การแนะแนวการศึกษา - การเพิม่ ขอลด และขอเพิกถอนวิชา - การพ้นสภาพนักศึกษา - การลงโทษนักศึกษาทีท่ ุจริตในการสอบ - การย้ ายคณะหรือเปลีย่ นสาขาวิชา - การขอย้ ายรอบการศึกษา.

Download Report

Transcript การแนะแนวการศึกษา - การเพิม่ ขอลด และขอเพิกถอนวิชา - การพ้นสภาพนักศึกษา - การลงโทษนักศึกษาทีท่ ุจริตในการสอบ - การย้ ายคณะหรือเปลีย่ นสาขาวิชา - การขอย้ ายรอบการศึกษา.

การแนะแนวการศึกษา
- การเพิม่ ขอลด และขอเพิกถอนวิชา
- การพ้นสภาพนักศึกษา
- การลงโทษนักศึกษาทีท่ ุจริตในการสอบ
- การย้ ายคณะหรือเปลีย่ นสาขาวิชา
- การขอย้ ายรอบการศึกษา
2
- การลงทะเบียนเรียนข้ ามภาค
- การลงทะเบียนเรียนเพือ่ ปรับคะแนน
เฉลีย่ สะสม
- การสาเร็จการศึกษา
- การให้ ทุนการศึกษา
3
การขอเพิม่ วิชา
และการขอลดวิชา
4
ให้ กระทาได้ ภายในสองสั ปดาห์ แรกนับจาก
วันเปิ ดภาคการศึกษาที่ 1 หรือภาคการศึกษาที่ 2
หรือภายในสั ปดาห์ แรกนับจากวันเปิ ดภาค
การศึกษาภาคฤดูร้อน และการขอเพิม่ วิชา
การขอลดวิชานั้น จะต้ องไม่ ขัดกับจานวนหน่ วยกิต
ที่มหาวิทยาลัยกาหนด สาหรับรายวิชาทีข่ อลดนั้น
จะไม่ บันทึกในใบรายงานผลการศึกษา
5
การขอเพิกถอนวิชา
(Withdrawal)
มหาวิทยาลัยได้ พัฒนาระบบการเพิกถอนวิชา
ทางอินเตอร์ เน็ตสาหรับนักศึกษา
และได้ เปิ ดให้ บริการตัง้ แต่
ในภาคฤดูร้อน/2545 เป็ นต้ นไป
โดยมีข้อตกลงดังนี ้
6
1. การเพิกถอนวิชาทางอินเทอร์ เน็ต สามารถ
กระทาได้ ตั้งแต่ วนั แรกของกาหนดการ
เพิกถอนวิชาที่มหาวิทยาลัยประกาศไว้
ในปฏิทนิ การศึกษาจนถึงวันสุดท้ ายของ
การเรียนในภาคการ ศึกษานั้น
7
2. นักศึกษาต้ องเพิกถอนวิชาทางอินเตอร์ เน็ต
ด้ วยตนเอง ไม่ สามารถมอบหมายให้ ผู้อนื่
ทาแทนได้ โดยใช้ รหัสประจาตัวนักศึกษา
และรหัสผ่ าน และถือว่ าการกระทาใด ๆ
ที่ทาให้ เกิดการเพิกถอนวิชาทาง
อินเตอร์ เน็ต เป็ นการกระทาที่เกิดขึน้
โดยนักศึกษาเอง
8
3. นักศึกษาสามารถเพิกถอนวิชาที่
ลงทะเบียนเรียนแต่ ละภาคการศึกษาได้
หลายครั้ง โดยต้ อง เหลือไว้ อย่ างน้ อย 1 วิชา
(ในกรณีทนี ักศึกษามีบางวิชาทีร่ ะบุว่า
ห้ ามเพิกถอน จะเพิกถอนไม่ ได้ แต่ สามารถ
เพิกถอนวิชาอืน่ ทีไ่ ม่ ได้ ห้ามได้ ทุกวิชา)
9
4. กรณีที่นักศึกษาต้ องการเพิกถอน
ทุกวิชาทีล่ งทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาใด
ต้ องติดต่ อที่สานักทะเบียนนักศึกษาเท่ านั้น
ยกเว้ น
การเพิกถอนทุกวิชาในภาคฤดูร้อน
ของนักศึกษาหลักสูตร 4 ปี ภาคปกติ
10
5. นักศึกษาต้ องตรวจสอบรหัสและชื่อวิชา
ทีต่ ้ องการเพิกถอนให้ ถูกต้ อง เนื่องจาก
ไม่ สามารถแก้ ไขข้ อมูลการเพิกถอนวิชา
ทางอินเตอร์ เน็ตได้ ไม่ ว่ากรณีใดๆ
6. นักศึกษาที่เพิกถอนวิชาใดทางอินเทอร์ เน็ต
สมบูรณ์ แล้ ว จะไม่ มสี ิ ทธิ์เข้ าสอบวิชานั้น
หากนักศึกษาฝ่ าฝื น จะถือว่ าการสอบวิชา
นั้นเป็ นโมฆะ
11
7. นักศึกษาที่ทาการเพิกถอนวิชาทาอินเตอร์ เน็ต
ตามขั้นตอนเรียบร้ อยแล้ ว มหาวิทยาลัยจะส่ ง
ข้ อมูลกลับให้ นักศึกษาทางอีเมล์ เพือ่ เป็ นการ
ยืนยันการเพิกถอนวิชา
8. กรณีที่นักศึกษาต้ องการหลักฐานการเพิกถอน
วิชา สามารถพิมพ์ได้ เองทางอินเตอร์ เน็ตที่หัวข้ อ
“ตรวจสอบวิชาที่เพิกถอน” หรือพิมพ์จากอีเมล์
