Transcript Slide 1

หลักสูตรและการสอนตามกรอบ TQF ระดับบัณฑิตศึกษา
ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั และวิทยบริการ
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ม.ทักษิณ : 13 มกราคม 2553
เรือ่ งที่จะค ุย
• เงือ่ นไข
• ความเป็ นมา/ความหมาย/ความสาคัญ
• องค์ประกอบหลัก
- โครงสร้าง (Structure)
- มาตรฐานคุณวุฒิ (Domains)
- กระบวนการ (Process)
- การดาเนิ นงาน (Specifications)
• มาตรฐานคุณวุฒิ (Domains) / คุณลักษณะของบัณฑิต
- ของมาเลเซีย / อังกฤษ
- ของ สกอ. - กรอบการพัฒนา
- ต้มยากุง้ โมเดล
• เงือ่ นไขการเรียนรู ้ - กระบวนการ
- หลักสูตร/การสอน/กิจการนักศึกษา/สิง่ แวดล้อม
• กระบวนการของ TQF
• ลายแทง 7 ฉบับ Specifications / Report
• แนวปฏิบตั ิ TQF ในสถาบัน
- การกาหนดเป้ าหมาย - จัดทารายละเอียดของหลักสูตร - พัฒนาเอกสารรายวิชา
- รายงานการดาเนิ นงาน
• ตัวอย่าง มคอ.3, 5
เงื่อนไข/การดาเนินงานหลัก
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 (2 กรกฎาคม 2552)
ประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบตั ิงานกรอบมาตรฐานคุณวุฒกิ รรมการอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2552 (12 กรกฎาคม 2552)
ใช้ตง้ั แต่ ปี การศึกษา 2553 (ใหม่) ปรับปรุงเก่า ปี การศึกษา 2555
 วัตถุประสงค์หลัก เพือ่ คุณภาพของบัณฑิต โดยการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาการสอนและการบริหารจัดการ
ที่เอื้อต่อคุณภาพ
 คุณภาพบัณฑิตพื้นฐานมี 5 ประการหลักคือ (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู ้ (3) ทักษะทางปัญญา (4)
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (5) การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้
เทคโนโลยี  ดูท่ผี ลการเรียนรู ้
 คิดพัฒนาวางแผนจัดทาเป็ นเอกสาร
จัดทามาตรฐานคุณวุฒิ สาขาวิชาต่างๆ ของแต่ละระดับ (มคอ 1)
จัดทาหลักสูตร (มคอ 2) รายละเอียดของรายวิชา (มคอ 3) รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)
(มคอ 4)
จัดทารายงานผลการดาเนิ นงานรายได้ (มคอ 5) รายงานผลการดาเนิ นงานประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)
มคอ 6 และผลการดาเนิ นงานของหลักสูตร (มคอ 7)
ความเป็นมา
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
ดาเนิ นการวิจยั เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (ไพฑูรย์ สินลารัตน์)
ขอความช่วยเหลือจากออสเตรเลีย (สกอ.)
ผูเ้ ชี่ยวชาญชาวออสเตรเลียเสนอแนวคิด (Ian Allen)
คณะกรรมการดูงานออสเตรเลีย (จิรณี ตันติรตั น์วงศ์)
จัดทาร่างข้อเสนอของผูเ้ ชี่ยวชาญ (Ian Allen)
จัดทาร่างกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
จัดทากรอบมาตรฐานคุณวุฒใิ นสาขาวิทย์ คณิ ต คอมพิวเตอร์
จัดทาร่างประกาศกรอบมาตรฐาน
จัดทา Program and Course Specifications (สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร,
สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ, สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์, สาขาวิชาครุศาสตร์/
ศึกษาศาสตร์, สาขาวิชาโลจิสติกส์, สาขาวิชาการท่องเที่ยวและโรงแรม, สาขาวิชาคอมพิวเตอร์)
European Qualifications Framework (EQF)
Southern African Development Community Qualifications Framework (SADCQF)
Status of Implementation of NQFs (worldwide)
1st Generation
2nd Generation
3rd Generation
Australia
Ireland
Albania
Lesotho
New Zealand
Malaysia
Angola
Macedonia
Scotland
Maldives
Barbados
Malawi
South Africa
Mauritius
Bosnia and
Mozambique
UK (excluding Scotland
Mexico
Herzegovina
Romania
Namibia
Botswana
Serbia
The Philippines
Brazil
Slovenia
Singapore
Chile
Uzbekistan
Trinidad and Tobago
China
Tanzania
Wales
Colombia
Turkey
Democratic Republic
Uganda
Of Congo
Zambia
Jamaica
Zimbabwe
Source : DEEWR, (March ; 2008)
1st generation : implementation started between the late 1980s and mid 1990s
2nd generation : implementation and development started in the late 1990s or early 2000s
3rd generation : currently under consideration
เงื่อนไขบังคับ : จาก ทบวง ถึง สมศ. ถึง สกอ.
ประกาศทบวงมหาวิทยาลัยเรื่อง นโยบายและแนวปฏิบต
ั ิ ฯ 2539
พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 (หมวด 6, มาตรา 47-53)
ศูนย์การประกันคุณภาพฯ ภายในของ สกอ. 2550
ทบวง
สมศ.
สกอ.
(2539-2542)
(2544-2553)
(2551)
ปรัชญา
การเรียนการสอน
กิจกรรมบัณฑิต
การวิจยั
บริการวิชาการ
ทานุบารุงศิลปะ
บริหารจัดการ
การเงิน
คุณภาพบัณฑิต
คุณภาพงานวิจยั
คุณภาพบริการวิชาการ
คุณภาพการทานุบารุงฯ
คุณภาพการพัฒนาสถาบันฯ
คุณภาพหลักสูตรฯ
คุณภาพการประกันฯ
ปรัชญา
การเรียนการสอน
กิจกรรมนักศึกษา
การวิจยั
บริการวิชาการ
ทานุบารุงศิลปะ
บริหารจัดการ
การเงินและงบประมาณ
ระบบประกันฯ
 มีกรรมการ / หน่ วยงานดูแล  มีการประเมินภายใน / ภายนอกดูแล
 มีการจัดทารายงาน / ตรวจสอบ / เผยแพร่  มีเอกสาร / หลักฐาน / ยืนยัน  มีการให้คาตอบตัวเลข
แล้วก็ยงั ไม่ได้บณ
ั ฑิตที่มีค ุณภาพ
 เกมส์ของตัวเลขและการตีความ
 ดึงสู่ส่วนกลางไม่ Creative
 เกณฑ์เดียวทาเหมือนๆ กันไม่มีเอกลักษณ์
 เป็ นแค่เอกสารและอยู่แค่นัน้ ยังไม่เป็ นวัฒนธรรม
 ยังไม่แสดงลักษณะเฉพาะของไทยเท่าที่ควร
 ขาดความสัมพันธ์กบั สังคม
 ยังไม่ม่งุ สู่ความเป็ นเลิศแค่ขนั ้ ตา่
 ส่วนใหญ่ผา่ นแต่ข้อวิจารณ์ เรื่องคุณภาพก็ยงั มีอยู่
 คุณภาพบัณฑิตยังไม่ชดั เจน
ถึงเวลาต้องเปลี่ยนแปลงอีกรอบแล้ว
ความหมายและความสาคัญ (1)
นิ ยาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (Qualifications Frameworks) คือระบบที่แสดงความเชื่อมโยงเป็ น
อันหนึ่ งอันเดียวกันของการศึกษาของชาติ ระบบดังกล่าวจะบ่งบอกโครงสร้างและระดับของการศึ กษา ความ
ต่อเนื่ องและเชื่อมโยงของแต่ละระดับ การเข้าสูแ่ ต่ละระดับ วุฒหิ รือผลลัพธ์ของผูจ้ บการศึกษาแต่ละระดับ
ในบางกรณี จะแสดงผู จ้ ดั หรือผู ร้ บั ผิดชอบการศึกษาแต่ละระดับ รวมทัง้ กระบวนการจัดไว้ดว้ ย (Allen,
2003, Adhoc Inter Agency Meeting, 2003)
คานิ ยามนี้ เป็ นการประมวลภาพของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิท่ีสมบูรณ์ครบถ้วน ทาให้เห็นภาพของ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒไิ ด้ชดั เจน ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้ว รายละเอียดของคานิ ยามก็จะออกมาในลักษณะของ
ผลลัพธ์ (Outcomes) เป็ นหลัก (Young, 2003)
จากคานิ ยามของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิดงั กล่าวทาให้เห็นภาพว่า กรอบคุณวุฒิน้ันแสดงถึงระบบ
การศึกษาที่แสดงระดับต่างๆ ในแต่ละระดับสัมพันธ์กนั อย่างไร แต่ละระดับเมื่อสาเร็จการศึกษาแล้วจะมี
คุณวุฒอิ ะไรเป็ นหลัก คุณวุฒนิ ้นั เป็ นอย่างไรบ้าง การที่จะให้ได้คณ
ุ วุฒนิ ้นั ทาอย่างไร
กรอบมาตรฐานคุณวุฒถิ ือได้ว่าเป็ นเครื่องมือของการประกันคุณภาพ เป็ นการสือ่ สารถึ งกันในหมู่ผูใ้ ห้
การศึกษาและผู ใ้ ช้การศึกษาเองและจะเป็ นหลักประกันว่าผู ส้ าเร็จการศึกษาในระดับนัน้ มีคุณสมบัติตรง
ตามที่เข้าใจกันหรือไม่ นอกจากนัน้ ยังเป็ นเครื่องในการเทียบเคียงคุณภาพระหว่างประเทศอีกด้วย
ที่มา : ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ “รายงานการวิจยั กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย, 2548
ความหมายและความสาคัญ (2)
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Frameworks for
Higher Education : TQF : HEd) หมายถึง กรอบที่แสดงระบบคุณวุฒกิ ารศึกษาระดับอุดมศึก ษา
ของประเทศ ซึ่งประกอบด้วย ระดับคุณวุฒิ การแบ่งสายวิชา ความเชื่อมโยงต่อเนื่ องจากคุณวุฒิ
ระดับหนึ่ งไปสู่ระดับที่สูงขึ้น มาตรฐานผลการเรียนรู ข้ องแต่ละระดับคุณวุฒิซ่ึงเพิ่มสูงขึ้นตามระดับ
ของคุณวุฒิ ลักษณะของหลักสูตรในแต่ละระดับคุณวุฒิ ปริมาณการเรียนรูท้ ่สี อดคล้องกับเวลาที่ตอ้ ง
ใช้ การเปิ ดโอกาสให้เทียบโอนผลการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ ซึ่งเป็ นการส่งเสริมการเรี ยนรูต้ ลอด
