนี้ดว้ ยหรื อ?
ทฤษฎี
ปัญหาหายไหม?
เอาผลไปใช้
ทาวิจยั ได้ผล
ออกแบบวิจยั
3 วิธีน้ ีดีจงั
การคิด proposal ด้วยหลัก compromise
and optimize alternatives
การทาวิจยั แก้ปัญหา
เส้นเขตแดน
R กับ D
สองแนวทางที่ต่างกันของงาน R&D
Supply-push (เพือ่ ตีพมิ พ์ )
Demand-pull (เพือ่ ใช้ งาน)
โจทย์เริ่ มจากนักวิจยั
มีการจัดการต้นทางน้อย
ผลลัพธ์ไม่สนใจความเป็ นจริ งและการปฏิบตั ิได้
จัดการปลายทางยากหรื อทาไม่ได้
โจทย์เริ่ มจากผูใ้ ช้งาน
มีการจัดการต้นทางมาก
ผลลัพธ์ตอ้ งมีเงื่อนไขที่เกิดจริ งและปฏิบตั ิได้
จัดการปลายทางง่าย
นักวิจยั ไม่คิดว่าเป็ นการลงทุน
กรอบทรัพยากรไม่จากัด
นักวิจยั อัตตาสูง
ผูจ้ ะใช้งานคิดถึงการลงทุน
เงิน เวลา จากัด
นักวิจยั ถูกทาให้ละอัตตา
การ review แคบ
Review หลายมิติ
สนใจตีพิมพ์ ไม่สนใจ IP
ไม่ตอ้ งการตีพิมพ์ ต้องจด IP
หลักการ review ข้ อมูล



การ review เพื่อให้มีขอ้ มูลมา support ให้แหล่งทุนเชื่อว่า...
เพื่อตีพิมพ์: Review เพื่อให้เชื่อว่าได้ความรู ้ใหม่ที่ตีพิมพ์ได้ จึงต้อง
review การตีพิมพ์ใน journal
เพื่อใช้งาน
• เศรษฐกิจ: Review เพื่อให้เชื่อว่าทาแล้วเกิดเศรษฐกิจ เช่น แข่งขันได้ จึงต้อง
review ตลาด benchmarking คู่แข่ง สิ ทธิ บตั ร เงื่อนไขข้อตกลงการค้า เงื่อนไข
สิ่ งแวดล้อม ฯลฯ
• นโยบาย: Review ปัญหาสังคม บริ บทภูมิภาค/โลก ยุทธศาตร์การพัฒนา ฯลฯ
แหล่ งทุนเชื่อเมื่อ...

มี “ลายแทง” (proposal) ที่ดีดว้ ยคาถา...
• เพื่อตีพิมพ์ “แม่นยา ใหม่”
• เพือ่ ใช้งาน “ถูก เร็ ว ใช้ได้ตามเงื่อนไข สอดคล้องกับบริ บท”

มัน่ ใจว่ามีคนต้องการความรู ้น้ นั โดยบอก “บริ บท” ของ
• เพื่อตีพิมพ์ “ความรู ้ปัจจุบนั และช่องว่างความรู ้ที่สาคัญ”
• เพือ่ ใช้งาน “คนที่ตอ้ งการความรู ้ และสิ่ งแวดล้อมของการใช้ความรู ้”
จุดเริ่มต้ นของการรู้มากกว่ า




Journal review ทาให้เรารู ้เท่าคนอื่น
การวิเคราะห์ความรู ้ที่คนอื่นพบแล้ว (ควร) ทาให้เรารู ้วา่ มี “ช่องว่าง
ความรู ้” อะไรบ้าง
ต้องเลือก “ช่องว่างความรู ้” โดยตอบให้ได้วา่ “อยากรู ้เพิม่ ในช่องนั้น
ทาไม?”
ดังนั้น การจับประเด็นวิจยั ประเภทที่หาองค์ความรู ้กเ็ ริ่ มด้วย “วิจยั ” คือ
เลือกประเด็นที่น่าทา (อย่างมีเหตุผล)
จุดเริ่มต้ นของการเอาผลใช้ งาน