ของนักศึกษาทีม่ หาวิทยาลัยส่ งข้ อมูลตอบกลับ
12
การเพิกถอนวิชากรณีพเิ ศษ
ในกรณีที่นักศึกษาขาดสอบปลายภาควิชาใด
ต้ องเขียนคาร้ องขออนุมัตเิ พิกถอนวิชากรณีพเิ ศษ
ที่สานักทะเบียนนักศึกษาพร้ อมแนบหลักฐาน
ประกอบ ภายหลังจากวันที่ขาดสอบไม่ เกิน 5 วัน
ทาการของมหาวิทยาลัย มิฉะนั้น นักศึกษาจะได้
เกรด F ในวิชาดังกล่าว โดยการเพิกถอนวิชากรณี
พิเศษ สามารถทาได้ ในกรณีที่นักศึกษาขาดสอบ
เนื่องจากเหตุผลจาเป็ น ต่ อไปนี้
13
1. เจ็บป่ วยหนักหรือเข้ ารับการผ่ าตัดใน
โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล โดย
ต้ องมีใบรับรองแพทย์ ระบุชัดเจนว่ า
ไม่ สามารถมาสอบได้
2. ประสบอุบัตเิ หตุทาให้ ได้ รับบาดเจ็บ
หรื อต้ องอยู่ในที่เกิดเหตุเพื่อแก้ ไขปั ญหา
14
3. บิดา/มารดาหรือผู้ปกครอง เจ็บป่ วยหนัก
หรือประสบอุบัตเิ หตุร้ายแรงต้ องนอน
รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือเสี ยชีวติ
4. เกิดภัยพิบัติแก่ทรัพย์ สินของนักศึกษา
หรือครอบครัว
นอกเหนือจากเหตุผลข้ างต้ น ไม่ อนุญาต
ให้ ทาเรื่องขอเพิกถอนวิชากรณีพเิ ศษ
15
การพ้นสภาพ
นักศึกษา
16
1. นักศึกษาหลักสู ตรปริญญาตรีภาคปกติ ที่สอบได้
คะแนนเฉลีย่ สะสมต่ากว่ า 1.50 ยกเว้ น นักศึกษา
ชั้นปี ที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ซึ่งการพ้ นสภาพ
นักศึกษาจะกระทาเมือ่ สิ้นภาคการศึกษาฤดูร้อน
(ถ้ าลงทะเบียนเรียนในภาคฤดูร้อน) ของปี การ
ศึกษาแรกที่เข้ าศึกษา
2. นักศึกษารอพินิจที่สอบได้ คะแนนเฉลีย่ สะสม
ต่ากว่ า 1.75 เมือ่ สิ้นภาคการศึกษาฤดูร้อนของ
ปี การศึกษาที่มีสถานภาพรอพินิจ
17
3. นักศึกษาที่มีระยะเวลาการศึกษาครบตามที่ระเบียบ
มหาวิทยาลัยกรุ งเทพว่ าด้ วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี
คือ
3.1 นักศึกษาภาคปกติที่เรียนครบ 8 ปี การศึกษาแต่
สอบได้ หน่ วยกิตยังไม่ ครบตามหลักสู ตรคณะ
ที่นักศึกษาสั งกัด
3.2 นักศึกษาภาคคา่ ที่เรียนครบ 10 ปี การศึกษาแต่
สอบได้ หน่ วยกิตยังไม่ ครบตามหลักสู ตรคณะ
ที่นักศึกษาสั งกัด
18
3.3 นักศึกษาภาคปกติ (หลักสู ตรต่ อเนื่อง)
ที่เรียนครบ 4 ปี การศึกษา แต่ สอบได้
หน่ วยกิตยังไม่ ครบตามหลักสู ตรคณะ
ที่ศึกษาสั งกัด
3.4 นักศึกษาภาคคา่ (หลักสู ตรต่ อเนื่อง)
ที่เรียนครบ 6 ปี การศึกษา แต่ สอบได้
หน่ วยกิตยังไม่ ครบตามหลักสู ตรคณะ
ที่นักศึกษาสั งกัด
19
4. นักศึกษาทีถ่ ูกตัดคะแนนความประพฤติ
ครั้งเดียวหรือหลายครั้ง รวมกันเกิน
20 คะแนน
5. สาเร็จการศึกษาตามหลักสู ตร
6. ตาย
7. ลาออก
20
8. ถูกจาหน่ ายชื่อออก หรือถูกถอนสภาพนักศึกษา เพราะ
- ใช้ หลักฐานการศึกษาปลอมสมัครเข้ าเป็ นนักศึกษา
- ประพฤติผดิ ระเบียบข้ อบังคับของมหาวิทยาลัย
อย่ างร้ ายแรง
- ไม่ ลงทะเบียนเรียนและไม่ ได้ ยนื่ คาร้ องขอลาพัก
การศึกษาเพือ่ รักษาสถานภาพนักศึกษาต่ อสานัก
ทะเบียนนักศึกษา และไม่ ชาระค่ าธรรมเนียม
ภายใน 30 วัน นับจากวันเปิ ดภาคการศึกษา
21
การลงโทษนักศึกษาทีท่ ุจริตในการสอบ
นักศึกษาทีก่ ระทาการทุจริตในการสอบ
จะต้ องได้ รับโทษซึ่งคณะกรรมการ
วินิจฉัยความผิด ได้ กาหนดโทษ
ตามลักษณะของความผิด
22
1. คณะกรรมการวินิจฉัยความผิด การวินิจฉัย
ความผิดให้ กระทาโดยคณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้ วย