ชีวติ รวมทัง้ ระบบและกลไกที่ให้ความมัน่ ในในประสิทธิผลการดาเนิ นงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของสถาบันอุดมศึกษาว่าสามารถผลิตบัณฑิตให้บรรลุคุณภาพตามมาตรฐาน
ผลการเรียนรู ้
ที่มา : กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552
องค์ประกอบของกรอบมาตรฐาน
1. โครงสร้างของระดับการศึกษา/และจุดเน้น

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก/ประกาศนี ยบัตร/นก. เวลา ฯลฯ
2. มาตรฐานคุณวุฒใิ นแต่ละกลุม่ (Domains)

ความรู ้ ความคิด ทักษะ คุณธรรม
 คุณธรรมจริยธรรมความรู ้ ทักษะเชาวน์ปญ
ั ญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรับผิดชอบ ทักษะวิเคราะห์และการสือ่ สาร
3. กระบวนการที่จะเป็ นเงือ่ นไข/ปัจจัย แห่งความสาเร็จ

หลักสูตร การสอน กิจกรรม สิง่ แวดล้อม
4. แนวทางปฏิบตั ิ

Specifications
มาตรฐานค ุณว ุฒิ
ค ุณลักษณะบัณฑิตของผูจ้ บปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ของมาเลเซีย
ความสามารถ
ความรู ้
ระดับคุณลักษณะ
ปริญญาตรี
(เกียรตินิยม)
ความรูซ้ บั ซ้อน
เป็ นระบบเชิง
วิชาการ เนื้ อหา
ของหลักสูตรมี
ความลึกในระดับ
หนึ่ ง และมีการ
พัฒนาไปสูร่ ะดับที่
สูงกว่าหลัง
ปริญญาตรีและ
อาชีพ
ที่มา : Adhoc Inter Agency Meeting, (2003)
ทักษะปัญญา
การจัดการ
ลักษณะส่วนสารสนเทศ บุคคล ลักษณะ
ทักษะการปฏิบตั ิ การสื
่อสารและ ทางวิชาชีพ และ
ทักษะการเรียนรู ้ ความรับผิดชอบ
เทคนิ คการ
ทักษะการฝึ กฝนที่
วิเคราะห์และทักษะ เกีย่ วข้องกับวินยั
การแก้ปญั หาที่
สามารถนาไปใช้ใน
การทางานได้
สือ่ สารอย่างมี
ประสิทธิผล
ทักษะการทางาน
เป็ นทีมเหมาะสม
กับการทางาน
เตรียมที่จะทาการ
วิจยั ทาความ
เข้าใจและประเมิน
ข้อมูลใหม่ๆ จาก
แหล่งข้อมูลต่างๆ
ที่จะพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่ องและ
การเรียนรูต้ ลอด
ชีวติ
ฝึ กฝนความ
รับผิดชอบส่วนตัว
และการตัดสินใจ
ในสถานการณ์ท่ี
ซับซ้อนและที่ไม่
อาจคาดการณ์ได้
การสังเกต
มีจรรยาบรรณ
เป็ นมืออาชีพ
บริบท
คุณสมบัตทิ ่ี
จาเป็ นสาหรับการ
ทางานใน
สถานการณ์ท่ี
ต้องการ
การฝึ กฝน
ความรับผิดชอบ
ส่วนตัวและการ
ตัดสินใจใน
สถานการณ์ท่ี
ซับซ้อน
มาตรฐานค ุณว ุฒิ
ค ุณลักษณะของผูส้ าเร็จการศึกษาปริญญาเอกของอังกฤษ
ระดับปริญญาเอก
ผูศ้ ึกษาระดับปริญญาเอกจะต้องเป็ นผูม้ ีคณ
ุ สมบัตดิ งั ต่อไปนี้
1) มีการสร้างสรรค์ความรูใ้ หม่ในรูปแบบของงานวิจยั ที่มกี ารตีพมิ พ์เผยแพร่
2) องค์ความรูใ้ หม่ท่คี น้ พบต้องเกีย่ วข้องกับงานวิชาการและวิชาชีพของตนเอง
3) ความสามารถในการสร้างแนวคิด ออกแบบและดาเนิ นการเพือ่ สร้างความรูใ้ หม่ การประยุกต์ใช้
หรือความเข้าใจ และสามารถปรับการออกแบบโครงการให้พร้อมรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
4) ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิ คเพือ่ การวิจยั โดยละเอียด
โดยรวมแล้ว นักศึกษาระดับปริญญาเอกมีความสามารถต่อไปนี้
1) ตัดสินเกี่ยวกับประเด็นที่ซบั ซ้อน และสามารถสือ่ สารความคิดให้ผูอ้ น่ื เข้าใจได้
2) สามารถสานต่องานวิจยั ทัง้ งานวิจยั บริสทุ ธิ์และงานวิจยั ประยุกต์ในระดับสูงได้ โดยมีการพัฒนา
เทคนิ คและแนวคิดใหม่ๆ อยู่เสมอ
3) มีคณ
ุ สมบัตแิ ละทักษะที่สามารถแก้ไขสถานการณ์ท่ไี ม่สามารถคาดการณ์ได้ ทัง้ ใน
สภาพแวดล้อมที่เป็ นมืออาชีพหรือปกติกต็ าม
ทีม่ า : England National Qualification Framework, (2003)
ผลลัพธ์การเรียนรจ้ ู าก 7 ประเทศ
1. ความรูค้ วามชานาญทัว่ ไป (Generic Knowledge, Skills, Competence)
1.1 ความรูแ้ ละความเข้าใจ
- รูแ้ ละเข้าใจข้อเท็จจริงในศาสตร์ท่ศี ึกษา
- รูแ้ ละเข้าใจหลักการ แนวคิด และทฤษฏี
- รูแ้ ละเข้าใจขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ
- ความรูเ้ ชิงสหวิทยาการ
1.2 ทักษะการคิด
- คิดวิเคราะห์ วิพากษ์ สังเคราะห์
- คิดประยุกต์ บูรณาการ สร้างสรรค์
1.3 สมรรถนะ
- Interpersonal Skills
- Communication Skills
ด้านตนเองและสังคม
1.4 คุณธรรมและจริยธรรมด้านสังคมและอาชีพ (Ethics and Value)
- จริยธรรม / ค่านิ ยม / ทัศนคติ / ศักดิ์ศรีในวิชาชีพ
- Responsibility
2. ทักษะปฏิบตั เิ ฉพาะทาง (Specific Skills)
การเรียนรแ้ ู ละมาตรฐานผลการเรียนรูต้ าม
กรอบมาตรฐานค ุณว ุฒิระดับอ ุดมศึกษาของประเทศไทย
(1)
การเรียนรู ้ หมายถึง การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมที่นกั ศึกษาพัฒนาขึ้นในตนเองจากประสบการณ์ท่ไี ด้รบั
ระหว่างการศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติกาหนดผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวังให้
บัณฑิตมีอย่างน้อย 5 ด้านดังนี้
(1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) หมายถึง การพัฒนานิ สยั ในการประพฤติ
อย่างมีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม และด้วยความรับผิดชอบทัง้ ในส่วนตนและส่วนรวม ความสามารถในการ
ปรับวิถชี ีวติ ในความขัดแย้งทางค่านิ ยม การพัฒนานิ สยั และการปฏิบตั ติ นตามศีลธรรม ทัง้ ในเรื่องส่วนตัว
และสังคม
(2) ด้านความรู ้ (Knowledge) หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจ การนึ กคิดและการนาเสนอ
ข้อมูล การวิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนกระบวนการต่างๆ และสามารถ
เรียนรูด้ ว้ ยตนเองได้
การเรียนรแ้ ู ละมาตรฐานผลการเรียนรูต้ าม
กรอบมาตรฐานค ุณว ุฒิระดับอ ุดมศึกษาของประเทศไทย
(2)
(3) ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์
สถานการณ์และใช้ความรู ้ ความเข้าใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการต่างๆ ในการคิด
วิเคราะห์และการแก้ปญั หา เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ๆ ที่ไม่ได้คาดคิดมาก่อน
(4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills
and Responsibility)
หมายถึง ความสามารถในการทางานเป็ นกลุม่ การแสดงถึงภาวะผูน้ า ความ
รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบ ในการเรียนรูต้ นเอง
(5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
หมายถึง ความสามารถในการสือ่ สารทัง้ การพูด การเขียน และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
นอกจากผลการเรียนรูท้ ง้ั 5 ด้านนี้ บางสาขาวิชาต้องการทักษะทางกายภาพสูง เช่น การเต้นรา
ดนตรี การวาดภาพ การแกะสลัก พลศึกษา การแพทย์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ จึงต้องเพิ่มการ
เรียนรูท้ างด้านทักษะพิสยั (Domain of Psychomotor Skill)
“ปัญจลักษณ์”
เป้าหมายเพื่อความเป็นเลิศในการผลิตบัณฑิต
ขอบเขตของการเรียนรู ้
กรอบ
ระดับ
การพัฒนา
คุณธรรมและ
จริยธรรม
ความรู ้
ทัว่ ไปและวิชาชีพ
ทักษะทาง
เชาวน์ปญั หา
ทักษะความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและความ
รับผิดชอบ
ทักษะการวิเคราะห์
การสื่อสารและการใช้
เทคโนโลยี
ประยุกต์แนวคิด
ทฤษฎี
แก้ปญั หาพื้นฐาน
แปลความหมายและการ
นาเสนอ
อนุ ปริญญา
รับผิดชอบใน
การงาน
ปริญญาตรี
มีจริยธรรมและ ความ ครอบคลุมทฤษฎี
รับผิดชอบ
และหลักการ
เข้าใจและคิด
แก้ปญั หาที่ซบั ซ้อน
ค้นหา เลือกใช้กลไกที่
เหมาะสม
ทักษะในวิชาชีพและ
วิชาการ
หลักสูตรปริญญาตรี
และประกาศนี ยบัตร
บัณฑิต
ร่วมและช่วยพัฒนา ความรูร้ ะดับสูง
ตนเองและผูอ้ น่ื
ประยุกต์ทฤษฎี
มีอทิ ธิพลทางบวก
ตัวผูอ้ น่ื
เลือกใช้ส่อื กับกลุ่มผูฟ้ ัง
ที่หลากหลาย
ปริญญาโท
รับผิดชอบ เป็ นผูน้ า ทฤษฎี วิจยั และ
พัฒนาการล่าสุด
อิสระในการสูแ้ ละ
แก้ปญั หา
กระตือรือร้นรับและกระตุน้ สื่อสารผลการ
ผูอ้ น่ื
ค้นคว้าวิจยั
ประกาศนี ยบัตร
บัณฑิต ขัน้ สูง
รับผิดชอบ
พัฒนาการล่าสุด
ของการวิจยั
รูจ้ กั ค้นหาปัญหา
ทางานด้วยความรับผิดชอบ ร่วมมือร่วมใจกับผูอ้ น่ื
ในสาขาเกี่ยวข้อง
ปริญญาเอก
จัดการและลึกซึ้งกับ ลุ่มลึกและวิจยั ใน
ปัญหาทางจริยธรรม ระดับสูง
ความท้าทายของ
ประเด็น
ภาวะผูน้ าในสาขา
สือ่ ความคิดและข้อสรุป
อย่างมีประสิทธิภาพ
ปัจจัยสูค่ วามสาเร็จ
ขอบเขตการเรียนรู ้
ปัจจัยสู่
ความสาเร็จ
คุณธรรม
ความรู ้
หลักสูตร
เน้นวิชาหลักและ
วิชาเสริม