ลูกค้า (คนใช้) เขาไม่ชอบอะไรในสิ่ งปัจจุบนั (ข้อด้อย)
ความรู ้ที่ใกล้ commercial ที่สุดในการแก้ขอ้ ด้อยว่าอย่างไร
ข้อด้อยนั้นทาให้ดีได้ดว้ ย “หลักการอะไร” บ้าง
หลักการทั้งหลายนั้น อันไหนดีที่สุด (ใช้เกณฑ์อะไรประเมิน)
เช่น เขาไม่ชอบยางล้อแบบผ้าใบ เพราะมีขอ้ ด้อยคือระเบิดง่าย
หลักการแก้คือ
• ยางตัน
• หาอย่างอื่นแทนผ้าใบ (เลือกทางนี้จนได้เส้นใยเหล็กเป็ นยางเรเดียล)
สรุป งานจะผ่ านขั้นแรกเมื่อทาการบ้ านมาก่ อนว่ า...



มีนยั สาคัญว่า (แหล่งทุน) น่าเสี ยเงินเสี ยเวลาทาวิจยั (ดังนั้น ต้องรู ้วา่
แหล่งทุนเขาต้องการอะไร)
มีของเดิมเป็ นบันไดให้เดินขึ้น
ทั้ง 2 อย่างนี้ประกอบเป็ น “หลักการและเหตุผล” กับ “concept หรื อ
approach” ที่นามาเขียนโครงการวิจยั
หลักการเขียนอย่ างเข้ าใจบทบาท players

มีผู้มีบทบาทอยู่ 3 ฝ่ ายทีต่ ้ องทางานเชื่อมกัน แต่ มีลาดับ “ศักดิ์” ต่ างกัน
• ศักดิ์ที่ 1 ผู้ให้ ทุน
• ศักดิ์ที่ 2 ผู้ทรงคุณวุฒิ
• ศักดิ์ที่ 3 นักวิจัย


นักวิจัยจึงต้ องมีความเข้ าใจทั้งความต้ องการของศักดิ์ที่ 1 และ 2
ทั้งหมดนีซ้ ่ อนอยู่ในกระบวนการจัดการ proposal ที่นักวิจัยควรรู้ แล้ว
เขียนตาม “ศักดิ์” และ “บทบาท” ของ player
ส่ วนที่ 1 แหล่ งทุน
แหล่งทุน
1
นักวิจัย
2
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ส่ วนที่ 1 หน้ าทีข่ องแหล่งทุนเริ่มจาก
1. บอกนักวิจัยให้ เขียนอะไร แล้ว
2. บอกผู้ทรงคุณวุฒิว่าให้ ตรวจอะไร
ส่ วนที่ 2 นักวิจัย
แหล่งทุน
1
นักวิจัย
2
ผู้ทรงคุณวุฒิ
3
ส่ วนที่ 2 หน้ าทีข่ องนักวิจัย เริ่มจาก
1. นักวิจัยดูว่าแหล่งทุน ให้ เขียนอะไร แล้ว
2. นักวิจัยดูว่าแหล่งทุนบอกผู้ทรงคุณวุฒิให้ ตรวจอะไร
3. นักวิจัยเอาข้ อมูลจาก 1 และ 2 มาเขียน
ส่ วนที่ 3 ผู้ทรงคุณวุฒิ
แหล่งทุน
2
นักวิจัย
1
ผู้ทรงคุณวุฒิ
3
ส่ วนที่ 3 หน้ าทีข่ องผู้ทรงคุณวุฒิ เริ่มจาก
1. ผู้ทรงคุณวุฒิดูว่าแหล่งทุน ให้ ตรวจอะไร แล้ว
2. ผู้ทรงคุณวุฒิดูว่านักวิจัยเขียนอะไรตามที่แหล่งทุนบอก แล้ว
3. ผู้ทรงคุณวุฒิเอาข้ อมูลจาก 1 และ 2 มา comment
ตัวอย่ างการตั้งเป้าหมายและแตกประเด็น
วิจยั เป็ นกลุ่มวิจยั
บันได 4 ขั้นของงาน product-oriented project
1.
2.
3.
4.
ตั้งเป้าหมายที่ product ทีม่ ศี ักยภาพ
เอา product คู่แข่ งมาแตกประเด็นทีต่ ้ องรู้ในบริบทแข่ งขัน
เอาเงื่อนไขการแข่ งได้ มาเป็ นเป้า specification ของประเด็นวิจัย
ตั้งประเด็นวิจัย และเอา spec มาเป็ นเงื่อนไข output
ตัวกาหนด product เป้ าหมาย