- ประธานกรรมการสอบไล่ หรือ ผู้ทปี่ ระธาน
กรรมการสอบไล่มอบหมายทาหน้ าที่เป็ นประธาน
- กรรมการคุมสอบตึก อย่ างน้ อย 3 ท่ าน
- ผู้แทนจากสานักทะเบียนนักศึกษา
- ผู้แทนจากฝ่ ายบริการการศึกษาและสวัสดิการ
มติของคณะกรรมการวินิจฉัยความผิดในการกาหนด
โทษนักศึกษาทีก่ ระทา หรือพยายามกระทาทุจริตให้ ถือ
เป็ นทีส่ ุ ด
23
2. ลักษณะความผิดและบทลงโทษจะขึน้ อยู่กบั
ลักษณะของการกระทาความผิด ดังต่ อไปนี้
2.1 ความผิดลักษณะที่หนึ่ง เป็ นการกระทาโดย
(1) นาเอกสารหรือสิ่ งใด ๆ ที่เกีย่ วข้ องกับ
วิชานั้นเข้ าไปในห้ องสอบโดยทีผ่ ู้ออกข้ อสอบไม่ ได้
อนุญาตไว้ ในข้ อสอบ หรือเข้ าลักษณะตระเตรียม
กระทาทุจริต
24
(2) ส่ งคาตอบให้ ผู้อนื่ ลอก หรือกาลังลอก
หรือจะลอกคาตอบจากผู้อนื่ ซึ่งส่ งให้ โดยวิธีส่ง
เอกสาร หรือมีการส่ ง หรือรับข้ อความโดยวิธีอนื่
ให้ แก่กนั และมีหลักฐานอย่ างเด่ นชัด
(3) สอบแทนกันในวิชาที่มีหรือไม่ มีการ
บันทึกหน่ วยกิต
25
นักศึกษาจะถูกลงโทษดังนี้
- ได้ F เฉพาะวิชาทีท่ ุจริตนั้น และได้ W ในวิชาอืน่
ทีไ่ ด้ ลงทะเบียนไว้ ในภาคการศึกษานั้นทุกวิชา และ
- ถูกพักการเรียนหนึ่งปี การศึกษา (สองภาคการศึกษา
ปกติและหนึ่งภาคการศึกษาฤดูร้อน) โดยให้ เริ่มพักการเรียน
ในภาคการศึกษาถัดไป ถ้ าการกระทาความผิดนั้นมีบุคคล
ภายนอกร่ วมด้ วยมหาวิทยาลัยจะแจ้ งให้ สถาบันทีบ่ ุคคลนั้น
สั งกัดทราบเพือ่ พิจารณาโทษต่ อไป
26
2.2 ความผิดลักษณะที่สอง เป็ นการกระทา
ความผิดโดยการลอกหรือพยายามลอกผู้อนื่ หรือ
ยินยอมให้ ผู้อนื่ ลอกโดยมิได้ ส่งเอกสารหรือข้ อความ
ให้ แก่ กนั โดยมีกรรมการคุมสอบอย่ างน้ อยสองคน
เห็นพฤติกรรมดังกล่ าวอย่ างแน่ ชัด โทษความผิด
ในลักษณะดังกล่าวนักศึกษาจะได้ F เฉพาะวิชาที่
ทุจริตนั้น
27
2.3 ความผิดลักษณะที่สาม เป็ นการ
กระทาความผิดโดยมีเอกสารหรือสิ่ งใด ๆ
ที่ไม่ เกีย่ วข้ องกับวิชานั้นไว้ ในครอบครอง
เวลาสอบโดยพฤติกรรมที่ส่อว่ า มีไว้ เพือ่
ใช้ ประโยชน์ ในการกระทาทุจริตไม่ ชัดเจน
โทษความผิดลักษณะดังกล่ าว นักศึกษาจะ
ถูกลงโทษอย่ างใดอย่ างหนี่งหรือหลายอย่ าง
ดังนี้
28
- ปรับตกในวิชาที่กระทานั้น
- เพิกถอนวิชาที่กระทานั้น
- ทาทัณฑ์ บน
- ตักเตือนเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
29
2.4 ความผิดลักษณะที่สี่ ผู้ใดกระทาตาม
ลักษณะที่หนึ่งถึงสามในการทดสอบย่ อยหรือ
เก็บคะแนนระหว่ างภาคการศึกษา ให้ กรรมการ
วิชาการของแต่ ละคณะเป็ นผ้ ูพจิ ารณาลงโทษ
อย่ างใดอย่ างหนึ่ง หรือหลายอย่ างดังนี้
30
- ปรับตกในวิชาที่กระทานั้น
- เพิกถอนในวิชาที่กระทานั้น
- ได้ คะแนน “ 0 ” ในการสอบย่ อยหรือ
เก็บคะแนน ครั้งนั้น
- ทาทัณฑ์ บน
- ตักเตือนเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
31
2.5 ความผิดลักษณะที่ห้า ในกรณีเกิด
การกระทาทุจริตในการสอบอืน่ นอกจากทีร่ ะบุ
ไว้ แล้ วหรือมีการกล่ าวหาในภายหลังการสอบได้
เสร็จสิ้นไปแล้ วว่ า ได้ เกิดการกระทาทุจริตขึน้ ใน
การสอบครั้งใด ให้ คณะกรรมการวินิจฉัยความผิด
พิจารณากาหนดโทษนักศึกษาที่กระทาหรือ
พยายามกระทาทุจริตได้ ตามความร้ ายแรงแล้ วแต่
กรณี
32
การย้ ายคณะหรือเปลีย่ นสาขาวิชา
