แนวคิดและแนวปฏิบัติในกรอบ TQF ต่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต

Download Report

Transcript แนวคิดและแนวปฏิบัติในกรอบ TQF ต่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต

แนวคิดและแนวปฏิบัติในกรอบ TQF
ต่ อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต
(TQF และ มคอ. ๑ มคอ. ๒)
ประสาทพร สมิตะมาน
ศูนย์วิจยั เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดัดแปลงจากเอกสารจาก มคอ. ๑ รศ. ดร. วิเชียร ชุติมาสกุล และ มคอ. ๒ รศ. ดร. สุ คนธ์ชื่น ศรี งาม
มคอ. ๑ มาตรฐานคุณวุฒ ิ สาขา/สาขาวิชา
(TQF)
เนือ้ หาการนาเสนอ
•
•
•
•
ขั้นตอนการพัฒนา มคอ. ๑
เนื้อหาสาระ มคอ. ๑
มคอ ๒
สรุ ปผลและประโยชน์ที่ได้รับ
1 ขั้นตอน
พัฒนา มคอ.๑
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานการอุดมศึกษา
คุณภาพบัณฑิต
การบริ หารจัดการ
การอุดมศึกษา
การสร้างและพัฒนาสังคมฐาน
ความรู ้และสังคมแห่งการเรี ยนรู ้
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF)
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (มคอ. ๑)
ประกาศ กกอ. เรื่องแนวทาง
ปฏิบตั ิ ตามกรอบ TQF 2552
ข้อ ๒ ให้สถาบันอุดมศึกษาดาเนินการพัฒนา/ปรับละเอียดของ
หลักสูตร (มคอ. ๒) ได้ ๒ วิธี โดยใช้ประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ
– เรื่ อง มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (มคอ. ๑)
– เรื่ อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (มคอ.๑)
• หมายถึง กรอบที่กาหนดมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ของบัณฑิตในแต่ละ
คุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชาหนึ่ง... เพื่อให้หลักประกันว่า บัณฑิตที่
สาเร็ จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ มีคุณภาพไม่นอ้ ยกว่าที่
กาหนด
• สถาบันอุดมศึกษาสามารถเพิ่มเติมได้อย่างอิสระ ตามความต้องการ
หรื อเอกลักษณ์ของสถาบัน
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา (มคอ.๑)
• ให้มีการกากับดูแลคุณภาพการผลิตบัณฑิตกันเองของแต่
ละสาขาวิชา  มีคณะกรรมการผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขา/
สาขาวิชา ที่ได้รับมอบหมายจาก กกอ.
• ต้องเป็ นสากล และเป็ นที่ยอมรับของสถาบันอุดมศึกษา
และ/หรื อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
• เป็ นประกาศกระทรวง ที่ให้แนวทางในการดาเนินการแก่
สถาบันอุดมศึกษาที่เปิ ดสอนสาขา/สาขาวิชานั้นๆ
มคอ. ๑
•
•
•
•
•
อุตสาหกรรมการเกษตร
พยาบาล
เทคโนโลยีชีวภาพ
โลจิสติกส์
ท่องเที่ยวและการโรงแรม
• ครุ ศาสตร์และ
ศึกษาศาสตร์
• เคมี
• คอมพิวเตอร์
• วิศวกรรม
ขัน้ ตอนการพัฒนา มคอ. ๑
• ศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูล: พรบ. การศึกษา มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ การประกันคุณภาพการศึกษา และมาตรฐาน
วิชาชีพ เป็ นต้น
• สร้ างทีมและประชุมระดมสมองเพื่อพัฒนามาตรฐานคุณวฒิ
• จัดประชุมสั มมนาเชิงปฏิบัตกิ าร เพื่อวิพากษ์มาตรฐานคุณวุฒิ
• รับฟังความคิดเห็นเพิม่ เติม
• ปรับแก้เอกสารมคอ. ๑
กาหนดเนื้อหาสาระสาคัญของสาขา/สาขาวิชา
• ประกอบด้วยองค์ความรู้ที่ตอ้ งการในรายวิชาที่กาหนดใน
หลักสูตร
• เน้นให้รายวิชาที่กาหนดต้องครอบคลุมและสอดคล้องกับ
องค์ความรู้ ๕ ด้าน
กาหนดกลยุทธ์ การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้
กลยุทธ์ การสอน
– การเรียนการสอนควรเป็ นไปในลักษณะทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
– ทาการทดลองปฏิบัติการจริงและมีโอกาสใช้ เครื่องมือด้ วยตนเอง
– มอบหมายงานเพือ่ ให้ ผ้ เู รียนได้ มกี ารฝึ กฝนทักษะด้ านต่ าง ๆ รู้ จักวิเคราะห์ และ
แก้ปัญหาด้ วยตนเอง
– การทางานโครงงานกลุ่มหรือโครงงานเดีย่ วให้ สามารถบูรณาการระบบและ
นาไปใช้ งาน
กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้
– ตามรายละเอียดของหลักสู ตร รายวิชา และประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ ามี)
– ตัวบ่ งชี้ และเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตร มาตรฐานอุดมศึกษา เป็ นต้ น
มาตรฐานคุณวุฒิ
•
•
•
•
•
•
•
•
การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
คุณสมบัตผิ ู้เข้ าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้