ให้แบบอย่างให้
ตระหนักให้เป็ น
ตัวเอง
กิจกรรม
นักศึกษา
การสอน
กิจกรรม
สิง่ แวดล้อม
พูดคุย
ตัวอย่าง
ทักษะ ปัญญา
ความสัมพันธ์ฯ
การวิเคราะห์ฯ
วิชาเฉพาะ
วิชาทัว่ ไป
วิชาที่ใกล้เคียง
วิชาหลัก
วิชารอง
วิชาพื้นฐาน
วิชาเฉพาะ
เนื้ อหา
บรรยาย
อ่านเอง
หาความรูเ้ อง
ชมรม,
กลุม่
ให้ฝึกวิเคราะห์
ด้วยตัวเอง
วิธีวจิ ยั
มีกจิ กรรม
ในชัน้ เรียน
ลงมือทา
ลงมือทา
ออกภาคสนาม
ชมรม Project
เทคโนโลยี
ให้ได้เห็น
ได้พบ กิจกรรม
เสนอ
มีบรรยากาศ
ของตัวอย่าง
ได้สมั ผัสกับกลุม่
คนต่างๆ
บรรยากาศ
ทางวิชาการ
TQF
เป้าหมาย และกระบวนการ
เพื่อค ุณภาพของบัณฑิตไทย
กาหนดเป้าหมาย
• การกาหนดเป้ าหมายของการผลิตบัณฑิตให้ชดั เจน (มีกรอบใหญ่ 5 ประการ)
• กาหนดผลการเรียนรูด้ ว้ ยว่าเมื่อจบแล้วจะมีลกั ษณะอย่างไร
• กาหนดมาตรฐานคุณวุฒกิ ลาง (มคอ.1)
การจัดทารายละเอียดหลักสูตร/การสอน

สาระและรายวิชา การสอน การประเมิน การทบทวนการสอน
คนที่จะเข้าเรียน เข้าอย่างไร เทียบโอนได้หรือไม่
คณาจารย์ บุคลากร การพัฒนาอาจารย์และบุคลากร
ทรัพยากร สภาพแวดล้อม การจัดการ
ระบบการประกันคุณภาพและการสอบทาน
การเผยแพร่ (Registered)
 ภาคผนวก
พัฒนาเอกสารรายวิชา

กาหนดจุดมุ่งหมายของวิชาให้ชดั และสอดคล้องกับหลักสูตร
กาหนดผลการเรียนรู ้ (เท่ากับหรือมากกว่า) 5 ประการ
แนวการสอนและการประเมินผลเพือ
่ ให้ได้ 5 ประการ
แผนการดาเนิ นงานที่ละเอียดพอตามแนวการสอน
ทรัพยากร / สภาพแวดล้อม / เงือ
่ นไขของความสาเร็จ
การประเมินและการปรับปรุงเพือ
่ ให้ดีข้ ึน
เมื่อทาหลักสูตรแล้วอาจารย์แต่ละท่านต้องทารายละเอียดของวิชา (Course
Specification) ก็คอ
ื Course Syllabus ที่ละเอียดขึ้น (บางคนไม่เคยทา /
บางคนทาพอผ่าน / บางคนมี 1-2 แผ่น, etc.)
ถ้ามีวชิ าประสบการณ์ภาคสนามก็ตอ้ งทาเช่นเดียวกัน
รายงานผลการดาเนินงาน
 สอนเสร็จต้องประเมินว่าสอนเป็ นอย่างไร
 ถ้ามีภาคสนามก็ตอ้ งประเมินเช่นกัน
 เมื่อสอนครบปี กต็ อ้ งรายงานการประเมิน
นาไปสูก่ ารปรับปรุง
จากแนวคิดสูก่ ระบวนการปฏิบตั ิ
ทิศทางของสถาบัน
มาตรฐานคุณวุฒิระดับ / สาขา
รายละเอียดของหลักสูตร
รายการปรับปรุงและพัฒนา
รายละเอียดของรายวิชา
รายละเอียดของประสบการณ์
ภาคสนาม
รายการปรับปรุงและพัฒนา
รายการปรับปรุงและพัฒนา
กระบวนการเรียนการสอน
Templates for Specifications
แบบฟอร์ม
Qualifications Standard
มาตรฐานคุณวุฒิ มคอ. 1
 Program Specifications
Program Report มคอ. 7
รายละเอียดของหลักสูตร มคอ. 2
 Course Specifications
รายละเอียดของรายวิชา มคอ. 3
 Field Experience Specifications
รายละเอียดของประสบการณ์
ภาคสนาม มคอ. 4
Course Report มคอ. 5
Field Experience Report มคอ. 6
ลายแทง 7 ฉบับ
ฉบับที่ 1 : มคอ. 1 มาตรฐานค ุณว ุฒิ
1. ชื่อสาขา / สาขาวิชา
2. ชื่อปริญญา และสาขาวิชา
3. ลักษณะเฉพาะสาขา / สาขารับ
4. คุณลักษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงค์
5. มาตรฐานผลการเรียนรู ้
6. องค์กรราชการที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)
7. โครงสร้างหลักสูตร
8. เนื้ อหาสาระสาคัญของสาขา / สาขาวิชา
9. กลยุทธ์การสอนและการประเมิน
10. การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู ้
11. คุณสมบัตแิ ละผูเ้ ข้าศึกษาและการเทียบโอน
12. คณาจารย์และบุคลากร
13. ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ
14. แนวทางการพัฒนาคณาจารย์
15. การประกันคุณภาพ
16. การเผยแพร่
17. รายชื่อคณาจารย์
18. ภาคผนวก (ถ้ามี)
ฉบับที่ 2 : มคอ. 2 รายละเอียดของหลักสูตร
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
1
2
3
4
5
6
7
8
ข้อมูลทัว่ ไป
ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
ระบบการจัดการศึกษา การดาเนิ นการ และโครงสร้างของหลักสูตร
ผลการเรียนรู ้ กลยุทธ์การสอนและประเมินผล
หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา
การพัฒนาคณาจารย์
การประกันคุณภาพหลักสูตร
การประเมินและปรับปรุงการดาเนิ นการของหลักสูตร
ฉบับที่ 3 : มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
1
2
3
4
5
6
7
ข้อมูลทัว่ ไป
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
ลักษณะและการดาเนิ นการ
การพัฒนาผลการเรียนรูข้ องนักศึกษา
แผนการสอนและการประเมินผล
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
การประเมินและปรับปรุงการดาเนิ นการของรายวิชา
ฉบับที่ 4 : มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
1
2
3
4
5
6
7
ข้อมูลทัว่ ไป
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
การพัฒนาผลการเรียนรู ้
ลักษณะและการดาเนิ นการ
การวางแผนและการเตรียมการ
การประเมินนักศึกษา
การประเมินและปรับปรุงการดาเนิ นการของการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
ฉบับที่ 5 : มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
1
2
3
4
5
6
ข้อมูลทัว่ ไป
การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน
สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนิ นการ
การประเมินรายวิชา
แผนการปรับปรุง
ฉบับที่ 6 : มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการ
ของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
1
2
3
4
5
6
ข้อมูลทัว่ ไป
การดาเนิ นการที่ต่างไปจากแผนการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
ผลการดาเนิ นการ
ปัญหาและผลกระทบด้านการบริหาร
การประเมินการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
แผนการปรับปรุง
ฉบับที่ 7 : มคอ. 7 รายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
ข้อมูลทัว่ ไป
ข้อมูลเชิงสถิติ
การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร
ข้อมูลสรุปรายวิชาของหลักสูตร
การบริหารหลักสูตร
สรุปการประเมินหลักสูตร
คุณภาพของการสอน
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผูป้ ระเมินอิสระ
แผนการดาเนิ นการเพือ่ พัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรและการสอนตามแนวของ TQF
หลักสูตรกลาง VS รายวิชา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
เรียนรูก้ ารเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่
กาหนดแนวคิด ปรัชญา พื้นฐานในการผลิตบัณฑิต
พัฒนา (ทบทวน) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
พัฒนา (ทบทวน) รายวิชาที่เปิ ดสอน
พัฒนามิติของจุดมุ่งหมายกับรายวิชาที่สอนให้สอดคล้องกัน
พัฒนาการสอน (จัดกระบวนการเรียนรู)้ ให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย
กาหนดแนวทางประเมินผลนักศึกษา
การเตรียมบุคลากร / ทรัพยากร
แนวทางการประเมิน / พัฒนา
พัฒนา (ปรับปรุง) หลักสูตรกลางก่อน
พัฒนา (ปรับปรุง)รายวิชา
ความเข้าใจพื้นฐาน
TQF
กาหนดเป้ าหมาย
พัฒนาเอกสารรายวิชา
• จุดเปลี่ยนของสังคม
• การดาเนิ นชีวิตของคนยุคหลังอุตสาหกรรม
• ข้อสรุปโลกยุคใหม่
• ปรัชญาอุดมศึกษาไทย / คนรุ่นใหม่
• คุณลักษณะบัณฑิตกับเงือ่ นไขการสอน
• กระบวนการสอนที่ควรเน้น
• สภาพแวดล้อมกับการสอนใหม่
• สัตตศิลาของครูผูเ้ อื้อความรู ้
จัดทารายละเอียดของหลักสูตร
รายงานการดาเนิ นงาน
• Curriculum Mapping
• มิตกิ ารบริหาร
• อย่ามองข้ามความสาคัญ
• การเปลี่ยนแปลงและพัฒนา
• อเมริกากลุม่ นา
• Creative & Productive HE
- แนวคิดเกียวกับบัณฑิตศึกษา
จุดเปลี่ยนของสังคม
จุดเปลี่ยนของสังคม
จุดเดิม
จุดเปลี่ยน
จุดเด่น
จุดมุ่งหมาย
แนวคิด
Modernization
PostModernization
Critical /
Analytical
รูจ้ กั ตัวเอง
กระบวนการ
Industrialization
PostIndustrialization
Creative /
Innovative
พัฒนาตัวเอง
ผล
KnowledgeBased
Post-Knowledge
Based
Value /
Equality
สร้างค่านิยม
ภาพ
Globalization
PostGlobalization
Diversification /
ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2552
Individualization
ยอมรับความ
หลากหลาย
การดารงชีวิตของแต่ละบ ุคคล หลังย ุคอ ุตสาหกรรม
(Post-industrial)
มืออาชีพหลากหลาย (Multiple careers)
ทางานหลายอย่าง (Multiple jobs)
ไม่มีความชัดเจนในตัวตน (Blurred identity)
การเรียน-การงานขาดความสัมพันธ์ (Work-study mismatch)