นักศึกษาที่มีความประสงค์
จะขอย้ ายคณะหรือเปลีย่ นสาขาวิชา
สามารถทาคาร้ องขอย้ ายคณะหรือ
สาขาวิชาได้ ที่ สานักทะเบียนนักศึกษา
โดยมีหลักเกณฑ์ ดงั ต่ อไปนี้
33
โดยปกติจะไม่ อนุมตั ใิ ห้ ย้ายคณะ
จากคณะอืน่ เข้ าคณะนิเทศศาสตร์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ และ
คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาการท่ องเทีย่ ว
และการโรงแรม
34
1. นักศึกษาภาคปกติ หลักสู ตร 4 ปี จะต้ อง
ศึกษาอยู่ในคณะหรือสาขาวิชาเดิม ไม่ น้อยกว่า
2 ภาคการศึกษา ทั้งนีไ้ ม่ นับภาคการศึกษาที่ลาพัก
หรือให้ พกั การศึกษา
2. ในการยืน่ คาร้ องขอย้ ายคณะหรือสาขาวิชา
นักศึกษาจะต้ องแสดงเหตุผลประกอบการอนุมตั ิ
หรือให้ อยู่ในดุลยพินิจของคณบดีทเี่ กีย่ วข้ อง
35
3. การย้ ายคณะหรือสาขาวิชาสามารถ
กระทาได้ ไม่ เกินสองครั้งตลอดการมีสถานสภาพ
เป็ นนักศึกษา โดยยืน่ คาร้ องขออนุมตั จิ ากคณบดี
ที่เกีย่ วข้ อง และต้ องดาเนินการให้ เสร็จสิ้นก่ อน
การลงทะเบียนเรียนประจาภาคการศึกษานั้น ๆ
36
4. เมือ่ ได้ รับอนุมตั ใิ ห้ ย้ายคณะหรือสาขา
วิชาใหม่ แล้ว นักศึกษาจะต้ องแสดงความจานงว่ า
วิชาต่ าง ๆ ที่ได้ ศึกษามาแล้ววิชาใดจะนามาคานวณ
เพือ่ หาคะแนนเฉลีย่ สะสมโดยผ่ านการอนุมตั จิ าก
คณบดีที่นักศึกษาขอย้ ายเข้ าสั งกัดใหม่ และการ
คานวณคะแนนเฉลีย่ สะสมใหม่ จะคานวณเมื่อ
คะแนนของคณะหรือสาขาวิชาใหม่ ได้ แสดง
ผลการเรียนแล้ว
37
5. นักศึกษาที่ย้ายคณะหรือสาขาวิชา
จะต้ องชาระค่ าธรรมเนียมตามที่มหาวิทยาลัย
กาหนด
38
การขอย้ ายรอบการศึกษา
นักศึกษาขอย้ ายรอบ
จากภาคปกติไปเรียนภาคคา่ หรือ
จากภาคคา่ ไปเรียนภาคปกติ
โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
39
1. ลงทะเบียนเรียนมาแล้วไม่ น้อยกว่ า 18 หน่ วยกิต
ไม่ นับวิชาที่ขอเพิกถอน “ W ”
2. สอบได้ คะแนนเฉลีย่ สะสมตั้งแต่ 2.00 ขึน้ ไป
3. เมือ่ ได้ รับอนุมตั ใิ ห้ ย้ายรอบแล้ วจะต้ องมีวชิ า
ที่เหลือลงทะเบียนต่ อไปอีกอย่ างน้ อย 1 ปี
การศึกษาตามหลักสู ตรคณะทีน่ ักศึกษาสังกัด
40
4. คณบดีคณะวิชาทีเ่ กีย่ วข้ องจะเป็ นผู้พจิ ารณา
อนุมตั กิ ารขอย้ ายรอบของนักศึกษา
5. การขอย้ ายรอบจะย้ ายได้ เพียงครั้งเดียวเท่ านั้น
เมือ่ ได้ รับอนุมตั ิ ให้ ย้ายแล้ ว จะขอย้ายกลับไม่ ได้
โดยเด็ดขาด
6. นักศึกษาชายทีไ่ ด้ รับอนุมตั ใิ ห้ ย้ายรอบจะไม่ มี
สิ ทธิเรียนวิชาทหาร
41
7. นักศึกษาขอย้ ายรอบที่มีผลการเรียนดี เมื่อ
สาเร็จการศึกษาสอบได้ คะแนนเฉลีย่ สะสม
ตั้งแต่ 3.25 ขึน้ ไป มีสิทธิได้ รับปริญญา
เกียรตินิยมตามระเบียบที่กาหนดไว้
8. ผู้ทปี่ ระสงค์ ขอย้ ายรอบต้ องติดต่ อที่ สานัก
ทะเบียนนักศึกษา ตามระยะเวลาที่กาหนด
ไว้ ในคู่มอื ลงทะเบียน
42
การลงทะเบียนข้ ามภาค
นักศึกษาภาคปกติและภาคคา่ ที่ลงทะเบียนเรียน
ครบตามหลักสู ตรปริญญาตรีที่คณะวิชากาหนดไว้
แต่ ยงั ไม่ สาเร็จการศึกษา สามารถลงทะเบียนข้ ามภาค
ในวิชาต่ าง ๆ ทีเ่ ปิ ดสอนตามหลักสู ตรภาคปกติหรือ
ภาคคา่ ได้ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยกรุ งเทพ
ว่ าด้ วยการศึกษาขั้นปริญญาตรีพทุ ธศักราช 2538
โดยมีหลักเกณฑ์ ดงั นี้
43
1. การลงทะเบียนข้ ามภาค หมายถึง นักศึกษา