Concept หลัก
มูลค่ าการตลาด
แนวโน้ มตลาด (การเปลีย่ น technology, กลุ่มลูกค้ า)
Technology การผลิต
ฯลฯ
Concept จากการพบหลักการใหม่
ยาง
Vulcanization
พบโครงสร้ าง DNA ยีน
ยางคงรู ป
โอกาสการใช้ งานใหม่
ยาตัวใหม่
Concept การพบของใหม่ มโี อกาสเกิด product ใหม่ ที่ดีกว่ าเดิม
Concept จากหลักการต่ อยอด
นา้ มัน
ยาง
polymer
sealant
sealant
ยางพาราทา sealant น่ าจะได้ เปรียบกว่ าการเริ่มต้ นจากนา้ มัน
เพราะทางเดินใกล้กว่ า
Concept การต่ อยอดมีโอกาสแข่ งขันมากกว่ า ใช้ เขียนในเหตุผล
และความสาคัญ
ตัวอย่ างของหลักการของมูลค่ าตลาด




กาวอุตสาหกรรมไม้ เป็ นกาวสั งเคราะห์ นาเข้ าปี ละ 6,000 ล้านบาท และ
กาลังถูก ban เพราะมีสารพิษต่ อชีวติ และสิ่ งแวดล้อม ทาไมไม่ ทาจาก
ยางพารา
Silicone sealant ทาจาก petroleum polymer ก็น่าจะเริ่มต้ นจาก
ยางพาราได้ ง่ายกว่ า เพราะยางเป็ น polymer อยู่แล้ว
กาวอุตสาหกรรมและ sealant มีขนาดตลาดใหญ่ มาก ราคาก็แพงมาก ก็
น่ าจะแย่ งตลาดเพือ่ เพิม่ มูลค่ าให้ กบั ยางพารา
ใช้ เขียนในเหตุผลและความสาคัญ
จาก product สู่ ประเด็นวิจัย (ตัวอย่ าง sealant)


เงื่อนไข NR sealant ต้ องแข่ งได้ กบั silicone sealant
ดังนั้น NR sealant ต้ อง
• มีสมบัติเทียบเท่ าหรือควรดีกว่ า silicone sealant
• ราคาถูกกว่ า
• ใช้ งานง่ ายกว่ า
• ฯลฯ
ตัวอย่ างการแตกประเด็นวิจัยประเด็นสมบัตเิ ทียบเท่ า

ทาอย่ างไรให้ ยางเหลวแต่ จะแข็งตัวเมื่อถูกอากาศ

ทาอย่ างไรให้ ยางทน UV, ozone, นา้ และนา้ มัน

ทาอย่ างไรให้ ยางเกาะติดทุกพืน้ ผิว
แต่ ละประเด็นข้ างต้ นเป็ นโจทย์ วจิ ัย ซึ่งจะเจาะลึกไปเป็ น
methodology….. จนถึง proposal ของประเด็นย่ อย
ประเด็นวิจัยเป็ นกรอบ proposal (การทน UV)