คณาจารย์ และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ
แนวทางการพัฒนาคณาจารย์
การประกันคุณภาพหลักสู ตรและการจัดการเรียนการสอน
การนามาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขา.........สู่ การปฏิบัติ
การเผยแพร่ หลักสู ตรที่มคี ุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิ (การขึ้นทะเบียน)
การประกันคุณภาพหลักสู ตรและการจัดการเรี ยนการสอน
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน
1 มีการจัดทารายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๒ ทีส่ อดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ
แห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวิชา (ถ้ามี)
2 อาจารย์ประจามีสว่ นร่วมในการวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร
3 มีการจัดทารายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ
มคอ.๓ และ มคอ.๔ ก่อนการเปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
4 มีการจัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์
ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๕ และ มคอ.๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิน้ สุดภาคการศึกษาทีเ่ ปิดสอนให้
ครบทุกรายวิชา
5 มีการจัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังสิน้ สุดปี
การศึกษา
6 มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จาก
ผลการประเมินการดาเนินงานทีร่ ายงานใน มคอ.๗ ปีทแ่ี ล้ว
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน
๗ มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ทีก่ าหนดใน
มคอ.๓ และมคอ.๔ (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาทีเ่ ปิดสอนในแต่ละปี
การศึกษา
๘ อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รบั การปฐมนิเทศหรือคาแนะนาด้านการจัดการ
เรียนการสอน
๙ อาจารย์ประจาทุกคนได้รบั การพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปี
ละหนึ่งครัง้
๑๐ จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รบั การพัฒนาวิชาการ
และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ต่อปี
๑๑ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสดุ ท้าย/บัณฑิตใหม่ทม่ี ตี ่อคุณภาพหลักสูตร
เฉลีย่ ไม่น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐
๑๒ ระดับความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ
ั ฑิตทีม่ ตี ่อบัณฑิตใหม่ เฉลีย่ ไม่น้อยกว่า ๓.๕
จากคะแนนเต็ม ๕.๐
มาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.1
๑ ชื่อสาขา/สาขาวิชา
๒ ชื่อปริ ญญาและสาขาวิชา
๓ ลักษณะของสาขา/สาขาวิชา
๔ คุณสมบัติของบัณฑิตทีพ่ งึ ประสงค์
๕ มาตรฐานผลการเรียนรู้
๖ องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
๗ โครงสร้ างหลักสู ตร
๘ เนื้อหาสาระสาคัญของสาขา/สาขาวิชา เพิม่ รายละเอียด
๙ กลยุทธ์ การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้
มาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.1
๑๐. การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
๑๑. คุณสมบัตผิ ู้เข้ าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้
๑๒. คณาจารย์ และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
๑๓. ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ
๑๔. แนวทางการพัฒนาคณาจารย์
๑๕. การประกันคุณภาพหลักสู ตรและการจัดการเรียนการสอน
๑๖. การนามาตรฐานคุณวุฒริ ะดับปริญญาตรีสาขาสู่ การปฏิบตั ิ
๑๗. การเผยแพร่ หลักสู ตรทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
เอกสารอืน่ ๆ ของมาตรฐานคุณวุฒิ
• รายละเอียด / รายงาน ของหลักสู ตร (มคอ. ๒ & ๗)
• รายละเอียด / รายงาน ของรายวิชา (มคอ. ๓ & ๕)
• รายละเอียด / รายงาน ของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ ามี)
(มคอ. ๔ & ๖)
รายละเอียดหลักสู ตร
(มคอ.๒)
การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสู ตร
แบบเดิม
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
กลุ่มเนื้อหาสาระสาคัญ
กลุ่มเนื้อหาสาระสาคัญ
โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา
ผลการเรี ยนรู้
โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) คืออะไร?