ภาคปกติจะลงทะเบียนเรียนวิชาที่เปิ ดสอน
ในภาคคา่ หรือนักศึกษาภาคคา่ จะลงทะเบียน
เรียนวิชาที่เปิ ดสอนในภาคปกติ
44
2. คุณสมบัตขิ องผู้มสี ิ ทธิลงทะเบียนเรียนข้ ามภาค
2.1 เป็ นนักศึกษาที่ยงั ไม่ สาเร็จการศึกษา
เมือ่ พ้ นภาคการศึกษาสุ ดท้ ายทีค่ วรจะสาเร็จ
การศึกษาตามหลักสู ตรทีน่ ักศึกษาสั งกัด
2.2 เป็ นนักศึกษาที่ลงทะเบียนในภาคการ
ศึกษานั้น เป็ นภาคสุ ดท้ ายทีจ่ ะสาเร็จการศึกษา
ตามหลักสู ตรทีน่ ักศึกษาสั งกัด
45
3. ถ้ ามีวชิ าใดที่เปิ ดสอนวิชาเดียวกันทั้งภาคปกติ
และภาคคา่ นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนวิชานั้น
พร้ อมกันทั้งภาคปกติและภาคคา่ ไม่ ได้
4. ในกรณีที่มีการเปิ ดสอนวิชาเดียวกันทั้งภาคปกติ
และภาคคา่ นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนวิชาที่
เปิ ดสอนในภาคทีต่ นสั งกัดอยู่ เว้ นแต่ มเี หตุจาเป็ น
อันสมควรซึ่งอยู่ในดุลยพินิจของคณบดีคณะที่
นักศึกษาสั งกัด
46
5. การลงทะเบียนเรียนข้ ามภาค
นักศึกษาภาคปกติ ลงทะเบียนทุกวิชารวมกันแล้ วต้ อง
- ไม่ เกิน 22 หน่ วยกิต ในภาคปกติ หรือ
- ไม่ เกิน 10 หน่ วยกิต ในภาคฤดูร้อน
นักศึกษาภาคคา่ ลงทะเบียนทุกวิชารวมกันแล้ วต้ อง
- ไม่ เกิน 18 หน่ วยกิต ในภาคปกติ หรือ
- ไม่ เกิน 10 หน่ วยกิต ในภาคฤดูร้อน
47
ยกเว้ นกรณีทเี่ ป็ นการลงทะเบียนภาคสุดท้ าย
ที่คาดว่ าจะสาเร็จการศึกษาเท่ านั้น
นักศึกษาอาจลงทะเบียนมากกว่ านั้น
ได้ ตามระเบียบว่ าด้ วยการศึกษา
ขั้นปริญญาตรีพทุ ธศักราช 2538
48
6. นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนข้ ามภาค จะลงทะเบียน
เรียนวิชาต่ าง ๆ ได้ เฉพาะวิชาที่มหาวิทยาลัย
ประกาศเปิ ดสอนในภาคการศึกษาเท่ านั้น
7. นักศึกษาที่มคี ุณสมบัตเิ รียนข้ ามภาคได้ และประสงค์
จะใช้ สิทธิดงั กล่าวนี้ ต้ องขออนุมตั ิลงทะเบียนเรียน
ข้ ามภาคจากคณบดีที่นักศึกษาสั งกัด และต้ องติดต่ อ
ร้ องขอลงทะเบียนเรียนข้ ามภาคที่สานักทะเบียน
นักศึกษาภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด
49
8. การลงทะเบียนเรียนข้ ามภาคทุกกรณี ต้ องได้
รับอนุมตั จิ ากคณบดีทนี่ ักศึกษาสั งกัด
9. วิชาที่นักศึกษาขอลงทะเบียนเรียนข้ ามภาค จะ
ถือเป็ นโมฆะในกรณี ดังต่ อไปนี้
9.1 มีคุณสมบัตไิ ม่ ครบถ้ วนตามประกาศนี้
9.2 ลงทะเบียนเรียนโดยไม่ ยนื่ คาร้ องขอ
ลงทะเบียนข้ ามภาคที่สานักทะเบียนนักศึกษา
50
9.3 ลงทะเบียนเรียนวิชาใหม่ นอกเหนือจาก
หลักสู ตรคณะทีน่ ักศึกษาสั งกัดไว้ โดย
ไม่ ได้ รับอนุมตั จิ ากคณบดีทนี่ ักศึกษาสั งกัด
10. วิชาที่ลงทะเบียนข้ ามภาคไปแล้ ว ปรากฏ
ภายหลังว่ าเป็ นโมฆะ วิชานั้นจะไม่ บันทึกลง
ในใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) และ
จะไม่ ได้ รับเงินค่ าลงทะเบียนเรียนคืน
51
การลงทะเบียนเรียนวิชา
เพือ่ ปรับคะแนนเฉลีย่ สะสม (REGRADE)
นักศึกษาทั้งภาคปกติและภาคคา่ สามารถลง
ทะเบียนเรียนวิชาเพือ่ ปรับคะแนนเฉลีย่ สะสม
ให้ ถึงเกณฑ์ การสาเร็จการศึกษา
ตามหลักสู ตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย
โดยได้ รับอนุมตั จิ ากคณบดีก่อน ในกรณีต่อไปนี้
52
1. นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาและสอบได้ ต้งั แต่