ผลของอัตราส่ วนของ UV retardant A,B,C ต่ อการทน UV
ผลข้ างเคียงของ A,B,C ที่มีต่อสมบัติการเป็ น sealant ของยางเมื่อเทียบ
กับ silicone sealant (ความแข็งแรง อัตราการแข็งตัว การเกาะผิว ฯลฯ)
ฯลฯ
ไม่ มีงานวิจัยใดอยู่เดี่ยว Basic research ก็ต้องมีเป้าหมาย
BR+
DBR
เทคนิคการลด
ขนาดโมเลกุล
กลไกการ decay
จาก UV
กลไกการแข็งตัวใน
อากาศ
กลไกการยึด
เกาะติดวัสดุ
สารเติมแต่ งยับยั้ง
การ decay
สารเติมแต่ งให้
แข็งตัวในอากาศ
สารเติมแต่ งให้ ยดึ
ติด
ผลิตตัวอย่ างยาง
R&D+
D&E
Parameter การผลิต
ทดสอบ product
ผ่าน
งาน engineering
Pilot plant
Economic output
Industrial plant
ไม่ ผ่าน
Tech integration
หัวข้ อ proposal ต้ องเกีย่ วพันแบบวงศาคณาญาติ





ที่มาของปัญหาและความสาคัญเป็ นพระพรหมผู้สร้ าง
วัตถุประสงค์เป็ นปู่
Output เป็ นพ่อ
Methodology เป็ นลูก
งบประมาณเป็ นหลาน
แต่ ละหัวข้ อต้ องมีเหตุผลภายใน และเหตุผลข้ าม generation
วงศาคณาญาติหมายถึงการให้ กาเนิดต่ อเนื่องกัน






หลักการและเหตุผลเชื่อมกับปัญหา ความรุ นแรงของปัญหา จึงต้ องการแก้ ปัญหา
(โดยการหาปัญญา)
วัตถุประสงค์ ต้ องเป็ นไปเพือ่ แก้ปัญหา (ไม่ ใช่ แค่ ได้ ปัญญา) ตามทีร่ ะบุในหลักการ
และเหตุผล
ผลลัพธ์ ต้ องทาให้ วตั ถุประสงค์ บรรลุ (ถ้ าเป็ นการแก้ปัญหา ก็ต้องมีการ
implement ผลวิจัย)
วิธีการ ต้ องทาแล้วได้ ผลลัพธ์ โดยเป็ นวิธีการที่ “เร็ว” “ถูก” “ดี/แม่ นยา/เชื่อถือได้ ”
วิธีการจึงอยู่ตดิ acceptable lower limit (ALL) ของการใช้ ทรัพยากร
งบประมาณ ต้ องสอดคล้องกับกิจกรรมในวิธีการ และเป็ น ALL
ภาพรวม ต้ องคุ้มค่ าเชื่อว่ าควรแลกเปลีย่ นกับงบประมาณนี้
วิธีการคือตัวแปรหลักใน proposal เพราะมีทางเลือก
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
วิธีการในมุมวิชาการ
ละเอียดทีส่ ุ ด
ไม่ สนใจราคา
ไม่ สนใจเวลา
ต้ องโต้ แย้ งทางวิชาการไม่ ได้
ไม่ สนใจการคืนทุน
ไม่ สนใจผลกระทบในสายการผลิต
ต้ องตีพมิ พ์ได้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
วิธีการในมุมปฏิบัติ
หยาบเท่ าที่รับได้
ราคาต้ องแข่ งขันได้ กบั วิธีอนื่
เวลาต้ องสั้ นทีส่ ุ ด
ต้ องเป็ นจริงทางธุรกิจ
ต้ องมีโอกาสได้ คนื และคุ้มทุน
ต้ อง modify การผลิตเดิมน้ อยที่สุด
ต้ องขายได้
การมีหลายทางเลือกทาให้ ต้องประเมินและเลือก

ใน full proposal อะไรก็ไม่สาคัญเท่าขั้นตอนและวิธีการที่ตอ้ ง
• ได้ผลถูกต้อง
• ในเวลาสั้นที่สุด
• ใช้เงินน้อยที่สุด

ดังนั้น วิธีการของงาน R&D จึงต้องหา “ทางเลือก” มาประเมิน (ทา short
listing) เพื่อหาทางที่เหมาะสมที่สุด
การพิจารณาทางเลือกต้ องคิดถึง implementing phase





ความยากง่ายในการใช้งาน
ความแม่นยา reliability
ต้องการอุปกรณ์ใหม่เพิ่มไหม มีที่จะติดตั้งหรื อเปล่า
Cost การ operate ระบบ
Productivity ทาให้เกิดคอขวดในการผลิตหรื อไม่
สร้ าง research plan จาก activity flow chart
In (non-resource)
กิจกรรมที่ 1
ทรัพยากร
Out
In (non-resource)
กิจกรรมที่ 2
ทรัพยากร
Out
In (non-resource)
Research plan
กิจกรรมที่ 3
Output
ทรัพยากร
งบประมาณ
Flow chart ช่ วยให้ เห็นภาพงานทั้งหมด ทาให้ ได้ ...