มีโอกาสทางานอิสระ (Possible free-lancing)
ตกงานบ่อย (Frequent off-jobs)
รายได้ไม่แน่นอน (Precarious incomes)
สถานภาพปรับเปลีย่ นขึ้น-ลง (Fluctuating status)
อนาคตไม่แน่นอน (Unpredictable future)
มีการเปลีย่ นเครือข่าย (Varying networks)
มีการเปลีย่ นคู่ความสัมพันธ์ (Changing partners)
ความไม่มน่ั คง/ไม่แน่นอน (Insecurity, uncertainty)
Kai-ming cheng, 2007/ ศ.ดร.กิตติชยั วัฒนานิกร
จากแฮมเบอเกอร์สต่ ู ม้ ยากง้ ุ โมเดล
Hamburgerization
แฮมเบอร์เกอร์
1. ลูกค้ าเป็ นหลัก
2. ส่วนประกอบนานาชาติ
3. รสชาติเดียวทั่วโลก
4. ขาดคุณค่าทางอาหาร
5. บริหารแบบเดียว
6. ขายทั่วโลก
ลูกค้า
เป็ นหลัก
สนองทุก
ฝ่ าย
หลากหลายรส
Tom Yam Kung-ization
ส่วน
ประกอบ
สร้างสรรค์
หลายแบบ
ระบบต้มยำกุง้
1. แม่ครัวมีบทบาท
2. คิดและทาในท้องถิ่น
3. พัฒนารสชาติต่างๆ กัน
4. มีคุณค่า/ประโยชน์สงู
5. ยืดหยุ่นได้ หลากหลาย
6. จัดได้ ท้งั ใน/นอกประเทศ
คุณค่าครบ
35
ข้อสร ุปโลกย ุคใหม่
1. มีความหลากหลาย
2. มีทกั ษะหลายอย่าง (Trainable)
3. ปรับตัวได้ / เปลีย่ นได้ / ทาได้ (เปลีย่ นงาน)
4. เรียนรูส้ ง่ิ ใหม่ๆ อยู่เสมอ / ตามทัน
5. มีขอ้ มูล / มีเหตุผล / รับสือ่ ใหม่ได้
6. คิดวิเคราะห์ / สังเคราะห์ / ประเมิน
7. เรียนรูป้ ั ญหา / มีสานึกร่วม
8. รูจ้ กั ตัวเอง / เป็ นตัวของตัวเอง / มีความโดดเด่น
9. มีทางเลือก / สร้างทางเลือกเอง
10. มีความดี / ความงาม / เฉพาะตัว
วิ ชาชีพ ไม่ พ อ
ต้อ งการศึก ษาทัว่ ไป
ปรัชญาอ ุดมศึกษาไทย
จุดเน้น / ผสมผสาน / ภาพรวม
• อุดมคตินิยม / พระธรรมปิ ฎก / พระไพศาล / ส.ศิวรักษ์
มนุ ษย์
ความหลุดพ้น
ศาสนา / อุดมคติ / ความเสียสละ / จิตใจ
• ปัญญานิ ยม / หมอจรัส / หมอวิจารณ์ / อ.ไพฑูรย์
มนุ ษย์
ความสามารถทางปัญญา
ปรัชญา / ที่มา / ประวัตศิ าสตร์ / อภิปราย / วิเคราะห์
ปรัชญาอ ุดมศึกษาไทย (ต่อ)
• ชุมชนนิ ยม / ศ.เสน่ ห ์ / ดร.เสรี / ดร.นิ ธิ
มนุ ษย์
รูจ้ กั / เข้าใจ / ชุมชน
เรียนรูส้ งั คม / มีสว่ นร่วม / ตระหนักสานึ ก
• ปฏิบตั นิ ิ ยม / ดร.โอฬาร / กลุม่ นักธุรกิจ / โลกาภิวตั น์
มนุ ษย์
ปรับเปลี่ยนตามสังคม
ภาษา / คอมพิวเตอร์ / ธุรกิจ / นานาชาติ
• เทคโนโลยีนิยม / ดร.ศรีศกั ดิ์ / ดร.ชัยยงค์ / อ.ยืน
มนุ ษย์
ใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยี / นวัตกรรม / Media / E-education
ลักษณะคนรนุ่ ใหม่-CCPR Model
บริโภคนิยม
C ritical Mind
บริโภค/ตามอย่าง

บริโภค/สร้างสรรค์

C reative Mind
สร้างสรรค์
ตามอย่าง
P roductive Mind
ผลิตผล/สร้างสรรค์

ผลิตผล/ตามอย่าง

R esponsible Mind
ผลิตผลนิยม
3
3
3
3
1
3
3
1
3
3
2
3
3
3
3
3
3
2
2
3
3
3
3
3
3
3
2
3
1
1
3
3
ความคิด/ความเชื่อและ
การแสดงออก
สภาวะแวดล้ อมกับ
สังคมไทย
สถาบันและความคิด
ตะวันออก
ทีม่ าและผลของ
นานาชาติ
ผลกระทบของ
วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
หมายเหตุ 3 = ทาหน้าที่หลัก 2 = ทาหน้าที่รอง และ 1 = ผลพลอยได้
3
3
3
3
ทัศนะเปรียบเทียบทาง
สังคีตนิยม
3
3
3
ทัศนะเปรียบเทียบทาง
ศิลปนิยม
3
3
รัฐบาลและการเมืองไทย
การวิเคราะห์ วจิ ารณ์
สังคมไทย
พืน้ ฐาน
ศิลปะวัฒนธรรมไทย
เทคโนโลยีใหม่
วิธีการแสวงหาความรู้
ความรู้
ความรู ้พ้นื ฐาน
รอบรู ้สาขาอื่นๆ
รู ้วธิ ีศึกษาในสาขาอื่น
โลกทัศน์กว้างขวาง
โลกและนานาชาติ
รู ้จกั / เข้าใจสังคมไทย
ปัญญา (ความคิด)
นาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
คิดวิเคราะห์วจิ ารณ์
คิดอย่างมีเหตุมีผล
ปรับตัว ตัดสิ นใจ แก้ปัญหา
ความสัมพันธ์ /รับผิดชอบ
ตระหนักในคุณค่าของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศ
รู ้จกั ตนเอง/ผูอ้ ื่นอย่างดีพอ
รับผิดชอบต่อตนเอง/สังคม
ตัวเลข/สื่อสาร/เทคโนโลยี
มีทกั ษะในการสื่ อสาร
มีความสามารถทางภาษา
มีทกั ษะในเทคโนโลยีใหม่
คุณภาพ
มีคุณธรรม/จริ ยธรรม
ซื่อสัตย์/มีจรรยาบรรณ
ภาษาต่ างประเทศ
จุดมุ่งหมาย
การคิดและเขียน
ภาษาไทย
รายวิชา
3
3
2
1
3
3
3
2
1
3
2
2
3
3
อย่ามองข้ามความสาคัญ
•
•
•
•
•
เป็ นข้อบังคับของหลักสูตร
ทุกคนต้องเรียนกับเรา
เรียนถึง 30 หน่วยกิต
เท่ากับ ¼ ของวิชาทั้งหมด
จะหล่อหลอมได้อย่างดี
อะไรที่ใช่และไม่ใช่การศึกษาทัว่ ไป
ไม่ใช่วชิ าเบื้องต้น
ไม่ใช่วชิ าเรียนก่อน
ไม่ใช่วชิ าพื้นฐานวิชาชีพ
ไม่ใช่วชิ าเติมเต็ม
ไม่ใช่วชิ าทดลอง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
Introduction to…
Physics 1
Economics for …
History of …
Experiment in …
ความเป็ นคนที่สมบูรณ์ (ตามที่มหาวิทยาลัยเชื่อ)
เข้าใจโลก / สังคม / ชีวติ (อย่างดีตใี ห้แตก)
เชื่อมโยงวิชาที่เรียนกับชีวติ ประจาวัน (มีความรับผิดชอบ)
พัฒนาคิดวิเคราะห์ สือ่ ความคิดได้ดี (เหตุผล/ที่มาที่ไป)
เรียนรูด้ ว้ ยตนเองได้ / ใฝ่ รู ้
รูจ้ กั เลือก (Judgment)
Ability and Skills in ASEAN Countries
Malaysia
Vietnam
Singapore
จุดมุ่งหมาย
•
•
•
•
•
Communication
Team work
Problem solving
Examining issues in totality
Balance this with the benefits
of community and individuals
Creative thinking
Lifelong learning
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Thinking Skills
Communication
Leadership
Civilization
Lateral Thinking
Well rounded graduate
Writing
Innovative
Articulate
Groomed to lead
ลักษณะรายวิชา
•
•
•
•
•
•
Foreign Languages
Social Sciences
Humanities
Natural Sciences and
Mathematics
National Defend Education
Physical Education
•
•
•
•
Well-trained vs Well-educated doctors
Synthesize and integrate knowledge
from diverse discipline to establish a
connection between all human
knowledge and infuse students with a
concrete understanding of the
process of human creation
One module each from Writing
Program and History
Select modules from the Humanities
and Social Sciences and from areas
of Science and Mathematics
America กลุ่มกลาง
University of Missoury
Indiana State University
San Francisco State University
จุดมุ่งหมาย
•
•
•
•
•
•
•
Reason and Think clearly
Write and speak coherently
Understand the important issues
Understand the important of
international affairs
Understand our culture and history
Appreciate the fine arts and
Humanities
Understand major scientific and
technological influence in society
•
•
•
•
•
Critical thinking
Communication skills
Quantitative literacy
Lifelong learning
Issue of value and belief
•
•
•
•
Critical thinking
Written Communication
Oral Communication
Quantitative reason
ลักษณะรายวิชา
Skills
•
Math
•
English
•
American History and
Government
•
Math Proficiency Course
Understanding
•
Biological Science
•
Physical Science
•
Mathematical Science
•
Behavioral and Social Science
•
Humanity and / or Fine Arts
Basic Studies
•
English/Foreign Language
•
Math/it/physical edu
Liberal Studies
•
Scientific of Mathematical
•
Social and Behavior
Studies
•
Literary Artistic and
Philosophical Studies
•
Historical Studies
•
Multicultural Studies
Segment 1 Basic Subjects
•
Written/Oral Communication
•
Critical thinking/Qualitative
Reasoning
Segment 2 Arts and Sciences
•
Physical and biological science
Area
•
Behavioral and Social Sciences
Area
•
Integrative Science
•
Humanities and Creative Arts
Area
America
Harvard University
กลุ่มนา
Columbia University
Stanford University
จุดมุ่งหมาย
• General education prepares for civic
engagement.
• General education teaches students to
understand themselves as products of – and
participants – traditions of art, ideas, and
values.
• General education prepares students to
respond critically and constructively to
change.
• General education develops students’
understanding of the ethical dimensions of
what they say and do.