30 หน่ วยกิตขึน้ ไป แต่ ต่ากว่ า 99 หน่ วยกิต และ
ได้ คะแนนเฉลีย่ สะสมไม่ เกิน 2.00 ให้ ลงทะเบียน
เรียนเฉพาะวิชาที่เคยสอบได้ เกรด D และ D+
เท่ านั้น
2. นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชา และสอบได้ ต้งั แต่ 99
หน่ วยกิต ขึน้ ไปจะเลือกลงเรียนวิชาใหม่ หรื อ
ลงทะเบียนเรียนเพือ่ ปรับคะแนนเฉลีย่ สะสมในวิชา
ที่เคยสอบได้ เกรด D และ D+ หรือวิชาใหม่ กไ็ ด้
53
นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในวิชาใด
มากกว่ า 1 ครั้ง ให้ นับหน่ วยกิตสะสมได้ เพียง
ครั้งเดียว และให้ นาผลการศึกษา
ครั้งสุดท้ ายเท่ านั้นมาใช้ ในการคานวณ
คะแนนเฉลีย่ สะสม
54
การสาเร็จการศึกษา
CONGRATULATIONS
55
1. การสาเร็จการศึกษาในภาคการศึกษาสุ ดท้ าย
ที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาต่ าง ๆ ครบ
ตามหลักสู ตรและข้ อกาหนดของคณะที่
นักศึกษาสั งกัดและขอแจ้ งจบแล้ ว ถ้ านักศึกษา
มีคะแนนเฉลีย่ สะสม ตั้งแต่ 2.00 ขึน้ ไป มีสิทธิ
ยืน่ คาร้ องแสดงความจานงขอรับปริญญาต่ อ
สานักทะเบียนนักศึกษา
56
2. การให้ ปริญญา
2.1 นักศึกษาทีจ่ ะรับปริญญาต้ องมีคุณสมบัติ ดังนี้
2.1.1 สอบได้ จานวนหน่ วยกิตครบตามหลัก
สู ตรคณะทีน่ ักศึกษาสั งกัด
2.1.2 ได้ คะแนนเฉลีย่ สะสมตั้งแต่ 2.00 ขึน้ ไป
2.1.3 มีความประพฤติเรียบร้ อยเหมาะสมกับ
ปริญญาที่จะได้ รับ
2.1.4 ไม่ มีพนั ธะด้ านหนีส้ ิ นใด ๆ กับมหาวิทยาลัย
57
2.2 นักศึกษาทีส่ อบได้ หน่ วยกิตครบตามหลักสู ตร
แต่ คะแนนลีย่ สะสมไม่ ถึง 2.00 จะได้ รับปริญญา
ก็ต่อเมือ่ ลงทะเบียนเรียนวิชาใหม่ ทไี่ ด้ รับอนุมตั ิ
จากคณบดีที่นักศึกษาสั งกัด จนกว่ าจะทาคะแนน
เฉลีย่ สะสมได้ ถึง 2.00 ขึน้ ไปภายในระยะเวลาที่
กาหนด
58
3. การให้ ปริญญาเกียรตินิยม
3.1 ปริญญาเกียรตินิยมอันดับหนึ่งนักศึกษาที่มี
สิ ทธิได้ รับปริญญาเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
จะต้ องมีคุณสมบัตดิ งั นี้
3.1.1 เป็ นผู้ทสี่ อบได้ คะแนนเฉลีย่ สะสม
ตั้งแต่ 3.50 ขึน้ ไป โดยไม่ เคยสอบวิชาใด
ได้ ลาดับขั้น D หรือ D+ หรือ F หรือ U
ไม่ เคยลงทะเบียนเรียนซ้าวิชาใด และลง
ทะเบียนเรียนทั้งสิ้นไม่ เกิน 150 หน่ วยกิต
59
3.1.2 สอบได้ หน่ วยกิตครบตามกาหนดภายใน
4 ปี การศึกษาสาหรับนักศึกษาหลักสู ตร
ปริญญาตรีภาคปกติหรือภายใน 5 ปี
การศึกษา สาหรับนักศึกษาหลักสู ตร
ปริญญาตรีภาคคา่ ทั้งนีไ้ ม่ นับภาค
การศึกษาทีไ่ ด้ รับอนุมตั ใิ ห้ ลาพัก
60
3.2 ปริญญาเกียรตินิยมอันดับสอง นักศึกษาทีม่ ีสิทธิ
ได้ รับปริญญาเกียรตินิยมอันดับสอง จะต้ องมี
คุณสมบัตดิ งั นี้
3.2.1 เป็ นผู้ทสี่ อบได้ คะแนนเฉลีย่ สะสมตั้งแต่
3.25 ขึน้ ไป โดยไม่ เคยสอบวิชาใดได้
ลาดับขั้น F หรือ U ไม่ เคยลงเบียน
เรียนซ้าในวิชาใด และลงทะเบียนเรียน
ทั้งสิ้นไม่ เกิน 150 หน่ วยกิต
61
3.2.2 สอบได้ หน่ วยกิตครบตามกาหนดไว้
ภายใน 4 ปี การศึกษาสาหรับนักศึกษา
หลักสู ตรปริญญาตรีภาคปกติ หรือ
ภายใน 5 ปี การศึกษาสาหรับหลักสู ตร
ปริญญาตรีภาคคา่ ทั้งนี้ ไม่ นับภาค
การศึกษาที่ได้ รับอนุมตั ิให้ ลาพัก
62
4. การให้ อนุปริญญา นักศึกษาทีจ่ ะยืน่ คาร้ องขอรับ
อนุปริญญาได้ จะต้ องเป็ นผู้ทมี่ คี ุณสมบัตดิ งั นี้