• ผลการเรี ยนรู ้ หมายถึง สิ่ งที่พฒั นาขึ้นในตัวนักศึกษา ทั้ง
จากการเรี ยนในห้องเรี ยน กิจกรรมในและนอกหลักสูตร
ปฎิสมั พันธ์กบั นักศึกษาอื่น กับอาจารย์ ประสบการณ์ที่
เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ศึกษาอยูใ่ นมหาวิทยาลัย
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) คืออะไร?(ต่ อ)
• ผลการเรียนรู้ ต้ องวัดได้ และครอบคลุมถึง
– สาระความรู้ ความเข้ าใจในเนือ้ หาวิชา
– ทักษะหรือความสามารถในการนาความรู้ ไปใช้
– พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชื่อ อุปนิสัย
• สกอ. กาหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ อย่ างน้ อย 5 ด้ าน
กรอบการเรียนรู้ 5 ด้ าน
(5 Domains of Learning)
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
คุณธรรม จริยธรรม
ความรู้
ทักษะทางปัญญา
ทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลการเรียนรู้ ของแต่ ละหลักสู ตรกาหนดจากข้ อมูลใด?
•
•
•
•
•
สถานการณ์ ภายนอก (เศรษฐกิจ/สั งคม)
ปรัชญา ปณิธาน ของมหาวิทยาลัย
ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ ของหลักสู ตร
ความต้ องการของผู้ใช้ บณ
ั ฑิต
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่ งชาติ (ถ้ ายังไม่มมี าตรฐานคุณวุฒิ
สาขาวิชา)
• มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา ซึ่งรวมถึง
– มาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ ามี)
– ความต้ องการของผู้ใช้ บัณฑิตในสาขาวิชา
การถ่ ายทอดผลการเรียนรู้ จากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
สู่ หลักสู ตร
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
แห่งชาติ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา
หลักสูตร
การถ่ ายทอดผลการเรียนรู้ (ความรู้ )
จากกรอบมาตรฐานฯสู่ หลักสู ตร (ต่ อ)
กรอบมาตรฐานฯระดับชาติ
มีความรู ้ในสาขาวิชาอย่างกว้างขวางและเป็ นระบบ รู ้หลักและทฤษฏี
ที่สมั พันธ์กนั ตระหนักในความรู ้และทฤษฏีในสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง ใน
กรณี ที่เป็ นโปรแกรมวิชาชีพ จะต้องคุน้ เคยกับความก้าวหน้าทางวิชาการใน
สายความเชี่ยวชาญ รวมถึงงานวิจยั ที่แก้ไขปัญหาและขยายความรู ้ ต้อง
ตระหนักถึงกฎระเบียบ ข้อกาหนดทางเทคนิคที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงตาม
กาลเวลา
การถ่ ายทอดผลการเรียนรู้ (ความรู้ )
จากกรอบมาตรฐานฯสู่ หลักสู ตร (ต่ อ)
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา (มคอ.1)
มีความรู้ในสาขาวิชา...........อย่างเป็ นระบบ รวมทั้งหลักการและทฤษฏีที่
เกี่ยวข้อง ตามกลุ่มเนื้อหาสาระต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้าน.......
๒. ด้าน .....