• Interactive Pedagogy
• To introduce students to a broad range of
• Taught in seminars limited to
fields and areas of study within the
approximately twenty-two students
humanities, social sciences, natural
• Active intellectual engagement.
sciences, applied sciences, and
• Intellectual relationships with their
technology
College career
• Shared process of intellectual inquiry • To help students prepare to become
responsible members of society.
• Skills and habits : observation,
analysis, arrangement, imagination
• The requirements are also intended to
introduce students to the major social,
• Provide a rigorous preparation for life
an intelligent citizen
historical, cultural, and intellectual forces
that shape the contemporary world.
ลักษณะรายวิชา
• Writing and Speaking
• Aesthetic and Interpretive
Understanding
• Culture and Belief
• Empirical Reasoning
• Ethical Reasoning
• Science of Living Systems
• Science of the Physical Universe
• Societies of the World
• The United States in the World
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
University Writing
Contemporary Civilization
Literature Humanities
Art Humanities
Literature Humanities
Music Humanities
Major Cultures Requirement
Frontiers of Science
Science
Foreign Language Requirement
Physical Education Requirement
Foundations:writing/freshman seminar
Area 1 Introduction to the Humanities
courses
Area 2 Natural Sciences, Applied Science
and Technology, and Mathematic
Area 3 Humanities and Social Sciences
Area 4 World Cultures, American Cultures,
and Gender Studies
ค ุณลักษณะบัณฑิตกับเงื่อนไขการสอน (จากงานวิจยั )
Degree
Goal
(พื้นฐาน/เพียงพอ/
ทาได้)
(ทันสมัย/แสวงหา/
พัฒนา)
(ลึก/เชื่อมโยง/อนาคต)
(เฉี ยบ/เชี่ยวชาญ/
ตกผลึก)
BASIC
พื้นฐาน
ADVANCED
ก้าวหน้า
PROACTIVE
เชิงรุก
EXCELLENT
เป็ นเลิศ
บรรยาย / อ่านเอกสาร /
ค้นคว้า
Process
KNOWLEDGE
ความรู ้
Informative
Lecturing
บรรยายเชิงข้อมูล
Innovative Lecturing
บรรยายเชิงพัฒนา
Critical Lecturing
บรรยายเชิงวิเคราะห์
Integratigrative
Lecturing
บรรยาย
เชิงบูรณาการ
THINKING
ความคิด
Open Discussion
(Mind Mapping)
อภิปรายทัว่ ไป
Creative Discussion
อภิปรายเชิงสร้างสรรค์
Strategic Discussion
(Socratic Analysis)
Crytalization
Discussion
อภิปรายเชิงตกผลึก
อภิปราย / กลุม่ ย่อย
วิเคราะห์ / วิจารณ์
SKILL
ความสามารถ
Practical Work
ฝึ กปฏิบตั ิ
Problem-Based
Learning
ฝึ กแก้ปญั หา
Project –Based
Learning
ฝึ กการทาโครงการ
Research-Based
Learning
ฝึ กการวิจยั /สร้างงาน
ฝึ ก / ทดลอง
ลงมือทา / วิจยั
ETHICS
คุณธรรม
จริยธรรม
Self-Directed
Learning
เรียนรูด้ ว้ ยตัวเอง
Characteristic
Learning
สร้างบุคลิกภาพ
Role Development
Strategies
ตระหนักในบทบาท
Self-Actualization
เข้าใจตนเอง
วิเคราะห์ / ทดสอบ
เรียนรู ้ / สานึ ก
ปฏิบตั ิ
กระบวนการผลิตบัณฑิตด้านค ุณธรรมจริยธรรม (Ethics)
องค์ประกอบ
หลักสูตร
การจัด
การเรียน
การสอน
กิจกรรม
นักศึกษา
กระบวนการผลิตบัณฑิตด้านคุณธรรมจริยธรรม (Ethics)
คุณธรรมจริยธรรม - พื้นฐาน
คุณธรรมจริยธรรม - ก้าวหน้า
คุณธรรมจริยธรรม - เชิงรุก
-ทุกมวลประสบการณ์ควรสอดแทรก
การสร้างและพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรม ความสนใจ ใฝ่ รู ้ ทักษะชีวติ
และสังคม เพือ่ ให้ผูเ้ รียนได้พฒั นา
บุคลิกลักษณะของตน
-ควรปรับหลักสูตรที่เสริมสร้างความเป็ น
มนุ ษย์ท่สี มบูรณ์
-สร้างรูปแบบวิชาบัณฑิตอุดมคติไทยใน
หมวดวิชาพื้นฐานทัว่ ไปเพือ่ ฝึ กฝนบัณฑิต
ให้ถงึ พร้อมด้วยความรูล้ กึ รูร้ อบ รูก้ ว้าง
-พัฒนาให้ผูเ้ รียนมีคุณธรรมจริยธรรม
ทัง้ ในฐานะความเป็ นมนุ ษย์
ครอบครัว สังคม ประเทศ มีคุณธรรม
ในสาขาอาชีพของตนเอง รวมทัง้ วุฒิ
ภาวะที่เหมาะสมในการดารงตน
-บูรณาการคุณธรรมจริยธรรมกับการ
เรียนการสอนวิชาการ
-จัดโครงการรายวิชาด้านคุณธรรม นา
เรื่องราวของสังคมและชีวิตมาเป็ นเนื้ อหา
ในการแลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ะหว่างนักศึกษา
ด้วยกันและกับอาจารย์ รวมทัง้ จัดทา
กรณี ศึกษาประกอบการเรียนการสอน
- จัดกิจกรรมเพือ่ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
ในสถานที่พกั อาศัยของนักศึกษา
-มีการจัดโครงการหรืองานด้าน
คุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาอย่าง
ต่อเนื่ อง
- จัดสิง่ แวดล้อมที่เอื้อต่อการให้บุคลากร
ในสถาบันมีสว่ นร่วมรับผิดชอบในการ
พัฒนานิ สติ นักศึกษาให้มีคุณภาพและ
มีความรูค้ ู่คุณธรรม โดยไม่แยกฝ่ าย
สิง่ แวดล้อม วิชาการและฝ่ ายกิจกรรมนักศึกษา
- สถาบันการศึกษาที่มีหอพักดาเนิ นการโดย
ใช้หอพักเป็ นศูนย์การศึกษาและอาศัย เป็ น
แหล่งที่จะส่งเสริมการเรียนรูท้ กั ษะชีวิตและ
วิชาการ
คุณธรรมจริยธรรม - เป็ นเลิศ
-พัฒนาผูเ้ รียนเป็ นคนที่สมบูรณ์ทง้ั
ร่างกายและจิตใจ สติปญั ญา และ
อารมณ์ การดารงตนให้มีความสุข
ตามแก่อตั ภาพ มีความเป็ น
พลเมืองดี ความเป็ นประชาธิปไตย
การดารงชีวติ อย่างเป็ นสุข และมี
วัฒนธรรมสันติ
-ส่งเสริมผูเ้ รียนให้มีปฏิสมั พันธ์กบั
-ยึดผูเ้ รียนเป็ นหลัก โดยให้
ผูเ้ รียนด้วยกัน และระหว่างผูเ้ รียน ความสาคัญทัง้ ความรู ้ คุณธรรม
กับผูส้ อนที่เป็ นไปอย่างสร้างสรรค์ และกระบวนการเรียนรู ้ ด้วย
การเคารพในความคิดเห็น และการ กระบวนการของเหตุผล
ใช้เหตุผล
-ส่งเสริมให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์
- ส่งเสริมสนับสนุ นการเรียนรู ้
ปัญหาเชิงคุณธรรมจริยธรรมใน
เพือ่ ให้ผูเ้ รียนสามารถพัฒนาและ
สถาบันโดยใช้สถานการณ์และข่าว แสดงออกเต็มตามศักยภาพ ยึด
จริง เพือ่ มองเห็นความจาเป็ นที่ตอ้ ง หลักเหตุผลทางจริยธรรม
ปรับปรุงแก้ไข
-จัดสิง่ แวดล้อมที่เอื้อต่อการให้
-จัดสิง่ แวดล้อมในด้านอาคาร
บุคลากรในสถาบันมีสว่ นร่วม
สถานที่ท่แี สดงถึงความขลังและ
รับผิดชอบในการพัฒนานิ สติ
เกียรติวฒ
ุ ิ อุปกรณ์มีความทันสมัย
นักศึกษาให้มีคุณภาพและมีความรูค้ ู่ และเพียงพอเป็ นที่ประทับใจ
คุณธรรม โดยไม่แยกฝ่ ายวิชาการ -สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปลูกฝัง
และฝ่ ายกิจกรรมนักศึกษา รวมทัง้ มี และพัฒนาวัฒนธรรมและ
การจัดโครงการหรืองานด้านพัฒนา จริยธรรมให้แก่นักศึกษาพร้อมกับ
คุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาอย่าง
การเป็ นแหล่งที่ผลิตผูท้ รงความรู ้
ต่อเนื่ อง
และปัญญา
กระบวนการผลิตบัณฑิตด้านความร ้ ู (Knowledge)
กระบวนการผลิตบัณฑิตด้านความรู ้ (Knowledge)
องค์ประกอบ
ความรู ้ - พื้นฐาน
หลักสูตร
การจัด
การเรียน
การสอน
- เพือ่ ให้บณ
ั ฑิตมีความรูท้ วั ่ ไปและ
ความรูต้ ามวิชาชีพของตนเอง
- หลักสูตรต้องมุ่งพัฒนาบัณฑิตอย่าง
สมดุลทัง้ ความรู ้ ความสามารถ และ
ความดีงาม
ความรู ้ - ก้าวหน้า
ความรู ้ - เชิงรุก
- เพือ่ ให้บณ
ั ฑิตมีความรูท้ นั สมัย รูจ้ กั
สืบเสาะแสวงหาความรูอ้ ยู่เสมอ
- หลักสูตรที่สง่ เสริมทักษะที่เป็ นเครื่องมือ
การเรียนรูใ้ นสังคมข้อมูลข่าวสารและ
เอื้อต่อการเรียนรูต้ ลอดชีวิต
- เพือ่ ให้บณ
ั ฑิตมีความรูล้ กึ สามารถ
เชื่อมโยงและ บูรณาการความรูไ้ ด้
- จัดหลักสูตรการศึกษาที่ร่วมกับบุคคล
ครอบครัว ชุมชน เพือ่ ส่งเสริมความ
เข้มแข็งของชุมชน
ความรู ้ - เป็ นเลิศ
- เพือ่ ให้บณ
ั ฑิตมีความเชี่ยวชาญ
เข้าถึงแก่นความรูแ้ ละสร้างองค์
ความรูใ้ หม่ได้