4.1 มีความประพฤติเรียบร้ อย
4.2 เป็ นผู้ทมี่ ผี ลการศึกษาตามข้ อหนึ่งข้ อใด
ดังต่ อไปนี้
4.2.1 ศึกษาและสอบได้ หน่ วยกิตสะสม
ไม่ ตา่ กว่ าทีห่ ลักสู ตรอนุปริญญาที่
คณะกาหนด และได้ คะแนนเฉลีย่
สะสม ตั้งแต่ 2.00 ขึน้ ไป
63
4.2.2 ศึกษาและสอบได้ หน่ วยกิตครบถ้ วน
ตามหลักสู ตรขั้นปริญญาตรี หรือ
จาเป็ นต้ องยุตกิ ารศึกษาโดยได้ คะแนน
เฉลีย่ ไม่ ถึง 2.00 แต่ ไม่ ต่ากว่ า 1.50
5. นักศึกษาหลักสู ตรปริญญาตรีต่อเนื่องไม่ มสี ิ ทธิยนื่
คาร้ องขอรับอนุปริญญา
64
6. การอนุมตั ใิ ห้ ปริญญา
6.1 สภามหาวิทยาลัย จะพิจารณาอนุมตั ิ
ให้ ปริญญาปี ละ 3 ครั้ง คือ เมื่อสิ้นภาค
การศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 และ
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
6.2 มหาวิทยาลัยจะจัดให้ มีพธิ ีประสาท
ปริญญาบัตรปี ละ 1 ครั้ง ซึ่งจะประกาศ
ให้ ทราบเป็ นคราว ๆ ไป
65
การให้ ทุนการศึกษา
มหาวิทยาลัยเห็นความสาคัญ
ของนักศึกษาในด้ านการศึกษา
จึงได้ พจิ ารณาให้ มกี ารมอบทุนการศึกษา
โดยแยกออกเป็ น 6 ประเภท ดังนี้
66
1. ทุนเรียนดียอดเยีย่ ม
เพือ่ เป็ นการส่ งเสริมให้ นักศึกษามีความตั้งใจ
หมัน่ ศึกษา มหาวิทยาลัยได้ ต้งั กองทุนเรียนดียอดเยีย่ ม
เพือ่ เป็ นเกียรติประวัตแิ ก่ นักศึกษา และวงศ์ ตระกูล
โดยกาหนดคุณสมบัตแิ ละเงือ่ นไขการพิจารณา ดังนี้
1.1 เป็ นนักศึกษาภาคปกติหรือภาคคา่ ที่ลงทะเบียน
เรียนมาแล้ วอย่ างน้ อย 1 ปี การศึกษา และมีคะแนนเฉลีย่
สะสม 4.00 เมือ่ สิ้นสุ ดการเรียนของปี การศึกษา หรือ
67
1.2 นักศึกษาภาคปกติที่ลงทะเบียนเรียนมาแล้ ว
อย่ างน้ อย 2 ปี การศึกษา และมีระดับคะแนนเฉลีย่
สะสมไม่ ต่ากว่ า 3.80 เมือ่ สิ้นสุ ดการเรียนของปี
การศึกษา หรือ
1.3 สอบได้ ครบทุกวิชาตามหลักสู ตรทีค่ ณะวิชา
จัดสอนแต่ ละภาคการศึกษา
68
1.4 ไม่ เคยสอบตก (F) และ/หรือเพิกถอน (W)
ในวิชาใดวิชาหนึ่ง
1.5 ไม่ เคยลาพักการศึกษา
1.6 เป็ นผู้มคี วามประพฤติดี ไม่ เคยกระทา
ผิดระเบียบของมหาวิทยาลัยสมควรแก่ การยกย่ อง
เป็ นตัวอย่ างที่ดี
69
1.7 นักศึกษาทีไ่ ด้ รับทุนเรียนดียอดเยีย่ ม
จะได้ รับยกเว้ นค่ าหน่ วยกิตทุกภาคการศึกษาใน
ปี การศึกษาทีไ่ ด้ รับทุน
1.8 นักศึกษาต้ องชาระค่ าธรรมเนียมอืน่ ๆ
ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
70
2. รางวัลเรียนดี
เพือ่ เป็ นการสนับสนุนบรรยากาศในการศึกษา
สาหรับนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่ น มหาวิทยาลัย
จึงจัดให้ มรี างวัลเรียนดี ให้ กบั นักศึกษาทุกชั้นปี ที่
สอบได้ คะแนนเฉลีย่ สู งสุ ดของสาขาวิชาในแต่ ละ
ชั้นปี ผู้ทเี่ รียนดีดงั กล่ าวมีสิทธิได้ รับรางวัลเรียนดี
คนละ 5,000 บาท เป็ นจานวนทั้งสิ้นปี ละ 150 รางวัล
71
3. ทุนเล่ นนักกีฬา (โครงการพัฒนานักกีฬาดีเด่น)
ให้ กบั นักศึกษาที่มีความสามารถดีเด่ นด้ านกีฬา
เช่ น นักกีฬาทีมชาติเยาวชนทีมชาติ หรือเคยเข้ าร่ วม
แข่ งขันกีฬาแห่ งชาติ หรือนักกีฬาที่ได้ รับเสื้อสามารถ
จากโรงเรียนเดิม เพือ่ เป็ นตัวแทนของมหาวิทยาลัย
เข้ าร่ วมในการแข่ งขันกีฬามหาวิทยาลัย กีฬาที่จัดโดย
สถาบันอุดมศึกษา หรือสมาคมกีฬาประเภทต่ าง ๆ โดย