ฯลฯ
การบรรลุผลการเรียนรู้ ของบัณฑิต
• การดาเนินการหลักสู ตร
– โครงสร้ างหลักสู ตร รายวิชา
– นักศึกษา ต้ องคานึงถึงคุณสมบัตทิ ตี่ ้ องการให้ เหมาะสมกับหลักสู ตร
– ทรัพยากร (resources)
• อาจารย์
• บุคลากรสนับสนุน
• ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน
– กระบวนการเรียนการสอน/การประเมินผลสั มฤทธิ์ของนักศึกษา
• การบริหารจัดการ และกากับดูแล
– การวางแผน ติดตาม ทวนสอบ ประเมิน แก้ไข
การวางแผนหลักสู ตร
• กาหนดผลการเรี ยนรู ้ ทั้ง ๕ ด้าน (บางสาขาสามารถกาหนดเพิ่มเติมได้ตาม
ความเหมาะสม)
• กาหนดโครงสร้างหลักสูตร และรายวิชา
• กระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรี ยนรู ้สู่รายวิชา
• กาหนดกลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรี ยนรู ้ สาหรับการเรียนรู ้
แต่ละด้าน
• กาหนดการติดตาม ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ประเมินผลการ
ดาเนินการในระดับรายวิชา/หลักสูตร
• การบริ หารจัดการ/การประกันคุณภาพ/การประเมิน
• กาหนดการทบทวนผลการดาเนินการและแก้ไขปรับปรุ ง
เอกสารที่ต้องจัดทา
หลังการวางแผนหลักสู ตร
• รายละเอียดของหลักสู ตร (มคอ. ๒)
• รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. ๓)
• รายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม (มคอ. ๔)
เอกสาร มคอ. ๒ ใช้ แทนเอกสารหลักสู ตร อนุมัติโดยสภาสถาบัน และ
เสนอ สกอ.รับทราบภายใน
๓๐ วัน
เอกสาร มคอ. ๓ และ มคอ. ๔ เป็ นเอกสารภายในของสถาบัน ต้ องมีให้
ตรวจสอบ
รายละเอียดหลักสู ตร (มคอ.๒)
• การอธิบายภาพรวมของการจัดหลักสู ตร การจัดการเรียนการ
สอน ทีจ่ ะทาให้ บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ ของหลักสูตร ซึ่ง
ถ่ ายทอดมาจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
หรือจากมาตรฐานคุณวุฒสิ าขาวิชา (ถ้ ามี)
• ผลการเรียนรู้ ของหลักสู ตร ต้ องครบถ้ วนทั้ง ๕ ด้ านและไม่ ต่า
กว่ า มาตรฐานผลการเรียนรู้ ทกี่ าหนดไว้ ในกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒแิ ห่ งชาติ/มาตรฐานคุณวุฒสิ าขาวิชา = มคอ. ๑ (ถ้ ามี)
รายละเอียดหลักสู ตร ต่ างจาก เอกสารหลักสู ตรเดิม
อย่ างไร?
• คงข้อความของเอกสารหลักสูตรเดิม และแบบ สมอ. ๐๑-๐๖
(การวิเคราะห์หลักสูตร)
• เพิม่ เติมเรื่ องผลการเรี ยนรู ้ กลยุทธ์การสอน และการประเมินผล
การทวนสอบผลการเรี ยนรู้ การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร
การประกันคุณภาพ กระบวนการประเมินและปรับปรุ งหลักสูตร
• ข้อมูลแบ่งเป็ น ๘ หมวดหมู่
ส่ วนประกอบของ
รายละเอียดของหลักสู ตร
หมวดที่ ๑. ข้อมูลทัว่ ไป
หมวดที่ ๒. ข้อมูลเฉพาะของหลักสู ตร
หมวดที่ ๓. ระบบการจัดการศึกษา การ
ดาเนินการ และโครงสร้างหลักสู ตร
หมวดที่ ๔ ผลการเรี ยนรู ้ กลยุทธ์การสอน
และการประเมินผลการเรี ยนรู ้
หมวดที่ ๕. หลักเกณฑ์ในการประเมินผล
หมวดที่ ๖. การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสู ตร
หมวดที่ ๘. การประเมินและปรับปรุ ง การดาเนินการหลักสู ตร
หมวดที่ ๑ ข้ อมูลทัว่ ไป
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
รหัสและชื่อหลักสู ตร
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
วิชาเอก(ถ้ ามี)
จานวนหน่ วยกิตทีเ่ รียนตลอดหลักสู ตร
รูปแบบของหลักสู ตร
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
รู ปแบบ
ภาษาที่ใช้
การรับเข้ าศึกษา
ความร่ วมมือกับสถาบันอืน่
การใช้ ปริญญาแก่ ผ้ สู าเร็จการศึกษา
หมวดที่ ๑ ข้ อมูลทัว่ ไป (ต่อ)
สถานภาพของหลักสูตร
๗. ความพร้ อมในการเผยแพร่ หลักสู ตรทีม
่ คี ุณภาพและมาตรฐาน
๘. อาชี พที่ประกอบได้ หลังสาเร็จการศึกษา
๙. ชื่อ เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิของ
อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสูตร (จะให้หรื อไม่)
๑๐. สถานที่จัดการเรียนการสอน (กรณีทม
ี่ ีหลายวิทยาเขต)
๖.