- หลักสูตรมุ่งจะพัฒนาวิชาการ
วิชาชีพชัน้ สูง และการค้นคว้าวิจยั
เพือ่ พัฒนาองค์ความรูแ้ ละสังคม
- เพือ่ สร้างความรูพ้ ้ นื ฐานให้แก่บณ
ั ฑิต - การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ - เน้นระหว่างวิชาความรูก้ บั ชีวิตจริง - การค้นคว้าและวิพากษ์วจิ ารณ์
เพือ่ ให้บณ
ั ฑิตมีความรูท้ วั ่ ไปและ
จัดการเรียนการสอน
รวมทัง้ การเน้นประสบการณ์ตรง
เนื้ อหาสาระของวิชาในหลักสูตร
ความรูต้ ามวิชาชีพของตนเอง
กระบวนการคิ
ด
การเชื
อ
มโยงทฤษฎี
่
- กระจายโอกาสทางการศึกษาอย่าง
- ค้นหาความรูโ้ ดยวิธีวจิ ยั และ
กั
บ
การปฏิ
บ
ต
ั
ิ
- มีวธิ ีการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับ กว้างขวางและทัว่ ถึง
นาเสนอสาระความรูด้ ว้ ยการพูด
ธรรมชาติ เนื้ อหาวิชา และระดับของ - จัดการเรียนการสอนในเชิงนวัตกรรม - ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนได้คน้ พบความรู ้ และการเขียนที่ถกู ต้องเป็ นระบบ
ผูเ้ รียน ลดการบรรยาย
ด้วยตนเอง
เป็ นหลัก
- ส่งเสริมให้มีการบูรณาการกิจกรรม - บูรณาการกิจกรรมและกิจการนักศึกษา นักศึกษากับการเรียนการสอน
กับการเรียนการสอนเข้าด้วยกัน ซึ่งจัด
ได้ทง้ั กิจกรรมที่นักศึกษาเป็ นผูก้ ระทาเอง กิจกรรม
- บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาต้องมี
และกิจกรรมที่เป็ นความรับผิดชอบระดับ
ส่วนร่วมรับผิดชอบในการพัฒนานิ สติ
นักศึกษา
นักศึกษาให้มีคุณภาพและมีความรูค้ ู่ มหาวิทยาลัย
คุณธรรม
- จัดอาคารสถานที่ท่แี สดงความขลังและ - สร้างระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เกียรติวฒ
ุ ิ มีบรรยากาศที่สง่ เสริมและ เชื่อมโยงทัง้ มหาวิทยาลัย สนับสนุ นการ
จัดตัง้ ศูนย์คอมพิวเตอร์ เตรียมการซื้อ
สิง่ แวดล้อม เอื้ออานวยในด้านวิชาการ
ศิลปวัฒนธรรม กีฬา
และสร้างซอฟต์แวร์ รวมทัง้ สร้างระบบ ห้องสมุดอิเล็กทรอนิ กส์
กิจกรรมที่เพิม่ พูนความรูเ้ กีย่ วกับ
การมีปฏิสมั พันธ์กบั ชุมชน
ส่งเสริมการดาเนิ นโครงการกิจกรรม
ร่วมในหลายสาขาวิชาชีพและ
หลากหลายสถาบัน โดยมีสถาบัน
แห่งหนึ่ งเป็ นแกนกลาง
การจัดตัง้ เครือข่ายทางการศึกษา
เพือ่ แลกเปลี่ยนข้อความรูแ้ ละข้อมูล
ข่าวสารระหว่างกัน
พัฒนาระบบที่สง่ เสริมยุทธศาสตร์
การทางาน
- ให้ความสาคัญต่อระบบอาจารย์ท่ี
ปรึกษาที่มีบทบาทในการพัฒนา
นักศึกษา ให้นักศึกษาแลกเปลี่ยน
วิเคราะห์กนั เอง สร้างงานได้เอง
จัดสวัสดิการสนับสนุ นการ
ปฏิบตั งิ าน
- การประชุมสัมมนาในระดับชาติ
นานาชาติ เพือ่ สะท้อน
ความก้าวหน้าทางวิชาการ
- สนับสนุ นการวิจยั หรืองบประมาณ
กระบวนการผลิตบัณฑิตด้านความคิด (Thinking)
องค์ประกอบ
หลักสูตร
กระบวนการผลิตบัณฑิตด้านความคิด (Thinking)
ความคิด – พื้นฐาน
ความคิด - ก้าวหน้า
- เพือ่ ให้บณั ฑิตสามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ และประเมินผลได้
- หลักสูตรประกอบด้วยมวลประสบการณ์
ทีผ่ ูเ้ รียนต้องเรียนรูเ้ พือ่ นาไปประกอบ
อาชีพชัน้ สูงและวิเคราะห์วจิ ารณ์ได้
- เพือ่ ให้บณั ฑิตมีความคิดสร้างสรรค์
สามารถคิดใหม่ได้อย่างทันสมัย
- หลักสูตรทีค่ รอบคลุมวิชาการที่เสริมสร้าง
ความเป็ นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ ทาให้
นักศึกษามีโลกทัศฯกว้าง และจัดรายวิชา
ทีพ่ ฒั นาให้บณั ฑิตมีความใฝ่ รูแ้ ละมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
การจัด
การเรียน
การสอน
- จัดการเรียนการสอนทีห่ ลากหลาย
- จัดการเรียนการสอนโดยประสบการณ์
เหมาะสมกับธรรมชาติ เนื้อหาวิชา และ จริง เพือ่ ให้ผูเ้ รียนสามารถวิเคราะห์
ระดับของผูเ้ รียน ในการกระตุน้ ให้
สังเคราะห์นวัตกรรม และความคิดริเริ่ม
ผูเ้ รียนรูจ้ กั คิดวิเคราะห์
สร้างสรรค์ได้
กิจกรรม
นักศึกษา
- จัดกิจกรรมทีใ่ ห้นิสติ นักศึกษา อาจารย์ – การจัดเวทีวพิ ากษ์วจิ ารณ์ อภิปราย เพือ่
ได้ตระหนัก เข้าใจ รับรู ้ และร่วมกัน
ฝึ กทักษะการแสดงความคิดเห็น และ
วิพากษ์วจิ ารณ์ปญั หา และเห็นความ
สร้างบรรยากาศประชาธิปไตยอย่าง
จาเป็ นทีจ่ ะต้องปรับปรุงแก้ไขปัญหา
สร้างสรรค์
- ให้ความสาคัญกับนักศึกษาระดับพื้นฐาน
ให้มากขึ้น และเสริมสร้างบรรยากาศใน
สถาบันให้เอื้อต่อการพัฒนาบัณฑิตใน
สิง่ แวดล้อม อุดมคติ รวมทัง้ การส่งเสริมให้นิสติ /
นักศึกษาคิดวิเคราะห์ปญั หาในสถาบัน
และสังคม
- มีอปุ กรณ์การเรียนการสอนที่ทนั สมัย เช่น
เทคโนโลยีการศึกษา และเทคโนโลยี
สารสนเทศ มีการบริหารทีค่ ล่องตัวเพือ่
ความสะดวกรวดเร็ว
ความคิด - เชิงรุก
ความคิด - เป็ นเลิศ
- เพือ่ ให้บณั ฑิตมีความคิด เชิงรุก มี - เพือ่ ให้บณั ฑิตเป็ นผูท้ ่มี คี วามคิด
ยุทธศาสตร์ วิสยั ทัศน์ สามารถคิดไป รวบยอดและสามารถตกผลึกทาง
ความคิดได้
ข้างหน้าและคิดได้เอง
กสูตรการศึกษาต้องมีเนื้อหา
- หลักสูตรทีเ่ น้นการพัฒนานักวิชาการ - หลั
ลึ
ก
ซึ
้งทัง้ ทางทฤษฎีและการปฏิบตั ิ
และนักวิชาชีพทีม่ คี วามรู ้
เฉพาะทางตามสาขาอาชีพ โดยมี
ความสามารถระดับสูงในสาขาวิชา
ต่างๆ มองเห็นความเชื่อมโยงของ
เนื้อหาเกี่ยวกับระเบียบวิธีวจิ ยั
สาระความรู ้
- มีกระบวนการเรียนรูท้ ส่ี ร้างความเป็ น - เพือ่ กระตุน้ ให้ผูเ้ รียนมีความช่าง
ผูน้ าทางวิชาการและวิชาชีพ
สังเกต ช่างคิด เพือ่ ต่อยอด
- ผูส้ อนเปลีย่ นบทบาทเป็ นให้ผูเ้ รียน ความคิดเดิมให้เกิดเป็ นความคิด
คิดวิเคราะห์เป็ น รูจ้ กั คิด ไปข้างหน้า ใหม่ได้
เพือ่ ให้สามารถค้นคว้าด้วยตนเอง
- จัดประชุมสัมมนาในระดับนานาชาติ - จัดประชุมสัมมนาระดับชาติ ระดับ
และระดับชาติทเ่ี กี่ยวกับศาสตร์ท่ี
นานาชาติ เพือ่ ฝึ กทักษะการแสดง
เกี่ยวข้อง รวมทัง้ การจัดเวทีเพือ่ ฝึ ก ความคิดเห็น และการเสนอ
ทักษะการแสดงความคิดเห็นของ
ผลงานวิจยั ของผูเ้ รียน
นักศึกษา
- กิจกรรมกลุม่ ทีส่ ่งเสริมการคิด
- จัดศูนย์การเรียนทีเ่ หมาะสมในแต่ละ - จัดประชุมสัมมนาระดับชาติ
ศาสตร์ เพือ่ ให้มกี ระบวนการเรียนรู ้ ระดับชาติ ระดับนานาชาติ เพือ่ ฝึ ก
ด้วยตนเองของศาสตร์นนั้ ๆ
ทักษะการแสดงความคิดเห็น และ
การเสนอผลงานวิจยั ของผูเ้ รียน
- บริการทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู ้
แลกเปลีย่ นและอภิปรายทัง้ ในและ
นอกสถาบัน
กระบวนการผลิตบัณฑิตด้านความสามารถ (Skill)
กระบวนการผลิตบัณฑิตด้านความสามารถ (Skill)
องค์ประกอบ
หลักสูตร
การจัด
การเรียน
การสอน
ความสามารถ - พื้นฐาน
ความสามารถ - ก้าวหน้า
ความสามารถ - เชิงรุก
ความสามารถ – เป็ นเลิศ
-มุ่งพัฒนาบัณฑิตอย่างสมดุลทัง้ ความรู ้
ความสามารถ และความดีงาม โดยมี
ความรอบรูท้ ง้ั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง
เหมาะสม
-ดาเนิ นการสอนให้มีรูปแบบการเรียนรูท้ ่ี
หลากหลายตามความสนใจและความ
ถนัดของผูเ้ รียน
-การสอนต้องมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนา
ทักษะและภูมิปญั ญาในอาชีพ และเพือ่
พัฒนาจิตสานึ กและภูมิธรรมในฐานะ
มนุ ษย์และพลเมืองของสังคมไทย
-จัดหลักสูตรที่มีความหลากหลายตาม
ความต้องการของผูเ้ รียน เพือ่ เอื้อต่อการ
เรียนรูต้ ลอดชีวิต และทาให้เกิดการ
เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และมีการจัดการศึกษา
ทางไกล
-ให้ผูเ้ รียนได้เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง เกิดความ
อยากรู ้ และเรียนรูว้ ธิ ีการแสวงหาความรู ้
-ผูส้ อนกาหนดหัวข้อให้นักศึกษาทา
รายงาน และกาหนดการสอนแบบ
กลุ่มย่อย
-ส่งเสริมให้เรียนรู ้ สร้างงานได้ดว้ ยตนเอง
-เพือ่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มีทกั ษะขัน้ สูง
ในการประกอบอาชีพ สามารถทางาน
ร่วมกับผูอ้ น่ื และปรับปรุงการทางาน
ให้เหมาะสมกับสิง่ แวดล้อม สังคม
และวัฒนธรรมของท้องถิน่ ได้
-นาเสนอสิง่ ที่ได้คน้ คว้าและส่งเสริม