Experimental design (ซึ่งละเลยกันมาก)
กิจกรรมและวัสดุที่ตอ้ งใช้ กาหนดงบประมาณได้
เครื่ องมือ คน สถานที่ที่ตอ้ งใช้ กาหนดแผนงานทรัพยากรได้
เวลาที่จะใช้ กาหนด timeframe ได้
เขียนส่ วนที่เหลือของ proposal ได้
สรุปหลักการและแนวคิดหลักของ proposal

หลักการ
• เหตุผลการทาต้องกระแทกใจคนพิจารณา
• สิ่ งที่ได้กบั สิ่ งที่ลงทุนต้องคุม้ กัน บอกให้ชดั มีใครได้บา้ ง
• เนื้อหาต้องต่อเนื่อง เป็ นเหตุเป็ นผลกันทุกตอน มี justification ทุกขั้นตอน (ทาอย่างนี้ทาไม่
ทาสิ่ งนี้ทาไม่ ไม่ทาก็ได้คาตอบหรื อเปล่า ทาแล้วมันเชื่อมโยงไปสู่ เป้ าหมายอย่างไร อย่า
เสนอการทางานที่ redundant)

โดยสรุ ปคือ proposal ทีด่ ตี ้ อง
•
•
•
•
•
โจทย์ดี ไม่เป็ น template
Review มาดี จนเชื่อว่าน่าทา
วัตถุประสงค์ชดั
ออกแบบวิธีดีและมีนวัตกรรม
งบประมาณมีเหตุผล
โจทย์ ดี ไม่ เป็ น template

ปัจจัยโจทย์ที่ดี
• โจทย์ที่ทาให้วตั ถุประสงค์บรรลุ
• โจทย์ที่ทา้ ทาย
• โจทย์ที่แก้แล้วมี “ผลกระทบสูง”

วิจยั แบบ template คือวิจยั แบบลอกแบบตามๆ กันมา ใช้วิธีการเดิม แต่
เปลี่ยนตัวอย่าง ส่ วนมากเกิดจาก technique-oriented
วัตถุประสงค์ ชัด

เพราะวัตถุประสงค์เป็ นตัวกากับสติท้ งั หมดของงานวิจยั
• กากับการออกแบบงานวิจยั
• กากับการวิเคราะห์ขอ้ มูล
• กากับการสรุ ปข้อมูล
• กากับการทาเฟอร์ นิเจอร์ ไม่ใช่ตอกตะปู

ถามตนเองทุกขั้นตอนงานว่าทาอย่างนี้แล้วได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้
หรื อไม่?
ออกแบบงานวิธีดีมีนวัตกรรม

ปัจจัยของวิธีการที่ดี
• ต่างจากเดิมๆ แต่ดีกว่าคนอื่น (ไม่เป็ น template หรื อ technique-oriented เกินไป)


มีเครื่ องมือแปลกออกไป
มีแผนการทาต่างออกไป
• มีประสิ ทธิภาพ


ให้คาตอบแม่นยา แต่ใช่ทรัพยากรน้อย
ต้องคิดวิธีการใหม่ เช่น
• ใช้หลักหาข้อมูลทางอ้อมจากพฤติกรรมแทนการกรอกแบบสอบถาม
• Evidence-based not opinion-based

ต้องรู ้วา่ ต้องการข้อมูลอะไรก่อน แล้วจึง
• รู้วา่ ได้ขอ้ มูลอย่างไรจึงจะดีที่สุด (เชื่อถือได้ แม่นยา เที่ยงตรง ไม่แพง) แล้วจึงจะได้
• เครื่ องมือวิจยั และแผนการวิจยั (อุปกรณ์และลายแทงการทางานวิจยั )
งบประมาณมีเหตุผล