หมวดที่ ๑ ข้ อมูลทัว่ ไป (ต่อ)
๑. สถานการณ์ภายนอกหรื อการพัฒนาที่จาเป็ นต้องนามาพิจารณาใน
การวางแผนหลักสูตร
๑. สถานการณ์หรื อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
๒. สถานการณ์หรื อการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
๒. ผลกระทบจากข้อ ๑๑
๑. การพัฒนาหลักสูตร
๒. ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
๓. ความสัมพันธ์ (ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่นในสถาบัน
หมวดที่ ๒ ข้ อมูลเฉพาะของหลักสู ตร
๑. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ ของ
หลักสู ตร
๒. แผนพัฒนาปรับปรุง
๑. แผนการพัฒนา / การเปลีย่ นแปลง
๒. กลยุทธ์
๓. หลักฐาน / ตัวชี้วดั
หมวดที่ ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และ
โครงสร้ างหลักสู ตร
๑. ระบบการจัดการศึกษา
๑. ระบบ
๒. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
๓. การเทียบเคียงหน่ วยกิตในระบบทวิภาค
๒. การดาเนินการหลักสู ตร
๑. วัน-เวลาในการดาเนินการการเรียนการสอน
๒. คุณสมบัติของผู้เข้ าศึกษา
หมวดที่ ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และ
โครงสร้ างหลักสู ตร
๒. การดาเนินการหลักสู ตร(ต่อ)
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า
กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนักศึกษา
แผนการรับนักศึกษาและจานวนผูส้ าเร็ จการศึกษาในระยะ 5 ปี
งบประมาณตามแผน
ระบบการศึกษา
การเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา และการลงทะเบียนข้ามสถาบัน
หมวดที่ ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และ
โครงสร้ างหลักสู ตร(ต่ อ)
๓.
หลักสูตรและอาจารย์ผสู้ อน
๑. หลักสูตร
๑. จานวนหน่วยกิต
๒. โครงสร้างหลักสูตร
๓. รายวิชา
๔. แผนการศึกษา
๕. คาอธิบายรายวิชา
๒. ชื่อ เลขประจาตัวบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิ
๑. อาจารย์ประจาหลักสูตร
๒. อาจารย์ประจา
๓. อาจารย์พิเศษ
หมวดที่ ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และ
โครงสร้ างหลักสู ตร(ต่ อ)
๔. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม
๑. มาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ของประสบการณ์ภาคสนาม
๒. ช่วงเวลา
๓. การจัดเวลาและตารางสอน
๕. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรื องานวิจยั
๑. คาอธิบายโดยย่อ
๒. มาตรฐานผลการเรี ยนรู ้
๓. ช่วงเวลา
๔. จานวนหน่วยกิต
๕. การเตรี ยมการ
๖. กระบวนการประเมินผล
หมวดที่ ๔. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์ การสอนและการ
ประเมินผล
๑. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
๒. การพัฒนาผลการเรียนรู้ แต่ ละด้ าน
๑. ผลการเรียนรู้ทตี่ ้ องพัฒนา
๒. กลยุทธ์ การสอน
๓. กลยุทธ์ การประเมินผล
๓. แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผิดชอบต่ อผลการเรียนรู้ จาก
หลักสู ตรสู่ รายวิชา (Curriculum mapping, Curriculum alignment)
หมวดที่ ๕. หลักเกณฑ์ ในการประเมินผลนักศึกษา
๑. กฎระเบียบหรื อหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)
๒. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
๓. เกณฑ์การสาเร็ จการศึกษาของหลักสูตร
หมวดที่ ๖. การพัฒนาคณาจารย์
๑. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ ใหม่
๒. การพัฒนาความรู้ และทักษะให้ แก่ คณาจารย์
๑. การพัฒนาทักษะการจัดการการเรียนการสอน
๒. การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพอืน่ ๆ
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสู ตร
๑. การบริหารหลักสู ตร
๒. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน
๑.