ให้ผูเ้ รียนได้พฒั นาทักษะในการ
เชื่อมโยงความรูใ้ นสาขาวิชากับวิชา
ในสาขาอืน่
-มองเห็นผลกระทบของการพัฒนา
วิชาการที่มีต่อคุณภาพชีวิต
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อม
- มุ่งสร้างผูน้ าในการพัฒนาวิชาการ
หรือวิชาชีพและเป็ นแบบอย่างแก่
ชุมชนและประเทศได้
-ควรบูรณาการกิจกรรมและกิจการ
กิจกรรม นักศึกษากับการเรียนการสอนเข้า
ด้วยกัน เช่น ชมรม หรือกิจกรรมที่คณะ
นักศึกษา หรือสาขาวิชาเป็ นผูจ้ ดั การฝึ กงานที่อยู่
นอกเหนื อจากหลักสูตร
-จัดสิง่ แวดล้อมให้มีบรรยากาศในการ
ปลูกฝังค่านิ ยมที่พงึ ประสงค์ รวมทัง้ จัด
วัสดุอปุ กรณ์ท่มี ีความทันสมัย จัด
สิง่ แวดล้อม บรรยากาศและกิจกรรมต่างๆ ทางด้าน
วิชาการ ศิลปวัฒนธรรม และกีฬา
-ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบตั จิ ริง -เพิม่ พูนทักษะเกีย่ วกับการมี
เรียนรูใ้ นสถานการณ์จริง ส่งเสริมทักษะ ปฏิสมั พันธ์กบั ชุมชน รวมทัง้ ส่งเสริม
ในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการ
โครงการกิจกรรมร่วมในหลายสาขา
ปฏิบตั งิ านได้ถกู ต้อง
วิชาชีพและหลายสถาบัน
-สถาบันอุดมศึกษาต้องจัดปัจจัยด้าน
-พัฒนาทักษะในการปฏิบตั งิ านของ
อุปกรณ์ท่เี กีย่ วข้องกับการเรียนการสอน นักศึกษา โดยเฉพาะการใช้
เช่น ห้องสมุดที่มีประสิทธิภาพ และ
ประโยชน์จากการศึกษาหรือการ
อุปกรณ์การเรียนการสอนที่ทนั สมัย
วิจยั ค้นคว้า มีการจัดอุปกรณ์การ
เรียนการสอนที่เอื้อต่อศาสตร์ในแต่
ละสาขาวิชา เพือ่ ให้มีการเรียนรูด้ ว้ ย
ตนเองในศาสตร์น้นั ๆ
-ค้นหาความรูโ้ ดยใช้สอ่ื คอมพิวเตอร์
ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนนาเสนอสาระด้วย
การพูดและการเขียน และส่งเสริม
ให้ผูเ้ รียนได้ลงมือปฏิบตั ิจริง/ทา
วิจยั
-พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษา
ร่วมกับสถานประกอบการใน
โครงการพิเศษประเภทต่างๆ เพือ่
การปฏิบตั ไิ ด้จริง
- เน้นการมีสว่ นร่วมกับชุมชน หรือ
การพัฒนาร่วมกับหน่ วยงานอืน่
ได้แก่ ภาคธุรกิจ เอกชน หน่ วยงาน
ต่างๆ ในการร่วมมือจัดการศึกษา
และการผลิตบัณฑิต
-จัดอุปกรณ์การเรียน บรรยากาศ
และการบริหารจัดการที่มี
ประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการพัฒนา
ทักษะในด้านการค้นคว้าวิจยั
รวมทัง้ การเรียนรูจ้ ากสภาพจริงของ
สังคม
กระบวนการสอนที่ควรจะเน้น
1. แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของสาระนั้นกับมนุษย์และสังคม
2. อภิปรายปั ญหาและแนวทางแก้ปัญหาของศาสตร์น้นั ๆ
3. ให้ทางเลือกที่จะช่วยแก้ปัญหากับสังคม
4. ถกเถียงบทบาทของผูเ้ รียนต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
5. เน้นกระบวนการคิดและวิเคราะห์ในทุกขั้นตอน
6. กล่าวถึงวิธีการแสวงหาความรูค้ วามเข้าใจศาสตร์น้นั ๆ
7. คานึงถึงสิ่งที่ดีงามและก้าวหน้าของผูเ้ รียนอยูเ่ สมอ
51
สัตตศิลาของคร ูผูเ้ อื้อความร ้ ู
ครู ผูใ้ ห้ความรู ้
1. ผูก้ าหนดจุดมุ่งหมาย
2. ผูห้ าความรูใ้ ห้เด็ก
3. วิเคราะห์ความรูใ้ ห้ดู
4. ประเมินความรูใ้ ห้เป็ นตัวอย่าง
5. อธิบายการใช้ความรูใ้ ห้เด็ก
6. อธิบายองค์ความรูเ้ ดิม
7. ประเมินผลเพียงคนเดียว
ครู ผูเ้ อื้อความรู ้
1. ช่วยให้เด็กกาหนดจุดมุ่งหมายได้
2. ชี้แนะวิธีหาความรูใ้ ห้เด็ก
3. แนะให้เด็กวิเคราะห์ความรูไ้ ด้
4. ช่วยให้เด็กประเมินความรูท้ ี่ได้
5. ส่งเสริมให้ประยุกต์ความรูเ้ ป็ น
6. ให้เด็กสร้างองค์ความรูข้ ้ ึนเอง
7. ให้เด็กประเมินการเรียนรูเ้ อง
52
มิติบริหาร
องค์ประกอบ
มิติบริหาร
หลักสูตร
การสอน
กิจกรรม
สิ่งแวดล้อม
Routined
หลักสูตรเดิม
ทาตามเดิม
ดูแลของเดิม
Semi-Routined
ปรับปรุงเดิม
บรรยาย
ปรับปรุงการ
บรรยาย
มีกิจกรรมใหม่ พัฒนาของเดิม
Semi-Progressive
ปรับปรุงใหม่
ทาวิธีใหม่ๆ
ให้เด็กคิดเอง
นาสิ่งใหม่ๆ
เข้ามา
Progressive
สร้างหลักสูตร
ใหม่
ให้เด็กหา
ความรูเ้ อง
เปลี่ยน
ความคิดเด็ก
จัดสภาพ
แวดล้อมใหม่
แนวคิดเกี่ยวกับบัณฑิตศึกษา
1. ข้ออ่อนด้อยของการเรียนการสอนบัณฑิตศึกษาไทย
• การเรียนการสอนที่ยงั ไม่สร้างความรูข้ ้ ึนใหม่ในสังคมไทย
• สิง่ ที่ผูเ้ รียนรูไ้ ม่สอดคล้องกับความเป็ นจริงในสังคมไทย
• ครูเป็ นผูแ้ สวงหาความรู ้ และเตรียมความรูใ้ ห้กบั ผูเ้ รียน
• การเรียนการสอนที่เน้นการบรรยายเป็ นส่วนใหญ่
2. แนวคิดพื้นฐานของการบัณฑิตศึกษา
• การสืบเสาะ (Inquiry)
• ความเป็ นนักวิชาการ (Scholarship)
• ความเชี่ยวชาญเฉพาะ (Specialization)
• ความเป็ นเลิศ (Excellence)
• การพัฒนา (Development)
แนวคิดเกี่ยวกับบัณฑิตศึกษา (ต่อ)
3. ความจาเป็ นของการสร้างองค์ความรูใ้ นสังคมไทย
• ความจาเป็ นที่จะต้องมีเอกลักษณ์ของตนเอง
• ความจาเป็ นที่จะต้องมีองค์ความรูเ้ พื่อแก้ปญั หาสังคมไทยเราเอง
• องค์ความรูข้ องต่างประเทศเริ่มผูกขาดและมีราคาแพง
• สังคมไทยมีความจาเป็ นต้องแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ มากขึ้น
• การมีบทบาทนาในภูมิภาคจาเป็ นมากขึ้นเรื่อยๆ
แนวคิดเกี่ยวกับบัณฑิตศึกษา (ต่อ)
4. เมื่อแหล่งการเรียนรูเ้ ปลี่ยนกระบวนทัศน์กจ็ าเป็นต้องเปลี่ยน
แผนภูมิแสดงแหล่งความรู ้
ความรู ้
ความรู ้
ความรู ้
ความรู ้
ครู
หนังสือ
สือ่ IT
สภาพจริง
ผูเ้ รียน
ผูเ้ รียน
ผูเ้ รียน
ผูเ้ รียน
ครูแสวงหาความรูแ้ ล้วนามา
บรรยายแก่ผูเ้ รียน
ผูเ้ รียนจะต้องแสวงหาความรู ้
ด้วยตัวเอง
แนวคิดเกี่ยวกับบัณฑิตศึกษา (ต่อ)
5. รูปแบบการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา
รูปแบบการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา
Self-Directed
Problem-Based
การสอนที่เน้นการวิจยั
Research-Based
Critical-Based
Crystal-Based
แนวปฏิบตั ิ TQF ในการพัฒนาหลักสูตรและการสอน
1. พัฒนารายละเอียดหลักสูตรตามแนว มคอ.2
2. พัฒนารายละเอียดของรายวิชาตามแนว มคอ.3
3. พัฒนารายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ.4
4. พัฒนารายงานผลการดาเนินงานรายวิชา มคอ.5
5. พัฒนารายละเอียดผลการดาเนินงานประสบการณ์ฯ มคอ.6
6. พัฒนารายละเอียดผลการดาเนินงานหลักสูตร มคอ.7
58
ตัวอย่ าง มคอ . ๒
รายละเอียดของหลักสู ตร
หมวดที่ ๑ ข้ อมูลทัว่ ไป
๑. รหัสและชื่อหลักสูตร
๒. ชื่อปริ ญญาและสาขาวิชา
๓. วิชาเอก (ถ้ามี)
๔. จานวนหน่วยกิต
๕. รู ปแบบของหลักสูตร
๖. สถานภาพของหลักสูตรและการ
พิจารณาอนุมติ
๗. ความพร้อมในการเผยแพร่ หลักสูตร
๘. อาชีพที่สามารถประกอบได้
๙. ชื่อเลขประจาตัวบัตรประชาชน
ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของ
อาจารย์
๑๐. สถานที่จดั การเรี ยนการสอน
๑๑. สถานการณ์ภายนอกหรื อการพัฒนา
ที่จาเป็ นต้องนามาพิจารณาในการ
วางแผนหลักสูตร
๑๒. ผลกระทบจากข้อ ๑๑ ต่อการ
หมวดที่ ๒ ข้อมูลเฉพาะของหลักสู ตร
พัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้อง
๑. ปรัชญา
กับพันธกิจของสถาบัน
๒. แผนพัฒนาปรับปรุ ง
๑๓. ความสัมพันธ์กบั หลักสูตรอื่น
หมวดที่ ๓ ระบบการจัดการศึกษา การ
ดาเนินการและโครงสร้างของ
หลักสูตร
๑. ระบบการจัดการศึกษา
๒. การดาเนินการหลักสูตร
๓. หลักสูตรและอาจารย์ผสู ้ อน
๔. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์
ภาคสนาม
๕. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงาน
หรื องานวิจยั
หมวดที่ ๔ ผลการเรี ยนรู ้ กลยุทธ์การ
สอนและการประเมินผล
๑. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของ
นักศึกษา
๒. การพัฒนาผลการเรี ยนรู ้
๓. แผนที่แสดงการกระจายความ
รับผิดชอบ
หมวดที่ ๕ หลักเกณฑ์ในการประเมิน
นักศึกษา
หมวดที่ ๖ การพัฒนาคณาจารย์
หมวดที่ ๗ การประกันคุณภาพ
หลักสูตร
หมวดที่ ๘ การประเมินและปรับปรุ ง
การดาเนินการของหลักสูตร
ตัวอย่าง / มคอ.3