ตรรกะของงบประมาณคือค่าใช้จ่ายมีเหตุมีผลอย่างเหมาะสม
ความเหมาะสมของค่าใช้จ่ายเกิดจากความพอดีของวิธีการวิจยั
ความพอดีของวิธีการวิจยั หมายถึงทาไม่ขาดไม่เกิน (ทาขาดได้ขอ้ มูลไม่
ครบ ทาเกินทาให้แพง)
การทาไม่ขาดไม่เกินเพราะรู ้วา่ ต้องการข้อมูลอะไร
การรู ้วา่ ต้องการข้อมูลอะไรได้จากการรู ้วา่ สมมุติฐานคืออะไร
การรู ้วา่ สมมุติฐานคืออะไรเกิดจากประสบการณ์ ความรู ้พ้นื ฐาน และ
การ review
สรุปหลักการเขียนข้ อเสนอโครงการ
1.
2.
3.
4.
5.
ศึกษา granting agency ว่าเขามีหน้าที่อะไร องค์กรมีวตั ถุประสงค์
อะไร
เข้าให้ถูกช่องทาง วิจยั พื้นฐานหรื อวิจยั ประยุกต์
หาข้อมูลเบื้องต้นมาสนับสนุนก่อน เช่น literature review หรื อ prelim
data analysis
แผนงานจะต้องไม่มี “สารวจเอกสาร”
กรณี วิจยั ประยุกต์ ให้เขียนโดยเอาวัตถุประสงค์ของ user เป็ นหลัก
หลักการเขียนข้ อเสนอโครงการ (ต่ อ)
6.
7.
8.
9.
10.
เขียนโดยเอาสาระการประเมินมาเป็ นหลัก
งานวิจัยพืน้ ฐาน methodology ต้ องชัดเจน งานวิจัยประยุกต์ methodology ไม่
จาเป็ นต้ องชัดเจนแค่ เพียง concept ทีแ่ สดง sequence ของงานก็พอ
งานวิจัยพืน้ ฐาน budget ค่ อนข้ างแน่ นอน งานวิจัยประยุกต์ budget ต้ อง
ยืดหยุ่นและเป็ น phase
เขียนเนือ้ งานโดยคานึงถึงวัตถุประสงค์ และประสิ ทธิภาพการใช้ ทรัพยากรเป็ น
หลัก (อย่าคิดทาโดย infinite resource)
Style ต้ องเป็ นวิชาการ consistency ปราศจาก error, convincing โดยใช้ ตรรกะ
และครบหัวข้ อตาม format
Workshop เรียนรู้ การเขียนข้ อเสนอ
โครงการวิจัย
Workshop 1 เรียนรู้จาก proposal




ให้แบ่งผูป้ ระชุมออกเป็ น 3 กลุ่ม
อ่าน concept proposal ที่แจกให้
ใช้กระบวนการกลุ่มวิจารณ์
นาเสนอผลการวิจารณ์ต่อที่ประชุม
Workshop 2 เรียนรู้จากโจทย์

โจทย์
• AEC 2015 จะมีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมน้ ามันปาล์มของไทย โดยเฉพาะรายย่อย
• มีแนวคิดพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ ามันปาล์มในแนวน้ ามันมะกอกหี บเย็น (cold press olive oil) ที่
ปัจจุบนั ราคาลิตรละ 500 บาท

แบ่ งผู้ประชุ มออกเป็ น 3 กลุ่มแล้ วหารือให้ ได้ คาตอบในประเด็น
• ต้อง review อะไรบ้างในบริ บทแข่งกับน้ ามันมะกอก
• งานวิจยั นี้แบ่งออกเป็ นการหาความรู ้ประเด็นย่อยอะไรบ้าง แต่ละประเด็นต้องใช้นกั วิจยั
ศาสตร์อะไรบ้าง
• แต่ละประเด็นมี methodology อะไรเป็ นทางเลือกบ้าง สุ ดท้ายแล้วเลือกวิธีการใด