๒.
๓.
๔.
การบริหารงบประมาณ
ทรัพยากรการเรียนการสอนทีม่ ีอยู่เดิม
การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิม่ เติม
การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสู ตร (ต่ อ)
๓. การบริหารคณาจารย์
๑. การรับอาจารย์ ใหม่
๒. การมีส่วนร่ วมของคณาจารย์ ในการวางแผน การ
ติดตาม และทบทวนหลักสู ตร
๓. การแต่ งตั้งคณาจารย์ พเิ ศษ
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสู ตร (ต่ อ)
๔. การบริ หารบุคลากรสนับสนุนการเรี ยนการสอน
๑. การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง
๒. การเพิม่ ทักษะความรู ้สาหรับการปฏิบตั ิงาน
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสู ตร (ต่ อ)
๕. การสนับสนุนและให้ คาแนะนาแก่ นักศึกษา
๑. การให้ คาปรึกษาด้ านวิชาการ และอืน่ ๆ แก่นักศึกษา
๒. การอุทธรณ์ ของนักศึกษา
หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสู ตร (ต่ อ)
๖. ความต้ องการของตลาดแรงงาน สั งคม และ/
หรือ ความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิต
๗. ตัวบ่ งชี้ผลการดาเนินงาน
หมวดที่ ๘. การประเมินและ
ปรับปรุงการดาเนินการของหลักสู ตร
๑. การประเมินประสิ ทธิผลของการสอน
๑. การประเมินกลยุทธ์ การสอน
๒. การประเมินทักษะของอาจารย์ ในการใช้ กลยุทธ์ การสอน
๒. การประเมินหลักสู ตรในภาพรวม
๓. การประเมินผลการดาเนินงานตามทีก่ าหนดในรายละเอียด
หลักสู ตร
๔. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุ ง
บทสรุป
• รายละเอียดหลักสู ตร
– เป็ นส่ วนหนึ่งของกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ด้ าน
มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต ให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของชาติและมาตรฐาน
คุณวุฒิของสาขาวิชา(ถ้ามี)
– เป็ นแผนการดาเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของหลักสูตร
ที่คณาจารย์ทุกคนมีส่วนร่ วม
– เป็ นคามัน่ สัญญาที่สถาบันการศึกษาให้กบั สังคม
ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ
• ผูเ้ รี ยน
• ผูพ้ ฒั นาหลักสู ตร
มีมาตรฐานตามผลการเรี ยนรู ้
มีแนวทางในการพัฒนาหลักสู ตรตาม
มาตรฐานระดับชาติ 18 ข้อ
• ผูใ้ ช้บณั ฑิต
มีความพึงพอใจในทักษะความสามารถของบัณฑิต
• สถาบันอุดมศึกษา มีคุณภาพในการจัดการการศึกษา และ
บรรลุผลการพัฒนาบุคลากรเพื่อพัฒนาประเทศ
• ประเทศชาติ
มีบุคลากรที่สามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้
ข้ อฝากให้ คดิ
การดาเนินงานในการจัดทากรอบมาตรฐาน
คุณวุฒกิ ารศึกษาจะสาเร็จได้ โดยความร่ วมมือของ
บุคลากรทุกฝ่ าย และการสนับสนุนอย่ างเต็มทีจ่ าก
ผู้บริหารทุกระดับทีต่ ้ องให้ ความสาคัญต่ อการ
จัดทากรอบมาตรฐานคุณวุฒเิ ป็ นอันดับต้ น
ขอบคุณครับ