(รายละเอียดของรายวิชา)
หมวด 1 ข้อมูลทัว่ ไป Course Specification
1.1 ชื่อรายวิชาและรหัส
1.2 จานวนหน่ วยกิต
1.3 หลักสูตรที่เรียนรายวิชานี้ และประเภทของรายวิชา
1.4 รายนามของคณาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบรายวิชา
1.5 ภาคการศึกษา / ปี การศึกษาที่เปิ ดสอนรายวิชานี้
1.6 วิชาบังคับก่อนสาหรับรายวิชานี้
1.7 วิชาที่ตอ้ งเรียนร่วมกับรายวิชานี้
1.8 สถานที่เรียน
1.9 วันที่จดั ทาข้อกาหนดจาเพาะของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครัง้ ล่าสุด
รายละเอียดของรายวิชา (ต่อ)
หมวด 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
2.1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา
2.2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนารายวิชา (เช่น เพิ่มการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ web based , การเปลี่ยนแปลงเนื้ อหาของรายวิชาซึ่ง
เป็ นผลจากงานวิจยั ใหม่ๆ ในสาขา
หมวด 3 ลักษณะและการดาเนิ นงาน
3.1 คาอธิบายรายวิชา (ตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร)
3.2 จานวนชัว่ โมงที่ใช้ / ภาคการศึกษา
3.3 จานวนชัว่ โมงต่อสัปดาห์ท่คี ณาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการ
รายละเอียดของรายวิชา (ต่อ)
หมวด 4 การพัฒนาผลการเรียนรูข้ องนักศึกษา สาหรับแต่กลุม่ มาตรฐานการเรียนรู ใ้ ห้แสดง
ข้อมูลดังนี้
(1) ข้อสรุปสัน้ ๆ เกี่ยวกับความรู ้ หรือทักษะที่รายวิชามุ่งหวังที่จะพัฒนานักศึกษา
(2) กลยุทธ์การสอนที่จะใช้ในรายวิชาเพื่อพัฒนาความรู ้ หรือทักษะในข้อ (1)
(3) วิธีการที่จะใช้วดั และประเมินผลการเรียนรูข้ องนักศึกษาในรายวิชา
4.1 คุณธรรม จริยธรรม
(1) คาอธิบายเกี่ยวกับการเรียนรูท้ ่จี ะพัฒนา (เช่น ปลูกฝังความมีวินัย ใฝ่ รู ้
ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบและความมีน้ าใจ)
(2) กลยุทธ์การสอนที่จะใช้พฒั นาการเรียนรูน้ ้นั โดยสอดแทรกระหว่างการเรียน
การสอนในทุกรายวิชา
(3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู ้ ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษา
รายละเอียดของรายวิชา (ต่อ)
4.2 ความรู ้
(1) คาอธิบายเกี่ยวกับการเรียนรูท้ ่จี ะได้รบั (เช่น ความรู/้ ความเข้าใจในเนื้ อหาวิชา)
(2) กลยุทธ์การสอนที่จะใช้พฒั นาการเรียนรู ้ (เช่น บรรยาย ให้แบบฝึ กหัด
สอนเสริม ทาปฏิบตั กิ ารและเขียนรายงาน
(3) วิธีการประเมินความรูท้ ่ไี ด้รบั
4.3 ทักษะเชาว์ปญั ญา
(1) ทักษะเชาว์ปญั ญาที่จะต้องพัฒนา (เช่น การนาความรูไ้ ปใช้แก้โจทย์ปญั หา
และการวิเคราะห์ปญั หา)
(2) กลยุทธ์การสอนที่จะใช้ในการพัฒนาทักษะเชาว์ปญั ญาเหล่านี้ (เช่น แก้โจทย์
ปัญหาร่วมกัน ให้ทาการบ้าน ทาแบบฝึ กหัดในชัว่ โมงสอนเสริม)
(3) วิธีการประเมินผลทักษะเชาวน์ปญั ญาของนักศึกษา
รายละเอียดของรายวิชา (ต่อ)
4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) คาอธิบายเกี่ยวกับทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบที่จะพัฒนา
(เช่น การทางานเป็ นกลุม่ และรับผิดชอบร่วมกัน)
(2) กลยุทธ์การสอนที่จะใช้พฒั นาทักษะและความสามารถเหล่านี้ (เช่น มอบหมายงานให้ทางานเป็ นกลุม่ )
(3) วิธกี ารวัดและประเมินทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบของ
นักศึกษา (เช่น ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รบั มอบหมาย)
4.5 ทักษะวิเคราะห์และการสือ่ สาร
(1) คาอธิบายเกี่ยวกับทักษะทางการคิดคานวณและการสือ่ สารที่จะพัฒนา (เช่น ทักษะในการใช้
คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ ตในการสืบค้นข้อมูลและจัดการฐานข้อมูล)
(2) กลยุทธ์การสอนที่จะใช้ในการพัฒนาทักษะเหล่านี้ (เช่น มอบหมายงานที่ตอ้ งสืบค้น จัดการ และ
นาเสนอข้อมูล)
(3) วิธกี ารวัดและประเมินผลทักษะการคิดคานวณและการสือ่ สารของนักศึกษา
รายละเอียดของรายวิชา (ต่อ)
หมวด 5 แผนการสอนและการประเมินผล
5.1 แผนการสอนหัวข้อในรายวิชา
สัปดาห์ท่ี
หัวข้อ/ รายละเอียด / กิจกรรม
จานวนชัว่ โมง
ผูส้ อน
สัปดาห์ท่ี
กาหนด
สัดส่วนของการ
ประเมินผล
(1)
(2)
(3)
(4)
5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู ้
การประเมิน
(1)
(2)
(3)
(4)
งานที่จะใช้ประเมินผลนักศึกษา (เช่น การเขียนรายงาน โครงงาน
การสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค)
รายละเอียดของรายวิชา (ต่อ)
หมวด 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
6.1 ตาราและเอกสารหลักที่กาหนด
6.2 เอกสารและข้อมูลสาคัญ
6.3 ข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ เว็บไซต์ และอืน่ ๆ
หมวด 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนิ นงาน
7.1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชา
7.2 กลยุทธ์การประเมินการสอนรายวิชาโดยภาควิชา
7.3 กระบวนการต่างๆ ในการปรับปรุงการสอนรายวิชา
7.4 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
7.5 การทบทวนวางแผนการปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
ตัวอย่าง มคอ.5
รายละเอียดของผลการดาเนินงานรายวิชา
Course Report
หมวด 1 ลักษณะและข้อมูลโดยทัว่ ไปของรายวิชา
1.1 รหัสและชื่อ
1.4 ระดับการศึกษา
1.2 รายวิชาที่ตอ้ งเรียนมาก่อน 1.5 สถานที่เรียน
1.3 อาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบ
หมวด 2 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผน
2.1 รายงานชัว่ โมงการสอนจริงเทียบกับแผน
2.2 หัวข้อสอนที่ไม่ครอบคลุมตามแผน
2.3 ประสิทธิผลของกลยุทธ์การเรียนการสอน
การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
ความรู ้
ทักษะเชาว์ปญ
ั ญา
ทักษะความสัมพันธ์
ทักษะการวิเคราะห์
2.4 ข้อเสนอแนะการดาเนิ นงานเพือ่ การปรับปรุงการสอน
ตัวอย่าง
Templates for Course Report
หมวด 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอน
3.1 จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน 3.5 ปัจจัยที่ทาให้ระดับคะแนนผิดปรกติ (ถ้ามี)
3.2 จานวนนักศึกษาที่คงอยู่
3.6 ความคลาดเคลือ่ นจากแผนการประเมินที่กาหนด
3.3 จานวนนักศึกษาที่ถอน
3.7 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
3.4 การกระจายของระดับคะแนน (เกรด)
หมวด 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนิ นงาน
4.1 ทรัพยากรประกอบการเรียนและสิง่ อานวยความสะดวก
4.2 ประเด็นด้านการบริหาร
หมวด 5 การประเมินรายวิชา
5.1 ระบุประเด็นสาคัญที่นกั ศึกษาวิพากษ์อาจารย์ผูส้ อน
5.2 การตอบข้อวิพากษ์พร้อมข้อคิดเห็นของอาจารย์
หมวด 6 แผนการปรับปรุง
6.1 ความก้าวหน้าจากการปรับปรุงครัง้ แล้ว 6.3 ข้อเสนอแผนการสอนสาหรับภาคเรียนต่อไป
6.2 การดาเนิ นการอืน่ ๆ
6.4 ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผูส้ อนต่ออาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบ
ลงชื่ออาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบวิชา................................................................
ลงชื่ออาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลักสูตร........................................................
ของฝาก (1)










พระครูขน
ึ้ เทศน์
สหายร ัก
้ งสาร
คนขีส
ื ดุ
อย่าแหย่เสอ
คนไอคิวสูง
คุณป้า
้ ท
ิ ธิครู
น ักต่อสูส
ท ันคนท ันสม ัย
่ั
สดใสแฟชน
คุณครู
Preacher / Monk
Buddy
Sympathizer
Tiger
High I.Q.
Aunty
Right Fighter
Modern Man / Woman
High Fashioned
Teacher
(Hurt, Scott, & Mc Croskery, 1977)
71
ของฝาก (2)
Mediocre Teacher Tells
Good Teacher Explains
Great Teacher Inspires