ผู้ทสี่ อบผ่ านการคัดเลือกจะได้ รับทุนการศึกษา
และสวัสดิการต่ าง ๆ ตลอดหลักสู ตร
72
4. ทุนสงเคราะห์ สวัสดิการแก่ บุตร
ธิดาและน้ องของอาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ เป็ น
ทุนทีม่ อบให้ บุตรธิดาและน้ องของอาจารย์
เจ้ าหน้ าที่ของมหาวิทยาลัยทีส่ อบเข้ าศึกษา
ในมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้
73
5. ทุนฉุกเฉิน มหาวิทยาลัยได้ ต้งั กองทุนฉุกเฉิน
เพือ่ ช่ วยเหลือนักศึกษาในกรณีที่จาเป็ นโดยมีหลักเกณฑ์
ดังต่ อไปนี้
5.1 ผู้ขอรับทุนต้ องเป็ นนักศึกษาภาคปกติ ตั้งแต่
ชั้นปี ที่ 1 - 4 และ นักศึกษาภาคคา่ ตั้งแต่ ช้ันปี ที่ 1 - 5
74
5.2 ผู้ทจี่ ะขอรับทุนฉุกเฉินต้ องอยู่ในข้ อใดข้ อหนึ่ง ดังนี้
5.2.1 ผู้อุปการะค่ าใช้ จ่ายเสี ยชีวติ ไม่ มผี ู้อุปการะ
การเงินอืน่ ใดอีก
5.2.2 เกิดภัยพิบัตแิ ก่ ครอบครัวผู้ขอรับทุน เช่ น
อัคคีภัย วาตภัย ฯลฯ ทั้งนี้ ต้ องมีหลักฐาน
- สาเนาทะเบียนบ้ าน
- ใบรับรองจากเขต
- หลักฐานผู้อุปการะการเงินเดิม
75
5.3 นักศึกษาทีเ่ คยได้ รับทุกฉุกเฉินไปแล้ วไม่ มสี ิ ทธิขอรับ
ทุนนีอ้ กี
5.4 ทุนฉุกเฉินนีจ้ ะให้ ในรู ปการช่ วยเหลือค่ าเล่ าเรียนเป็ น
จานวนเงิน 10,000 บาท และหากนักศึกษาต้ องลง
ทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาถัดไป (ยกเว้ นภาค
ฤดูร้อน สาหรับนักศึกษาภาคปกติหลักสู ตร 4 ปี )
ก็ให้ ยกเว้ นค่ าเล่าเรียนรวมค่าธรรมเนียมในภาค
การศึกษาถัดไปจานวน 1 ภาคการศึกษาด้ วย
76
5.5 ทุนฉุกเฉินทีจ่ ะให้ นีต้ ้ องอยู่ในดุลยพินิจของ
คณะกรรมการพิจารณาทุนฉุกเฉินอีกครั้งหนึ่ง
นักศึกษาที่เกิดกรณีจาเป็ นดังกล่ าว และมี
ความประสงค์ จะขอรับทุนฉุกเฉินให้ ตดิ ต่ อ
ขอแบบฟอร์ มการรับทุนพร้ อมยืน่ หลักฐาน
ประกอบการขอรับทุนได้ ทแี่ ผนกแนะแนว
และจัดหางาน ฝ่ ายบริการการศึกษาและ
สวัสดิการ ทั้งสองวิทยาเขต
77
6. กองทุนเงินทีใ่ ห้ ก้ ยู มื เพือ่ การศึกษา
กองทุนเงินให้ ก้ ยู มื เพือ่ การศึกษา เป็ นโครงการของ
รัฐบาลที่ได้ จัดตั้งขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 2541 เพือ่ ส่ งเสริมให้
เยาวชนของชาติไทยได้ มีโอกาสศึกษาต่ ออย่ างเท่ าเทียมกัน
อีกทั้งยังเป็ นการเปิ ดโอกาสทางการศึกษาให้ กว้ างขึน้
วัตถุประสงค์ ของกองทุนเพือ่ ให้ ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์
ได้ ก้ ยู มื เงินเพือ่ การศึกษาสาหรับเป็ นค่ าเล่ าเรียนค่ าใช้ จ่าย
เกีย่ วกับการศึกษา ตลอดจนค่าใช้ จ่ายในการครองชีพ
ระหว่ างศึกษา ในวงเงินไม่ เกิน 100,000 บาท
78
คุณสมบัตขิ องผู้ก้ ยู มื ทีส่ าคัญ ได้ แก่
- มีสัญชาติไทย
- เป็ นผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์
- ครอบครัวมีรายได้ เฉลีย่ รวมกันไม่ เกินปี ละ
150,000 บาท
- กาลังศึกษาในระดับสู งกว่ ามัธยมศึกษาตอนต้ น
แต่ ไม่ สูงกว่ าระดับปริญญาตรีในประเทศ
79
สาหรับการชาระหนี้
จะชาระหนีห้ ลังจากสาเร็จหรือเลิกการศึกษา
โดยจะต้ องชาระหนีส้ ิ นทั้งหมดภายใน 15 ปี
นับแต่ วนั ที่เริ่มชาระหนี้ โดยคิดดอกเบีย้ ใน
อัตราร้ อยละ 1 ต่ อปี
และจะสิ้นสุดการชาระหนีก้ ต็ ่ อเมื่อ
- ชาระหนีท้ ้งั หมดตามสั ญญา หรือ
- ผู้ก้ ถู งึ แก่ ความตาย
80